แนวข้อสอบกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ทุกตำแหน่ง ใหม่ล่าสุด

Lomaza profile image Lomaza

คู่มือสอบ ตัวอย่างแนวข้อสอบกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ทุกตำแหน่ง ใหม่ล่าสุด

คู่มือสอบ ตัวอย่างแนวข้อสอบกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ทุกตำแหน่ง ใหม่ล่าสุด
1. เมื่อวันใดได้มีการประกาศบังคับใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐

ก. วันที่ ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๐

ข. วันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐

ค. วันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐

ง. วันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐

ตอบ ข. วันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติตามรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐

เมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ มีการประกาศใช้บังคับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้บัญญัติเกี่ยวกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไว้ ใน มาตรา ๒๕๖ มาตรา ๒๕๗

2. รัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ ได้แบ่งองค์กรตามรัฐธรรมนูญออกเป็นกี่ประเภท

ก. แปดประเภท

ข. หกประเภท

ค. สี่ประเภท

ง. สองประเภท

ตอบ ง. สองประเภท

รัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ ได้แบ่งองค์กรตามรัฐธรรมนูญเป็น ๒ ประเภท ดังนี้

๑. องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ มี ๔ องค์กร ดังนี้

๑.๑ คณะกรรมการการเลือกตั้ง

๑.๒ ผู้ตรวจการแผ่นดิน

๑.๓ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

๑.๔ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน

๒. องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ มี ๓ องค์กร ดังนี้

๒.๑ องค์กรอัยการ

๒.๒ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

๒.๓ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

รัฐธรรมนูญ ๒๕๔๐ มิได้กำหนดไว้อย่างชัดเจน

3. องค์กรใดต่อไปนี้คือองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ

ก. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ข. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน

ค. คณะกรรมการการเลือกตั้ง

ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

ดูคำอธิบายข้อข้างต้น

4. องค์กรใดต่อไปนี้คือองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ

ก. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

ข. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน

ค. คณะกรรมการการเลือกตั้ง

ง. คณะกรรมการส่วนราชการ

ตอบ ก. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

ดูคำอธิบายข้อข้างต้น

5. ผู้ใดต่อสู้หรือขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการต้องระวางโทษตามข้อใด

ก. ปรับไม่เกินสามหมื่นบาท

ข. ปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท

ค. จำคุกไม่เกินหนึ่งปี

ง. จำคุกไม่เกินสองปี

ตอบ ค. จำคุกไม่เกินหนึ่งปี

มาตรา ๓๕ ผู้ใดต่อสู้หรือขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๓๒ (๒) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

6. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มีชื่อย่อว่าอย่งไร

ก. คกช.

ข. กสม.

ค. กมช.

ง. คกม.

ตอบ ข. กสม.

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มีชื่อย่อว่า กสม.

7. จากเดิมคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีจำนวนคณะกรรมการทั้งหมด ๑๑ คน ปัจจุบันได้มีการปรับให้เหลือเพียงเท่าใด

ก. ห้าคน

ข. เจ็ดคน

ค. เก้าคน

ง. สิบเอ็ดคน

ตอบ ข. เจ็ดคน

องค์ประกอบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)

กำหนดใคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีจำนวนลดลง จากเดิมที่มีรวมทั้งสิ้น ๑๑ คน ให้เหลือเพียงเจ็ดคน ประกอบด้วยประธานกรรมการหนึ่งคน และกรรมการอื่นอีกหกคน

8. กระบวนการสรรหาและเลือกคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ตามรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ แตกต่างจาก รัฐธรรมนูญ ๒๕๔๐ ในขั้นตอนใด

ก. องค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหา

ข. วิธีการสรรหาและคัดเลือก

ค. จำนวนผู้ได้รับเลือกเพื่อเสนอชื่อให้วุฒิสภา

ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

กระบวน การสรรหาและการเลือกคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ตามรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ แตกต่างจากรัฐธรรมนูญ ๒๕๔๐ ทั้งในขั้นตอนของคณะกรรมการสรรหา คือองค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหา วิธีการสรรหาและคัดเลือก รวมทั้งจำนวนผู้ได้รับเลือกเพื่อเสนอชื่อให้วุฒิสภา และในขั้นตอนของวุฒิสภาจากเดิมที่ต้องมีมติเพื่อคัดเลือกผู้ได้รับการเสนอ ชื่อจากจำนวนยี่สิบสองคนให้เหลือสิบเอ็ดคน เป็นมีมติให้ความเห็นชอบผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อจากคณะกรรมการสรรหาจำนวน เจ็ดคน

