แนวข้อสอบ กทม. 1/2556 จำนวน 243 อัตรา (9-31 พ.ค. 2556)

wareerat profile image wareerat

กทม. 1/2556เปิดรับสมัครสอบ งานราชการ 2556

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร (สำนักงาน ก.ก.) รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ครั้งที่ 1/2556 ในประตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน และตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัตการ  จำนวน 15 ตำแหน่ง

ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน 9 ตำแหน่ง ได้แก่

  • เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน จำนวน 70 อัตรา
  • พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน จำนวน 60 อัตรา
  • เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน จำนวน 10 อัตรา
  • เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน จำนวน 45 อัตรา
  • นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน จำนวน 2 อัตรา
  • นายช่างสำรวจปฏิบัติงาน จำนวน 10 อัตรา
  • เจ้าหน้าที่สำงานรักษาความสะอาดปฏิบัติงาน จำนวน 20 อัตรา
  • โภชนากรปฏิบัติงาน จำนวน 2 อัตรา
  • เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน จำนวน 5 อัตรา

ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ 6 ตำแหน่ง ได้แก่

  • วิศกรโยธาปฏิบัติการ จำนวน 10 อัตรา
  • นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ จำนวน 1 อัตรา
  • นักวิชาการแผนที่ปฏิบัติการ จำนวน 1 อัตรา
  • นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ จำนวน 5 อัตรา
  • นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ จำนวน 1 อัตรา
  • วิศวกรไฟฟ้าปฏิบัติการ จำนวน 1 อัตรา

**ทุกท่านต้องสอบ ภาค ก. ภาค ข. และ ภาค ค. ผู้ที่ไม่เข้าสอบภาค ก. จะไม่มีสิทธิ์เข้าสอบภาค ข.

วิธีการสมัครงานราชการกทม. 1/2556 :

รับสมัครทางอินเตอร์เน็ต (24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ)

ตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม 2556 – 31 พฤษภาคม 2556

ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ: 25 มิ.ย. 2556
สอบ:
ภาค ก. – 7 ก.ค. 2556
ภาค ข. – 4 ส.ค. 2556

จำหน่ายไฟล์เอกสารแนวข้อสอบเอกสารติวข้อสอบ
ใหม่ล่าสุดที่กำลังเปิดสอบ สำหรับคนที่ไม่มีเวลาไปติวและเวลาไปหาซื้อหนังสือ 
เป็นไฟล์เอกสารส่งทาง e-mail สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลยในราคาเพียง ชุดละ399 บาท
ส่งทันทีรวดเร็ว ได้อ่านสอบเร็วไม่ต้องรอ รวบรวมจากหนังสือมากกว่าสิบเล่ม
และรุ่นพี่ที่สอบได้จากสนามสอบจริง
รายละเอียดภายในไฟล์ประกอบด้วย แนวข้อสอบทุกวิชาที่ใช้สอบของแต่ละหน่วยงาน 
รวมแนวข้อสอบเก่าเด็ดๆๆ และข้อสอบที่ออกบ่อยๆ พร้อมเฉลยยยยยยยยย
>>> หนังสือ + VCD ชุดละ 999 บาท 


สนใจสั่งซื้อมาที่  [ 085-646-5976 WhatsApp / Line] ,สำรอง 08-3419-9980
โอนเงิน เลขบัญชี 189-2-51621-5 กสิกรไทย สาขาวังสะพุง ชื่อ วารีรัตน์   ไชยสัจ
โอนเงินแล้วโทรแจ้ง ที่โทร 0856465976  วารีรัตน์  ไชยสัจ 
facebook  https://www.facebook.com/RwbrwmNaewKhxsxbKharachkar?ref=tn_tnmn
หรือแจ้งที่่ toom_tete@hotmail.com หรือ exam.toom@gmail.com
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://www.sheetthai.com
****** อย่าลืมเก็บสลิปใบโอน เพื่อนำมาแจ้งเวลาโอน กับ E-mail เพื่อการจัดส่งด้วยนะคะ *******

จัดส่งหลังจากแจ้งโอนภายใน 3-4 ชั่วโมง ในวัน จันทร์-ศุกร์
จัดส่งหลังจากแจ้งโอนภายใน 5-6 ชั่วโมง ในวัน เสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์
จัดส่งหลังจากแจ้งโอนไม่เกินเที่ยงคืน หลังเวลา 17.00 น. เป็นต้นไป


แนวข้อสอบ กทม. 1/2556 จำนวน 243 อัตรา (9-31 พ.ค. 2556)