9. บุคคลใดต่อไปนี้ที่สามารถเป็นคณะกรรมการสรรหากรรมการได้

ก. รองประธานศาลฎีกา

ข. รองประธานศาลปกครองสูงสุด

ค. อัยการสูงสุด

ง. ทนายความ

ตอบ ค. อัยการสูงสุด

คณะกรรมการสรรหากรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มีจำนวนเจ็ดคน ประกอบด้วย

๑. ประธานศาลฎีกา

๒. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ

๓. ประธานศาลปกครองสูงสุด

๔. ประธานสภาผู้แทนราษฎร

๕. ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร

๖. บุคคลซึ่งที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาคัดเลือก จำนวนหนึ่งคน

๗. บุคคลซึ่งที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดคัดเลือก จำนวนหนึ่งคน

ทำ หน้าที่สรรหาและคัดเลือกคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) จำนวนเจ็ดคน ด้วยมติที่มีการลงคะแนนโดยเปิดเผยและมีคะแนนไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวน กรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ แล้วเสนอรายชื่อผู้ได้รับเลือกพร้อมความยินยอมของผู้นั้นต่อประธานวุฒิสภา เพื่อให้วุฒิสภามีมติให้ความเห็นชอบด้วยคะแนนเสียงข้างมากโดยวิธีลงคะแนนลับ

10. การพ้นจากตำแหน่งของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติคือข้อใด

ก. การลาออก

ข. ลาพักร้อนเกินกำหนด

ค. อายุครบเจ็ดสิบปีบริบูรณ์

ง. หยุดงานเกินสามวัน

ตอบ ค. อายุครบเจ็คสิบปีบริบูรณ์

การพ้นตำแหน่ง
นอกจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจะพ้นจากตำแหน่งตามวาระและเหตุอื่น แล้ว รัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ ได้กำหนดเพิ่มเติมให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต้องพ้นจากตำแหน่งเมื่อ มีอายุครบเจ็ดสิบปีบริบูรณ์ด้วย

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ทุกตำแหน่ง ใหม่ล่าสุด

รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ
ประกอบด้วย
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
สรุปสาระสำคัญระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ _สูตรและเทคนิคการจำ
แนวข้อสอบข่าว สังคม การเมือง เศรษฐกิจและเหตุการณ์ปัจจุบัน ปี 2556
แนวข้อสอบอำนาจหน้าที่และภารกิจของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2550
การสอบสัมภาษณ์


ข้อสอบเฉพาะตำแหน่งที่สอบ (เลือกตามตำแหน่งที่สอบ)
-พนักงานคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
-นิติกร
ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 081-0550-550 (whatsapp,LINE) , 085-744-4488 (สำรอง)
สามารถนำไปปริ้นเพื่ออ่านได้เลย ในราคาเพียงชุดละ 399 บาท

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ 399 บาท

ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3 ระเบียบงานสารบรรณ ราคา 999 บาท

กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 871-2-093-677 ธ.กสิกรไทย
สาขาเซนทรัลพลาซ่า ขอนแก่น ชื่อบัญชี ณฤทัย รุ่งกิจธนโชติ ออมทรัพย์
โอนเงินแล้วแจ้งที่ sheetthai1@hotmail.com

http://sheetthai.com/index.php/topic,7370.0.html
ความคิดเห็น
Lomaza profile Lomaza

ความเป็นมาและความหมาย

เครื่อง หมายราชการกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ เป็นภาพตราชูบนพระแท่นนังคศิลาภายในกรอบสี่เหลี่ยมจตุรัส มีอักษรบอกนามกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพอยู่เบื้องล่าง พระแท่นมนังคศิลานี้เป็นพระแท่นของพ่อขุนรามคำแหงสมัยสุโขทัย ทรงใช้ว่าราชการแก้ทุกข์ของไพร่ฟ้าประชาชนที่มีความเดือดร้อนข้องใจ เปรียบได้ดังภารกิจของกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพที่มีหน้าที่คุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพ และช่วยบำบัดทุกข์ของประชาชน ตามรอยพระจริยาในพ่อขุนรามคำแหงมหาราชแต่อดีตกาล