ความคิดเห็น
wareerat profile wareerat
จำหน่ายแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน กทม. 56 ภาค ก ใหม่ล่าสุด


ประกอบด้วย 
1. แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (คณิตศาสตร์) 
2.แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย 
3. ข้อสอบความรอบรู้ในการปฎิบัติราชการ 
       -แนวข้อสอบการปกครองท้องถิ่น หลักธรรมาภิบาล หลักเศรษฐกิจพอเพียง หลักสิทธิมนุษยชน 
   -แนวข้อสอบกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร 
   -แนวข้อสอบกฎหมายระเบียบข้าราชการและบุคคลากรกรุงเทพมหานคร 
   -แนวข้อสอบกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารราชการ 
   -แนวข้อสอบ พ.ร.ก ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 
   -แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบัญ 
   -แนวข้อสอบระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยงานสารบัญ 


แนวข้อสอบเฉพาะตำแหน่ง (เลือกตามตำแหน่งที่สอบ) 
๑. โภชนากรปฏิบัติงาน 
๒. เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน 
๓. นายช่างเชียนแบบปฏิบัติงาน 
๔. นายช่างสํารวจปฏิบัติงาน 
๕. เจ้าหน้าที่งานรักษาความสะอาดปฏิบัติงาน 
๖. พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน 
๗. เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน 
๘. เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน 
๙. เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน
 

ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ 
๑. นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ 
๒. นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ 
๓. นักวิชาการแผนที่ปฏิบัติการ 
๔. นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ 
๕. วิศวกรโยธาปฏิบัติการ 
๖. วิศวกรไฟฟ้าปฏิบัติการ 
และตำแหน่งอื่นๆ

wareerat profile wareerat
ตัวอย่างข้อสอบ พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน 
1. พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 มีผลบังคับใช้เมื่อใด
 ก. 5 พฤศจิกายน 2550 ข. 6 พฤศจิกายน 2550
 ค. 25 พฤศจิกายน 2550 ง. 26 พฤศจิกายน 2550
 ตอบ ข. 6 พฤศจิกายน 2550

2. ข้อใดหมายถึงภัยทางอากาศ
 ก. อากาศเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ข. การเกิดอุบัติเหตุจากเครื่องบินตก
 ค. ภัยอันเกิดจากการโจมตีทางอากาศ ง. ภัยจากหิมะหรือลูกเห็บ
 ตอบ ค. ภัยอันเกิดจากการโจมตีทางอากาศ

3. ข้อใดคือสาธารณภัย พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550
 ก. ภัยแล้ง ข. โรคระบาดในสัตว์
 ค. วาตภัย ง. ถูกทุกข้อ
 ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

4. ข้อใดหมายถึงภัยทางอากาศ
 ก. อากาศเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ข. การเกิดอุบัติเหตุจากเครื่องบินตก
 ค. ภัยอันเกิดจากการโจมตีทางอากาศ ง. ภัยจากหิมะหรือลูกเห็บ
 ตอบ ค. ภัยอันเกิดจากการโจมตีทางอากาศ

5. “การกระทำใดๆ อันเป็นการมุ่งทำลายทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐโดยมุ่งหมายที่จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของรัฐ” เป็นความหมายของข้อใด
 ก. ภัยทางอากาศ ข. การก่อวินาศกรรม
 ค. อุบัติเหตุ ง. ภัยธรรมชาติ
 ตอบ ข. การก่อวินาศกรรม 

6. ข้อใดไม่ใช่หน่วยงานของรัฐตามความหมายในพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550
 ก. กรมการปกครอง ข. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
 ค. กระทรวงมหาดไทย ง. องค์การบริหารส่วนจังหวัด
 ตอบ ง. องค์การบริหารส่วนจังหวัด
 
7. ข้อใดไม่ใช่ความหมายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่
 ก. องค์การบริหารส่วนจังหวัด ข. องค์การบริหารส่วนตำบล
 ค. เทศบาล ง. เมืองพัทยา
 ตอบ ก. องค์การบริหารส่วนจังหวัด

8. ข้อใดไม่ใช่ความหมายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่
 ก. องค์การบริหารส่วนตำบล ข. เมืองพัทยา 
 ค. เทศบาล ง. กรุงเทพมหานคร
 ตอบ ง. กรุงเทพมหานคร

9. ข้อใดไม่ใช่จังหวัดตามความหมายของพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
 ก. ชลบุรี ข. เชียงใหม่
 ค. กรุงเทพมหานคร ง. อุบลราชธานี
 ตอบ ค. กรุงเทพมหานคร

10. ผู้ใดเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550
 ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
 ค. อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ง. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
 ตอบ ค. อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

11. ข้อใดคือชื่อย่อของคณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
 ก. กปร. ข. กปช.
 ค. กปภ.ร. ง. กปภ.ช.
 ตอบ ง. กปภ.ช. 

12. ผู้ใดเป็นประธานกรรมการคณะกรรมการการป้องกันและและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
 ก. นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย
 ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
 ค. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
 ง. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
 ตอบ ก. นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย

13. คณะกรรมการและการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติมีจำนวนกี่คน
 ก. 12 คน ข. 13 คน
 ค. 22 คน ง. 23 คน
 ตอบ ง. 23 คน
 
14. ใครเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
 ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
 ตอบ ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

15. ผู้ใดเป็นกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
 ก. อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 ข. รองอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 ค. ข้าราชการระดับ 8 ในกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 ง. ข้าราชการระดับ 7 ในกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 ตอบ ก. อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

16. ผู้ใดมีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดนโยบายการจัดทำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
 ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 
 ข. อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 ค. คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ 
 ง. เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ
 ตอบ ค. คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ

17. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละกี่ปี
 ก. 1 ปี  ข. 2 ปี
 ค. 3 ปี ง. 4 ปี
 ตอบ ง. 4  ปี

18. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสามารถอยู่ในตำแหน่งไม่เกินกี่วาระติดต่อกัน
 ก. 2 วาระ ข. 3 วาระ 
 ค. 4 วาระ ง. 5 วาระ
 ตอบ ก. 2 วาระ

19. หน่วยงานใดของรัฐซึ่งมีหน้าที่เป็นหน่วยงานกลางในการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของประเทศ 
 ก. สภาความมั่นคงแห่งชาติ ข. กระทรวงกลาโหม
 ค. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ง. สำนักข่าวกรอง
 ตอบ ค. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

20. ผู้ใดเป็นผู้มีอำนาจอนุมัติแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
 ก. อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
 ค. นายกรัฐมนตรี
 ง. คณะรัฐมนตรี
 ตอบ ง. คณะรัฐมนตรี
wareerat profile wareerat

ตัวอย่างแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน
1. ข้อใดมิใช่หัวหน้าหน่วยงาน
ก. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ข. ปลัดกรุงเทพมหานคร
ค. ผู้อำนวยการสำนัก
ง. เลขานุการสภากรุงเทพมหานคร
ตอบ ก. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
 
2. ผู้มีอำนาจจะมอบอำนาจให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งใดก็ได้ต้องดำเนินการอย่างไร
ก. ทำเป็นหนังสือมอบอำนาจ
ข. ทำเป็นคำสั่ง
ค. ทำเป็นคำสั่งและประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง. ทำเป็นประกาศกรุงเทพมหานคร
ตอบ ก. ทำเป็นหนังสือมอบอำนาจ

3. การจะมอบอำนาจให้แก่บุคคลใด จะต้องคำนึงถึงสิ่งใดต่อไปนี้
ก. ฐานะการเงินและความตรงต่อเวลา
ข. ตำแหน่งหน้าที่และความรับผิดชอบ
ค. ความซื่อสัตย์และชื่อเสียง
ง. ตำแหน่งหน้าที่และฐานะการเงิน
ตอบ ข. ตำแหน่งหน้าที่และความรับผิดชอบ

4. เมื่อมีการมอบอำนาจเป็นที่เรียบร้อยและหากเกิดความเสียหายขึ้น ผู้ใดจะต้องรับผิดตามกฎหมาย
ก. ผู้มอบอำนาจเพียงผู้เดียว
ข. ผู้รับมอบอำนาจเพียงผู้เดียว
ค. หัวหน้าของผู้มอบอำนาจ
ง. ผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ
ตอบ ง. ผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ

5. ระเบียบฉบับนี้มิให้ใช้บังคับเกี่ยวกับการเงินในข้อใด
ก. งบประมาณจากสำนักนายกรัฐมนตรี
ข. งบประมาณจากรัฐบาล
ค. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจที่ได้รับจากรัฐบาล
ง. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจที่ได้รับจากรัฐวิสาหกิจ
ตอบ ค. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจที่ได้รับจากรัฐบาล

6. ข้อใดมิใช่ฎีกาเบิกเงิน
ก. ฎีกาเบิกเงินรายจ่ายตามงบประมาณ
ข. ฎีกาเบิกเงินรายรับตามงบประมาณ
ค. ฎีกาเบิกเงินเดือนและค่าจ้าง
ง. ฎีกาเบิกเงินนอกงบประมาณ
ตอบ ข. ฎีกาเบิกเงินรายรับตามงบประมาณ

7. หน่วยงานเจ้าของงบประมาณจะมอบหมายให้หน่วยงานอื่น หรือหัวหน้าหน่วยงานในหน่วยงานเดียวกันเป็นผู้ทำการเบิกแทนก็ได้ โดยจะต้องปฏิบัติตามข้อใด
ก. ส่งตัวอย่างลายมือชื่อผู้เบิก
ข. ส่งสำเนาบัตรประชาชนผู้เบิก
ค. ส่งหนังสือมอบอำนาจให้แก่ผู้เบิก
ง. ส่งสำเนาบัตรประจำตัวข้าราชการผู้เบิก
ตอบ ก. ส่งตัวอย่างลายมือชื่อผู้เบิก

8. ฎีกาขอเบิกเงินจะต้องพิมพ์หรือเขียนด้วยหมึกที่ลบได้ยากจำนวนเงินที่ขอเบิกทั้งตัวเลขและตัวอักษรจะต้องพิมพ์หรือเขียนให้ชัดเจนห้ามขูดลบ หากผิดพลาดจะต้องแก้ไขอย่างไร
ก. ฆ่าแล้วพิมพ์หรือเขียนใหม่ทั้งจำนวน
ข. ฆ่าแล้วพิมพ์หรือเขียนใหม่ทั้งจำนวน แล้วให้ฝ่ายบัญชีลงลายมือชื่อรับรองการขีดฆ่านั้น
ค. ฆ่าแล้วพิมพ์หรือเขียนใหม่ทั้งจำนวน แล้วให้ผู้เบิกลงลายมือชื่อรับรองการขีดฆ่านั้น
ง. ฆ่าแล้วพิมพ์หรือเขียนใหม่ทั้งจำนวน แล้วให้หัวหน้าผู้เบิกลงลายมือชื่อรับรองการขีดฆ่านั้น
ตอบ ค. ฆ่าแล้วพิมพ์หรือเขียนใหม่ทั้งจำนวน แล้วให้ผู้เบิกลงลายมือชื่อรับรองการขีดฆ่านั้น

9. การพิมพ์หรือเขียนจำนวนเงินในฎีกาของเบิกเงินที่เป็นตัวอักษร มีข้อปฏิบัติตามข้อใด
ก. ให้พิมพ์หรือเขียนจำนวนที่ขอเบิกให้ชิดด้านซ้ายของช่องตัวอักษร
ข. ให้พิมพ์หรือเขียนจำนวนที่ขอเบิกให้ชิดคำว่า “ตัวอักษร”
ค. ให้พิมพ์หรือเขียนจำนวนที่ขอเบิกให้ชิดด้านขวาของช่องตัวอักษร
ง. ให้พิมพ์หรือเขียนจำนวนที่ขอเบิกในช่องตัวอักษรแบบไหนก็ได้
ตอบ ข. ให้พิมพ์หรือเขียนจำนวนที่ขอเบิกให้ชิดคำว่า “ตัวอักษร”

10. การตั้งฎีกาเบิกเงินจะต้องระบุสิ่งใดลงไปด้วย
ก. ระบุวัตถุประสงค์ที่จะนำเงินนั้นไปจ่าย
ข. ระบุหน่วยงานที่เบิกเงินนั้น
ค. ระบุชื่อผู้ที่เบิกเงิน
ง. ระบุวันที่ตั้งฎีกาเบิกเงิน
ตอบ ก. ระบุวัตถุประสงค์ที่จะนำเงินนั้นไปจ่าย
wareerat profile wareerat
ตัวอย่างแนวข้อสอบ กทม ตำแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการปฎิบัติงาน

1. การโอนเอกสารแบบ Perpetual หมายถึง
ก. การย้ายเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นไปเก็บที่ศูนย์เอกสารในทันที
ข. การย้ายเอกสารระหว่างปฏิบัติไปเก็บที่ศูนย์เอกสารในทันที
ค. การโอนเอกสารระหว่างปฏิบัติไปเก็บในแผนกเก็บเอกสารตามระยะเวลาที่กำหนด
ง. การย้ายเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นไปเก็บที่ศูนย์เอกสารตามระยะเวลาที่กำหนด
 
ตอบ ก. การย้ายเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นไปเก็บที่ศูนย์เอกสารในทันที
การโอนเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นแล้วจากที่เก็บเอกสารที่อยู่ในระหว่างปฏิบัติ (Active File)  ไปเก็บไว้ในที่เก็บเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จแล้ว (Inactive File) ซึ่งอาจเป็นศูนย์เก็บเอกสาร มีวิธีโอน 2 วิธีคือ 
1. วิธีโอนเป็นงวด ๆ (Periodic) หมายถึง การโอนย้ายเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นแล้วจาก Active File ไปเก็บใน Inactive File ณ วันที่ที่กำหนดไว้ 
2. วิธีโอนติดต่อ (Perpetual) หมายถึง การโอนย้ายเอกสารเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือโครงการใดโครงการหนึ่งจาก Active File ไปไว้ใน Inactive File  ในทันทีที่เรื่องนั้น หรือโครงการนั้นได้เสร็จสิ้นลง
 
2. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบที่ควรกำหนดไว้ในตารางการควบคุมรายงาน 
ก. จำนวนฉบับที่จัดทำ  
ข. ระยะเวลาในการเก็บรายงาน  
ค. ความถี่ของการจัดทำ  
ง. จำนวนหน้าที่จัดทำ
 
ตอบ ง. จำนวนหน้าที่จัดทำ
องค์ประกอบที่ควรกำหนดไว้ในตารางการควบคุมรายงาน ได้แก่ ชื่อและคำอธิบายโดยย่อ, จำนวน ฉบับที่จัดทำ, จัดทำที่ไหนอย่างไร, แจกจ่ายให้ใครบ้าง, เพื่ออะไร, ระยะเวลาในการเก็บรายงาน, ความถี่ของการจัดทำ และต้นทุน
 
3. โครงร่างของแบบฟอร์มตอนใด พิมพ์ข้อความนำที่บอกให้ทราบว่าแบบฟอร์มนั้นเกี่ยวกับใคร
ก. ชื่อแบบฟอร์ม         ข. การเริ่มเรื่อง 
ค. เนื้อเรื่อง                ง.  คำสั่งหรือคำแนะนำ
 
ตอบ ข. การเริ่มเรื่อง 
การเริ่มเรื่อง (Introduction) คือ ข้อความนำที่บอกให้ทราบว่าแบบฟอร์มนั้น ๆ เกี่ยวกับใคร อะไร  และเมื่อไร
 
4. ข้อใดไม่ใช่แนวทางในการตัดสินใจเลือกวิธีอัดสำเนา
ก. ปริมาณสูงสุดของสำเนาที่ต้องการ 
ข. ลักษณะและประเภทตัวแบบต้นฉบับที่ใช้ทำสำเนา
ค. ต้องการทำเอกสารเป็นสีอื่น ๆ นอกจากสีขาวดำ 
ง. ไม่มีข้อใดถูก
 
ตอบ ง. ไม่มีข้อใดถูก 
ตัวเลือกข้อ ก – ค ถือเป็นแนวทางในการตัดสินใจเลือกวิธีอัดสำเนาเอกสาร นอกจากนี้ยังมีแนวทาง อื่น ๆ อีก คือ คุณภาพของสำเนาที่ต้องการ, งบประมาณค่าใช้จ่ายเป็นค่าเครื่องและค่าใช้จ่ายในการผลิตสำเนาให้ได้คุณภาพดีมากน้อยตามต้องการ
 
5. ความหมายของการจัดแผนผังสำนักงาน ข้อใดกล่าวผิด 
ก. การจัดสภาพแวดล้อมในการทำงานอย่างเหมาะสม
ข. การกำหนดตำแหน่งที่ตั้งหน่วยงานต่าง ๆ ของพื้นที่ทั้งหมด
ค. การจัดสายทางเดินของงานอย่างมีประสิทธิภาพ 
ง. การวางแผนในการจัดระเบียบปัจจัยต่าง ๆ ไว้ล่วงหน้า
 
ตอบ ข. การกำหนดตำแหน่งที่ตั้งหน่วยงานต่าง ๆ ของพื้นที่ทั้งหมด
การจัดแผนผังสำนักงาน หมายถึง การจัดวางเครื่องใช้สำนักงานลงบนพื้นที่ที่มีอยู่หรือหมายถึง การวางแผนในการจัดระเบียบปัจจัยต่าง ๆ ไว้ล่วงหน้า ซึ่งจะช่วยให้สายทางเดินของงานดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงประโยชน์ในการใช้สอยและความสะดวกของพนักงาน
 
6. ระบบโทรศัพท์ระบบใดไม่จัดเป็นประเภทใช้สาย 
ก.  โทรศัพท์ระบบ PABX       ข. โทรศัพท์ระบบคีย์เทเลโฟน 
ค.  โทรศัพท์ระบบสายตรง       ง.  โทรศัพท์ระบบเซลลูลาร์
 
ตอบ ง.  โทรศัพท์ระบบเซลลูลาร์
โทรศัพท์ประเภทใช้สาย  แบ่งออกเป็น  3  ระบบ   ดังนี้คือ  
1. โทรศัพท์ระบบสายตรง 
2. โทรศัพท์ระบบ PABX คือ โทรศัพท์ระบบตู้ชุมสายหรือตู้สาขาอัตโนมัติ 
3. โทรศัพท์ระบบคีย์เทเลโฟน
 
7. Electronic Mail หมายถึง
ก.การส่งเอกสารทางไปรษณีย์อากาศ          ข. การส่งข่าวสารโดยระบบคอมพิวเตอร์
ค. การส่งข่าวสารผ่านตามสายโทรศัพท์       ง. การส่งข่าวสารโดยใช้เครื่องโทรสาร
 
ตอบ ข. การส่งข่าวสารโดยระบบคอมพิวเตอร์
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-Mail) เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีในการสื่อสาร เพื่อรับและส่งข้อความหรือข่าวสารที่อยู่ในรูปแบบต่าง ๆ จากเทอร์มินอลหนึ่งไปยังอีกเทอร์มินอลหนึ่ง (Terminal : ปลายทาง) ซึ่งอยู่ในบริเวณอาคารเดียวกันหรืออยู่ในสำนักงานที่อยู่ห่างไกลกันออกไป
 
8. PABX เป็นโทรศัพท์ระบบใด 
ก. โทรศัพท์ระบบตู้สาขาอัตโนมัติ       ข. โทรศัพท์ระบบเซลลูลาร์ 
ค. โทรศัพท์แบบไร้สาย                     ง. โทรศัพท์แบบวิทยุ
 
ตอบ ก. โทรศัพท์ระบบตู้สาขาอัตโนมัติ
 
9. ข้อใดถูกหลักการเคลื่อนไหวอย่างมีประสิทธิภาพ 
ก. เก็บเอกสารประเภทกำลังปฏิบัติอยู่ไว้ใกล้ตัวผู้ปฏิบัติงาน
ข. เก็บเอกสารประเภทปฏิบัติเสร็จสิ้นแล้วไว้ใกล้ตัวผู้ปฏิบัติงาน
ค. เก็บเอกสารประเภท Active ไว้ห่างไกลตัวผู้ปฏิบัติงาน
ง. เก็บเอกสารประเภทปฏิบัติเสร็จสิ้นแล้วไว้กับเอกสาร Active
 
ตอบ ก. เก็บเอกสารประเภทกำลังปฏิบัติอยู่ไว้ใกล้ตัวผู้ปฏิบัติงาน
เอกสารประเภทกำลังปฏิบัติงาน (Active File) ควรเก็บไว้ใกล้ ๆ ตัวผู้ปฏิบัติงานเพื่อลดเวลาในการ ค้นหาเมื่อต้องการใช้งาน ส่วนเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นแล้ว (Inactive File) ก็ไม่จำเป็นต้องเก็บไว้ใกล้ตัวผู้ปฏิบัติงาน แต่อาจโอนไปแยกเก็บไว้ต่างหาก
 
10. ระบบการจัดเก็บเอกสารระบบใดไม่สมบูรณ์ในตัว
ก. ระบบวันที่                  ข.ระบบชื่อเรื่อง 
ค. ระบบภูมิศาสตร์          ง. ระบบตัวเลข
 
ตอบ ง. ระบบตัวเลข
การจัดเก็บเอกสารตามระบบตัวเลข เป็นการจัดเก็บโดยเรียงลำดับตามตัวเลข ซึ่งเป็นวิธีการโดย อ้อม คือ ต้องทำบัตรอ้างอิงขึ้นมา โดยจัดลำดับตามตัวอักษรเพื่อช่วยในการเก็บและค้นหา ซึ่งเหมาะกับการเก็บความลับ แต่จะเสียเวลาในการจัดเก็บและค้นหามากกว่าวิธีอื่น เช่น ใบสั่งซื้อ ใบส่งของ เช็คธนาคาร บันทึก และเรื่องโต้ตอบ เป็นต้น

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน

10 ปีที่ผ่านมา