ประเทศ ไทยมีจุดมุ่งหมายสูงสุดในการพัฒนากระบวนการยุติธรรม คือ การสร้างความสบงสุขให้เกิดขึ้นในสังคม โดยการป้องกันแก้ไขปัญาหาอาชญากรรมการคุ้มครองความปลอดภัยในชีวิตละทรัย์สิน การป้องกันแก้ไขข้อพิพาทขัดแย้งการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและสิทธิ มนุษยชน ที่มุ่งถึงความสัมฤทธิ์ผลของความยุติธรรมบนพื้นฐานของมนุษยธรรม แต่เนื่องจากยังมีสภาพปัญหาหลายประการที่ขัดขวางมิให้ประชาชนได้มีโอกาสเข้า ถึงความยุติธรรม เช่น

๑.การ ไม่มีความรู้ ความเข้าใจบทบัญญัติของกฏหมาย และสิทธิเสรีภาพที่พึงมีพึงได้โดยชอบธรรม ทำให้ประชาชนถูกเอารัดเอาเปรียบและล่วงละเมิลสิทธิจากบุคคลที่อยู่ในภาวะที่ เหนือกว่า ดังนั้น ความยุตอธรรมที่เกิดขึ้นนั้นมิได้หมายถึงการหยิบยื่นให้จากรัฐแต่เพียงภาย เดียว แต่ยังขึ้นอยู่กับความสามารถในการปกป้องคุ้มครองสิทธิเสรีภาพด้วยตัวเองของ ประชาชนเอง

๒.ความ ยากจนของประชาชนที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงความยุติธรรมเนื่องจากกระบวนการ ดำเนินคดีนั้น คู่ความจำเป็นที่จะต้องจัดจ้างทนายเพื่อต่อสู้คดีทำให้ประชาชนยากจนไม่ สามารถดำเนินการได้

๓.ประชาชน ผู้เสียหายจากอาชญากรรม และจากกระบวนการยุติธรรมเป็นผู้บริสุทธิ์ไม่ได้รับการช่วยเหลือเยียวยาตาม หลักสิทธิมนุษยชนหรือละเลยต่อผู้เสียหายชึ่งประชาชนผู้เสียหายเล่านี้ต้อง สูญเสียอิสรภาพในชิวิตร่างกายเกิดความพิการหรือสูญเสียชีวิต สร้างความเสียหายต่อสิทธิประโยชน์ที่พึงมีพึงได้

๔.กระบวน การยุติธรรม ขาดศักยภาพในการพัฒนาทางเลือกความยุติธรรมให้กับประชาชน กล่าวคือ แนวคิดดั้งเดิมความยุติธรรมเป็นสิ่งที่รัฐหยิบยื่นให้ประชาชนจากกระบวนการ พิจารณาคดีเท่านั้น ส่งผลให้ประชาชนต้องสูญเสียโอกาสต่างๆ มากมาย สิ้นเปลืองเวลา ค่าใช้จ่าย สูญเสียอิสรภาพโดยมิควรและปิดกั้นโอกาสของผู้ยากจนไม่สามารถเข้าถึงความ ยุติธรรม

จาก สถานการณ์ดังกล่าวจะพบว่า กระบวนการยุติธรรมยังไม่มีหน่วยงานกลางในการประสานงาน เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนที่ไม่ได้รับความยุติธรรมหรือถูกล่วงละเมิด สิทธิ ด้วยการส่งต่อไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือช่วยบรรเทาปัญหาในเบื้องต้นทั้งในเชิงรุกและรับ จึงทำให้ประชาชนที่ถูกละเมิดสิทธิขาดที่พึ่งในการเข้าถึงความยุติธรรม ประกอบกับเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ต้อง การให้มีการส่งเสริม คุ้มครองและสร้างหลักประกันให้กับประชาชนซึ่งรัฐบาลได้ตระหนักและเห็นความ สำคัญ ปรกอบกับมีการปฏิรูประบบราชการใหม่จึงได้มีการจัดตั้งกรมคุ้มครองสิทธิและ เสรีภาพขึ้น ภายใต้สังกัดกระทรวงยุติธรรมเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2545 ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 และใช้ชื่อภาษาอังกฤษของหน่วยงานว่าRIGHTS AND LIBERTIES PROTECTION DEPARTMENT มีชื่อย่อว่า RLPD ภาย ใต้วิสัยทัศน์ " เป็นองค์กรในการส่งเสริมคุ้มครองละสร้างหลักประกันสิทธิเสรีภาพและสิทธิ มนุษยชนอย่างบูรณาการ และมี นวัตกรรมสูความเป็นสากล "

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน