**[[เน้นๆแนวข้อสอบ]]** นายทหารพระธรรมนูญ ปี57 ((ใหม่ล่าสุดพร้อมเฉลย))

Famez profile image Famez

พระราชบัญญัติ ธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. 2498

1. ใครคือผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พ.. 2498

ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง

ตอบ ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

 

2. ศาลทหารตามพระราชบัญญัตินี้แบ่งออกเป็นกี่ชั้น

ก. 4 ชั้น . 2 ชั้น

. 3 ชั้น . 5 ชั้น

ตอบ ค. 3 ชั้น คือ (1) ศาลทหารชั้นต้น (2) ศาลทหารกลาง (3) ศาลทหารสูงสุด

 

3. ข้อใด ไม่ใช่ ศาลทหารชั้นต้นได้แก่ 

ก.  ศาลทหารสูงสุด  ศาลมณฑลทหาร

. ศาลทหารกรุงเทพ   ศาลประจำหน่วยทหาร

ตอบ  ก.ศาลทหารสูงสุด  ศาลทหารชั้นต้น ได้แก่ (1) ศาลจังหวัดทหาร

(2) ศาลมณฑลทหาร (3) ศาลทหารกรุงเทพ (4) ศาลประจำหน่วยทหาร

 

4. ตุลาการศาลทหารใดที่ต้องนำความกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งและถอดถอน 

ก. ศาลทหารสูงสุด  ศาล ทหารกลาง

. ศาลทหารปกครอง . ถูกทั้ง  และ 

ตอบ ง. ถูกทั้ง  และ 

 

5. บุคคลใดสามารถดำเนินคดีในศาลทหารได้

ก. ผู้ที่สอบความรู้ทางกฎหมายได้ปริญญาตรี

ข. ผู้ที่สอบความรู้ทางกฎหมายได้ปริญญาโท

ค. ผู้ที่สอบความรู้ทางกฎหมายเทียบได้ไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี

ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

 

6. ข้อใดคือคดีที่ไม่อยู่ในอำนาจศาลทหาร

ก. คดีที่เกี่ยวพันกับคดีที่อยู่ในอำนาจศาลพลเรือน

ข. คดีที่ต้องดำเนินในศาลคดีเด็กและเยาวชน

ค. คดีที่บุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารกับบุคคลที่มิได้อยู่ในอำนาจศาล ทหารกระทำผิดด้วยกัน

ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

 

7. ข้อใดคือบุคคลที่ไม่อยู่ในอำนาจศาลทหาร

ก. นายทหารชั้นสัญญาบัตรประจำการ

ข. นายทหารชั้นสัญญาบัตรนอกประจำการ

ค. นายทหารประทวนและพลทหารกองประจำการ

ง. บุลคลซึ่งต้องขังแต่ไม่อยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร

ตอบ ง. บุคคลซึ่งต้องขังแต่ไม่อยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร

 

8. ศาลประเภทใดที่มีเขตอำนาจไม่จำกัดพื้นที่

ก. ศาลจังหวัดทหาร ศาลมณฑลทหาร

. ศาลทหารกรุงเทพ . ศาลประจำหน่วยทหาร

ตอบ ค. ศาลทหารกรุงเทพ

 

9. ศาลประเภทใดที่มีอำนาจเหนือบุคคลที่สังกัดหน่วยทหารนั้น โดยไม่จำกัดพื้นที่

ก. ศาลจังหวัดทหาร ศาลมณฑลทหาร

. ศาลทหารกรุงเทพ . ศาลประจำหน่วยทหาร

ตอบ ง. ศาลประจำหน่วยทหาร

 

10. ศาลประเภทใดที่มีเขตอำนาจตามที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา

ก. ศาลจังหวัดทหาร ศาลมณฑลทหาร

. ศาลทหารกรุงเทพ . ถูกทั้ง ก และ 

ตอบ ง. ถูกทั้ง ก และ 

 

11. ศาลจังหวัดทหาร มีอำนาจพิจารณาคดีอาญาได้ทุก บทกฎหมาย เว้นแต่คดีใด

ก. จำเลยมียศทหารชั้นสัญญาบัตร 

ข. จำเลยมียศทหารชั้นประทวน

ค. จำเลยเป็นพลทหารกองประจำการ

ง. ถูกทั้ง  และ 

ตอบ ก. จำเลยมียศทหารชั้นสัญญาบัตร

 

12. ศาลมณฑลทหารและศาลประจำหน่วยทหารมีอำนาจพิจารณา พิพากษาคดีอาญาได้ทุกบทกฎหมาย เว้นแต่คดีที่จำเลยมียศทหารชั้นใด

ก. นายทหารประทวน 

ข.นายทหารชั้นสัญญาบัตร

. นายพลหรือ เทียบเท่า 

พิพากษาคดีอาญาได้ทุก บทกฎหมายโดยไม่จำกัดยศของจำเลย

ตอบ   ค.  นายพลหรือ เทียบเท่า

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบนายทหารพระธรรมนูญ  ใหม่ล่าสุด 
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ

แนวข้อสอบ พรบ.วิธีการปฏิบัติราชการปกครอง พ.ศ. 2539

แนวข้อสอบ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550
ประมวลกฎหมายอาญาทหาร

แนวข้อสอบพระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยทหาร พุทธศักราช 2476

แนวข้อสอบกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

แนวข้อสอบกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติรับราชการทหาร  พ.ศ. 2497

แนวข้อสอบแบบธรรมเนียมทหาร ยศ.ทบ.
แนวพระราชบัญญัติ ธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ.2498

>>>>"เลือกตำแหน่งที่สอบได้เลยเพื่อให้ได้แนวข้อสอบ เน้นๆเฉพาะทาง"<<<<

จำหน่ายไฟล์เอกสารแนวข้อสอบเอกสารติวข้อสอบ สรุปเนื้อหา และแนวข้อสอบพร้อมเฉลย
ใหม่ล่าสุดที่กำลังเปิดสอบ สำหรับคนที่ไม่มีเวลาไปติวและเวลาไปหาซื้อหนังสือ
  


จัดส่งทันที!!โดยรวบรวมจากหนังสือมากกว่าสิบเล่มและแนวข้อสอบจริงพร้อมเฉลย!!!!! 
สามารถนำไปปริ้นเพื่ออ่านได้เลย  ในราคาเพียงชุดละ   399 บาท

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ 399 บาท
หนังสือ+VCD กฎหมายรัฐนูญ ส่งฟรี EMS ทางไปรษณีย์ ราคา 999 บาท


สนใจสั่งซื้อที่   โทร 088-326-4404 (LINE), 084-4008-279(สำรอง)
**ติดต่อได้ตลอด 24 ชม.**
Line ID : fraemmy
QRCode LINE

กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 120-2-93695-0 ธ.กสิกรไทย ออมทรัพย์
สาขาสกลนคร  ชื่อบัญชี น.ส.ปิติพร ไชยศรี
โอนเงินแล้วแจ้งที่ 088-326-4404 หรือที่  sheetthai99@hotmail.com
*โปรดเก็บสลิปไว้เป็นหลักฐาน*



ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://www.sheetthai.com

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
แนวข้อสอบ,หนังสืออ่านสอบ,คู่มือสอบ,ติวสอบ,หาข้อสอบ,เก็งข้อสอบ,ข้อสอบเก่า,แจกข้อสอบ,ข้อสอบลับ,ข่าวการสอบ,เปิดสอบ,
รวมหนังสืออ่านสอบงานราชการ,ศูนย์ข้อสอบไทย ,งานราชการ ,ข้อสอบตำรวจ ,ข้อสอบครู ,แนวข้อสอบ ,ก.พ. ,อบต. ,ครู ,ตำรวจ 
,ธนาคาร ,ธกส. ,รัฐวิสาหกิจ,สพฐ 


1. พระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยทหาร พุทธศักราช ๒๔๗๖ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อใด

 

ก. 19 สิงหาคม 2476  ค. 19  กันยายน 2476

 

ข. 20  สิงหาคม  2476   ง. 20  กันยายน  2476

 

ตอบ ข. 20  สิงหาคม  2476  

 

2. วินัยทหาร คือ 

 

ก. การที่ทหารควรประพฤติตามแบบธรรมเนียมของทหาร 

 

ข. การที่ทหารต้องประพฤติตามแบบธรรมเนียมของทหาร 

 

ค. การที่ทหารควรประพฤติปฏิบัติตามแบบธรรมเนียมของทหาร 

 

ง. การที่ทหารต้องประพฤติปฏิบัติตามแบบธรรมเนียมของทหาร 

 

ตอบ ข. การที่ทหารต้องประพฤติตามแบบธรรมเนียมของทหาร

 

3. วินัยเป็นหลักสำคัญที่สุดสำหรับทหาร เพราะฉะนั้นทหารทุกคนจักต้องรักษาโดยเคร่งครัดอยู่เสมอ ผู้ใดฝ่าฝืนท่านให้ถือว่าผู้นั้นกระทำผิด อยู่ในมาตราใดของพระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยทหาร พุทธศักราช ๒๔๗๖ 

 

ก. มาตรา 3 ค. มาตรา 5

 

ข. มาตรา 4 ง. มาตรา 6 

 

ตอบ ค. มาตรา 5

 

4. ข้อใดคือการกระทำผิดวินัยทหาร 

 

ก. กล่าวคำเท็จ 

 

ข. เกียจคร้าน ละทิ้ง หรือเลินเล่อต่อหน้าที่ราชการ 

 

ค. ดื้อ ขัดขืน หลีกเลี่ยง หรือละเลยไม่ปฏิบัติตามคำสั่งผู้บังคับบัญชาเหนือตน 

 

ง. ถูกทุกข้อ 

 

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ ตัวอย่างการกระทำผิดวินัยทหารมีดังต่อไปนี้ 

 

(ดื้อ ขัดขืน หลีกเลี่ยง หรือละเลยไม่ปฏิบัติตามคำสั่งผู้บังคับบัญชาเหนือตน

 

(ไม่รักษาระเบียบการเคารพระหว่างผู้ใหญ่ผู้น้อย

 

(ไม่รักษามรรยาทให้ถูกต้องตามแบบธรรมเนียมของทหาร

 

(ก่อให้แตกความสามัคคีในคณะทหาร

 

(เกียจคร้าน ละทิ้ง หรือเลินเล่อต่อหน้าที่ราชการ

 

(กล่าวคำเท็จ

 

(ใช้กิริยาวาจาไม่สมควร หรือประพฤติไม่สมควร

 

(ไม่ตักเตือนสั่งสอน หรือลงทัณฑ์ผู้ใต้บังคับบัญชาที่กระทำผิดตามโทษานุโทษ

 

(เสพเครื่องดองของเมาจนถึงเสียกิริยา

 

 ***********************************************************************************************************************

แนวข้อสอบ กฎหมายอาญาทหาร

 

 

 

 

1.พลทหารดำ ทหารกองประจำการ สังกัด กองพันทหารราบที่ 1 กระทำความผิดอาญาที่มีโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนปรับไม่เกินหนึ่งพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ พ.ท.สุรศักดิ์ผู้บังคับกองพันทหารราบที่ 1 ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาเห็นว่าเป็นการเล็กน้อยไม่สำคัญ จึงสั่งลงทัณฑ์ขังพลทหารดำ 5 วัน ดังนี้คำสั่งลงทัณฑ์ของ พ.ท.สุรศักดิ์ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ เพราะเหตุใด

 

                ข้อกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายอาญาทหาร

 

มาตรา 7 ได้กำหนดให้ผู้บังคับบัญชาตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหารมีอำนาจลงทัณฑ์แก่ทหารผู้กระทำผิดต่อวินัยทหารตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหาร ไม่ว่าเป็นการกระทำความผิดในหรือนอกราชอาณาจักร

 

มาตรา 8 ได้กำหนดให้ การกระทำผิดบางอย่าง ( 21 บทมาตรา ) ถ้าผู้บังคับบัญชาตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหารพิจารณาเห็นว่าเป็นการเล็กน้อยไม่สำคัญ ให้ถือว่าเป็นความผิดต่อวินัยทหาร และให้มีอำนาจลงทัณฑ์ตามมาตรา 7 เว้นแต่ผู้มีอำนาจแต่งตั้งตุลาการตามกฎหมายว่าด้วยธรรมนูญศาลทหาร จะสั่งให้ส่งตัวผู้กระทำความผิดไปดำเนินคดีในศาลทหาร หรือจะมีการดำเนินคดีนั้นในศาลพลเรือนตามกฎหมายว่ายด้วยธรรมนูญศาลทหารจึงให้เป็นไปตามนั้น

 

มาตรา 9 ได้กำหนดให้ ความในมาตรา 8 ให้ใช้ตลอดถึงความผิดลหุโทษและความผิดที่เปรียบเทียบได้ตามกฎหมาย

 

ข้อพิจารณา การกระทำความผิดอาญาที่มีโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนปรับไม่เกินหนึ่งพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ  ถือเป็นความผิดลหุโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 102                       ซึ่งถ้าผู้บังคับบัญชาตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหาร พิจารณาเห็นว่าเป็นการเล็กน้อยไม่สำคัญ ให้ถือว่าเป็นความผิดวินัยทหาร และผู้มีอำนาจบังคับบัญชาทหารมีอำนาจลงทัณฑ์ได้ตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหาร

 

การที่พลทหารดำ ทหารกองประจำการ สังกัด กองพันทหารราบที่ 1  กระทำความผิดอาญาที่มีโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนปรับไม่เกินหนึ่งพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ  ถือว่า  พลทหารดำ กระทำความผิดอาญาฐานลหุโทษ ในกรณีนี้เมื่อผู้บังคับบัญชาพิจารณาเห็นว่าเป็นการเล็กน้อยไม่สำคัญ ก็ให้ถือว่าเป็นความผิดวินัยทหาร และให้มีอำนาจลงทัณฑ์แก่ทหารผู้กระทำผิดวินัยได้ ตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหาร

 

ดังนั้น คำสั่งลงทัณฑ์ของ พ.ท.สุรศักดิ์ ที่สั่งลงทัณฑ์ขังพลทหารดำ 5 วัน จึงชอบด้วยกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายอาญาทหาร มาตรา 9 ประกอบด้วยมาตรา 7 และ 8

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2. สิบตรีสุรศักดิ์  สังกัด กง.ทบ. กระทำความผิดอาญาที่มีโทษปรับสถานเดียว พล.ต.มานพ จก.กง.ทบ. เห็นว่าเป็นการเล็กน้อยไม่สำคัญ จึงสั่งลงทัณฑ์ขัง ส.ต.สุรศักดิ์ 3 วัน ดังนี้ คำสั่งของ พล.ต.มานพ ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ เพราะเหตุใด

 

ข้อกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายอาญาทหาร

 

มาตรา 7 กำหนดว่า ให้ผู้บังคับบัญชาทหารตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหารมีอำนาจลงทัณฑ์แก่ทหารที่กระทำผิดวินัยตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหาร ไม่ว่าเป็นการกระทำผิดในหรือนอกราชอาณาจักร.

 

มาตรา 8  กำหนดว่า การกระทำบางอย่าง (21 บทมาตรา )ถ้าผู้มีอำนาจบังคับบัญชาตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหาร พิจารณาเห็นว่าเป็นการเล็กน้อยไม่สำคัญ ให้ถือว่าเป็นความผิดต่อวินัยทหาร และให้มีอำนาจลงทัณฑ์ตามมาตรา 7 เว้นแต่ผู้มีอำนาจแต่งตั้งตุลาการตามกฎหมายว่าด้วยธรรมนูญศาลทหาร จะสั่งให้ส่งตัวผู้กระทำความผิดไปดำเนินคดีในศาลทหาร หรือจะมีการดำเนินคดีนั้นในศาลพลเรือนตามกฎหมายว่าด้วยธรรมนูญศาลทหารจึงให้เป็นไปตามนั้น

 

มาตรา 9 กำหนดว่า  ความที่บัญญัติไว้ในมาตรา 8 ให้ใช้ได้ตลอดถึงความผิดลหุโทษและความผิดที่เปรียบเทียบได้ตามกฎหมาย

 

ข้อพิจารณา  การกระทำความผิดอาญาที่มีโทษปรับสถานเดียว เป็นความผิดที่เปรียบเทียบได้ตามกฎหมาย ซึ่งถ้าผู้บังคับบัญชาตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหาร พิจารณาเห็นว่าเป็นการเล็กน้อยไม่สำคัญ ให้ถือว่าเป็นความผิดวินัยทหาร และผู้มีอำนาจบังคับบัญชาทหารมีอำนาจลงทัณฑ์ได้ตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหาร

 

กรณีที่ ส.ต.สุรศักดิ์  กระทำความผิดอาญาที่มีโทษปรับสถานเดียว ซึ่งเป็นความผิดที่เปรียบเทียบได้ตามกฎหมาย   พล.ต.มานพ จก.กง.ทบ. ซึ่งเป็นผู้มีอำนาจบังคับบัญชาตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหารพิจารณาแล้วเห็นว่าเป็นการเล็กน้อยไม่สำคัญ ถือว่า ส.ต.สุรศักดิ์ กระทำผิดวินัยทหาร  พล.ต.มานพ จก.กง.ทบ. จึงมีอำนาจลงทัณฑ์ ส.ต.สุรศักดิ์ได้ตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหาร

 

ดังนั้น การที่ พล.ต.มานพ จก.กง.ทบ. สั่งขัง ส.ต.สุรศักดิ์  3 วัน จึงชอบด้วยประมวลกฎหมายอาญาทหาร มาตรา 9 ประกอบด้วยมาตรา 7 และ 8

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                3.พลทหาร สมชาย สังกัด กองพันบริการ กรมยุทธบริการทหาร ไม่พอใจนายสมหมายที่มักจะพูดจาข่มขู่รีดไถเงินพลทหาร สมชายเป็นประจำ ในวันเกิดเหตุ นายสมหมายได้มาหา พลทหาร สมชาย ที่กรมยุทธบริการทหาร และทำการข่มขู่เช่นเดิม พลทหาร สมชาย จึงได้ใช้มือชกใบหน้าของนายสมหมายจำนวน 1 ครั้ง เป็นเหตุให้นายสมหมายได้รับบาดแผลฉีกขาด ต่อมา พันเอก สมศักดิ์ ผู้บังคับกองพันบริการ กรมยุทธบริการทหาร ทราบเรื่องจึงได้ดำเนินการสอบสวนจนเสร็จสิ้น และพิจารณาแล้วเห็นว่า เป็นเรื่องเล็กน้อยไม่สำคัญเนื่องจากพลทหาร สมชาย ไม่ได้เป็นผู้ก่อเหตุก่อนและชกเพียง  1 ครั้งเท่านั้น จึงดำเนินการเพื่อให้มีการลงทัณฑ์ทางวินัยทหารแทนการดำเนินคดีอาญาในศาล

 

ให้นักศึกษาวินิจฉัยว่า การดำเนินการเพื่อให้มีการลงทัณฑ์ของ พันเอก สมศักดิ์ นั้น ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ อย่างไร

 

ข้อกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายอาญาทหาร

 

มาตรา 8  กำหนดว่า  การกระทำบางอย่าง ( ใน 21 บทมาตรา ) ถ้าผู้มีอำนาจบังคับบัญชาตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหาร พิจารณาเห็นว่าเป็นการเล็กน้อยไม่สำคัญ ให้ถือว่าเป็นการกระทำผิดวินัยทหาร และมีอำนาจลงทัณฑ์ตามมาตรา 7 เว้นแต่ผู้มีอำนาจแต่งตั้งตุลาการตามกฎหมายว่าด้วยธรรมนูญศาลทหาร จะสั่งให้ส่งตัวผู้กระทำความผิดไปดำเนินคดีในศาลทหาร หรือจะมีการดำเนินคดีนั้นในศาลพลเรือนตามกฎหมายว่าด้วยธรรมนูญศาลทหารจึงให้เป็นไปตามนั้น

 

มาตรา 9 กำหนดว่า  ความที่บัญญัติไว้ในมาตรา 8 ให้ใช้ได้ตลอดถึงความผิดลหุโทษและความผิดที่เปรียบเทียบได้ตามกฎหมาย

 

ข้อพิจารณา  การกระทำความผิดเฉพาะบางฐานความผิด ที่บัญญัติไว้ในมาตรา 8 ( 21 บทมาตรา ) ตามประมวลกฎหมายอาญาทหาร รวมทั้งการกระทำความผิดลหุโทษ และความผิดที่เปรียบเทียบได้ตามกฎหมาย ถ้าผู้บังคับบัญชาทหารตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหาร พิจารณาเห็นว่า เป็นการเล็กน้อยไม่สำคัญ ให้ถือว่าเป็นความผิดวินัยทหาร และให้ลงทัณฑ์ได้ตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหาร

 

กรณี พลทหารสมชาย ได้ใช้มือชกใบหน้าของนายสมหมายจำนวน 1 ครั้ง เป็นเหตุให้นายสมหมายได้รับบาดแผลฉีกขาด ถือว่า พลทหารสมชายได้กระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่น เป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กาย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295 ซึ่งฐานความผิดนี้ไม่ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 8 แห่งประมวลกฎหมายอาญาทหาร อีกทั้งมิได้เป็นความผิดลหุโทษเพราะมีโทษจำคุกสูงกว่าความผิดฐานลหุโทษและไม่เป็นความผิดที่เปรียบเทียบได้ตามกฎหมาย ดังนั้น การกระทำของพลทหารสมชาย จึงไม่ถือว่าเป็นการกระทำผิดวินัยทหาร และผู้บังคับบัญชาไม่มีอำนาจลงทัณฑ์ตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหาร

 

ดังนั้น การดำเนินการเพื่อให้มีการลงทัณฑ์ของ พันเอก สมศักดิ์  จึงไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายอาญาทหาร มาตรา 8  ประกอบด้วยมาตรา 7 และมาตรา 9

 

 

 

 

 

4. ศาลประจำหน่วยทหารกับศาลทหารชั้นต้นอื่นๆ มีความแตกต่างกันอย่างไร จงอธิบาย?

 

ศาลทหารในเวลาปกติแบ่งออกเป็น ชั้น มาตรา 6 ) คือ

 

(1.) ศาลทหารชั้นต้น

 

(2) ศาลทหารกลาง

 

(3) ศาลทหารสูงสุด

 

เฉพาะศาลทหารชั้นต้น ยังแยกออกเป็น

 

(1) ศาลจังหวัดทหาร

 

(2) ศาลมณฑลทหาร

 

(3) ศาลทหารกรุงเทพ และ

 

(4) ศาลทหารประจำหน่วยทหาร ( มาตรา 7 )

 

ศาลประจำหน่วยทหารเป็นศาลทหารชั้นต้นที่ไม่ได้เกิดขึ้นมาได้อย่างถาวร เพราะจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อได้มีการจัดตั้งขึ้นภายใต้เงื่อนไขที่ว่า

 

(1) มีหน่วยทหารปฏิบัติหน้าที่อยู่นอกราชอาณาจักร หรือกำลังเดินทางเพื่อไปปฏิบัติหน้าที่นอกราชอาณาจักร

 

(2) หน่วยทหารนั้น มีกำลังทหารไม่น้อยกว่าหนึ่งกองพัน

 

(3) ได้มีการอนุมัติให้ตั้งศาลประจำหน่วยทหารขึ้นมาตามกฎหมาย

 

ศาลประจำหน่วยทหารจึงมีความแตกต่างไปจากศาลทหารชั้นต้นอื่นตรงที่ว่า

 

(1) ศาลประจำหน่วยทหารเป็นศาลทหารที่ไม่ได้ก่อตั้งขึ้นมาในลักษณะเป็นการถาวร แต่เป็นศาลทหารที่จะต้องเคลื่อนที่ไปตามหน่วยทหารนั้นๆ ส่วนศาลทหารชั้นต้นอื่น ( ศาลจังหวัดทหาร ศาลมณฑลทหาร ศาลทหารกรุงเทพ) เป็นก่อตั้งขึ้นมาในลักษณะเป็นการถาวร

 

(2) ศาลประจำหน่วยทหารเป็นศาลทหารที่มีกำหนดเขตอำนาจโดยไม่อาศัยพื้นที่เช่นเดียวกับศาลทหารกรุงเทพ ซึ่งแตกต่างไปจากศาลจังหวัดทหารและศาลมณฑลทหารที่กำหนดเขตอำนาจโดยอาศัยพื้นที่ แต่ทว่าศาลประจำหน่วยทหารกับศาลทหารกรุงเทพแตกต่างกันในเรื่องบุคคลที่อยู่ในอำนาจศาล กล่าวคือ ศาลประจำหน่วยทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีเฉพาะบุคคลที่สังกัดหน่วยทหารนั้นๆ ตกเป็นจำเลย ตามที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 7(3) ส่วนศาลทหารกรุงเทพ บุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารที่จะตกเป็นจำเลยจะเป็นบุคคลที่สังกัดหน่วยทหารใดๆ ก็ได้

 

(3) ศาลประจำหน่วยทหารเป็นศาลทหารชั้นต้นที่กฎหมายบัญญัติให้มีอำนาจพิจารณาคดีนอกราชอาณาจักรได้ ส่วนศาลทหารชั้นต้นอื่นไม่มีอำนาจพิจารณาพิพากษานอกราชอาณาจักร

 

(4) แตกต่างกันในเรื่องผู้รับมอบพระราชอำนาจในการแต่งตั้ง และถอดถอนตุลาการศาลทหาร ดังนี้

 

                (4.1) ผู้รับมอบพระราชอำนาจในการแต่งตั้ง และถอดถอนตุลาการศาลจังหวัดทหาร ได้แก่ ผู้มีอำนาจบังคับบัญชาจังหวัดทหาร ( ผบ.จทบ. )

 

                (4.2) ผู้รับมอบพระราชอำนาจในการแต่งตั้ง และถอดถอนตุลาการศาลมณฑลทหาร ได้แก่ ผู้มีอำนาจบังคับบัญชามณฑลทหาร ( ผบ.มทบ. )

 

          (4.3) ผู้รับมอบพระราชอำนาจในการแต่งตั้ง และถอดถอนตุลาการศาลทหารกรุงเทพ ได้แก่ รมว.กห.

 

                (4.4) ผู้รับมอบพระราชอำนาจในการแต่งตั้ง และถอดถอนตุลาการศาลประจำหน่วยทหาร ได้แก่ ผู้มีอำนาจบังคับบัญชาหน่วยทหารนั้นๆ

 

 

 

5. คดีใดบ้างที่อยู่ในอำนาจศาลทหาร จงอธิบาย?

 

ศาลทหารซึ่งจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติพระธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ.2498 สังกัดกระทรวงกลาโหม แบ่งออกเป็น 2  ประเภท คือ

 

1. ศาลทหารในเวลาปกติศาลทหาร และ

 

2. ศาลทหารในเวลาไม่ปกติ ( มาตรา 5 )

 

ศาลทหารในเวลาปกติ มีอำนาจ

 

1. พิจารณาพิพากษาวางบทลงโทษผู้กระทำผิดต่อกฎหมายทหารหรือกฎหมายอื่นในทางอาญา ในคดีซึ่งผู้กระทำผิดเป็นบุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารขณะกระทำผิด

 

2. สั่งลงโทษบุคคลใดๆ ที่กระทำผิดฐานละเมิดอำนาจศาล ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (มาตรา 13 )

 

สำหรับศาลทหารในเวลาไม่ปกติ  ถ้าผู้มีอำนาจประกาศกฎอัยการศึก ได้ประกาศตามอำนาจในกฎหมายว่าด้วยกฎหมายอัยการศึกให้ศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาอย่างใดอีก ก็ให้ศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาตามประกาศนั้นด้วย

 

 

 

6. คดีใดบ้างที่ไม่อยู่ในอำนาจศาลทหาร จงอธิบาย ?

 

คดีที่ไม่อยู่ในอำนาจศาลทหาร ได้กำหนดไว้ใน มาตรา 14 แห่ง พระราชบัญญัติพระธรรมนูญศาลทหาร ดังนี้

 

(1) คดีที่บุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารกับบุคคลที่ไม่อยู่ในอำนาจศาลทหารกระทำผิดด้วยกัน เช่น ทหารกับพลเรือนร่วมกันลักทรัพย์  หรือทหารกับพลเรือนต่างขับรถด้วยความประมาทเฉี่ยวชนกันเป็นเหตุให้ผู้โดยสารที่นั่งมาในรถถึงแก่ความตาย ดังนี้ ถือเป็นการกระทำผิดด้วยกัน คดีจึงไม่อยู่ในอำนาจศาลทหาร ต้องดำเนินคดีในศาลพลเรือน ตามมาตรา 15

 

(2) คดีที่เกี่ยวพันกับคดีที่อยู่ในอำนาจศาลพลเรือน เช่น พลทหาร ก. มีอาวุธปืนโดยไม่ได้รับอนุญาตซึ่งเป็นความผิด ตาม พ.ร.บ.อาวุธปืนฯ แล้ว พลทหาร ก. ได้ใช้อาวุธปืนนั้นไปร่วมกับพวกซึ่งเป็นพลเรือนกระทำการปล้นทรัพย์ ดังนี้ คดีที่พลทหาร ก. มีอาวุธปืนโดยไม่ได้รับอนุญาต เป็นคดีที่อยู่ในอำนาจศาลทหาร เพราะไม่ได้ร่วมกระทำผิดกับพลเรือน ส่วนคดีที่พลทหาร ก. ไปร่วมกับพวกที่เป็นพลเรือนกระทำการปล้นทรัพย์ เป็นคดีที่อยู่ในอำนาจศาลพลเรือน กรณีคดีมีอาวุธปืนโดยไม่ได้รับอนุญาต ถือเป็นคดีที่เกี่ยวพันกับคดีที่อยู่ในอำนาจศาลพลเรือน จึงไม่อยู่ในอำนาจศาลทหาร ต้องดำเนินคดีในศาลพลเรือน

 

(3) คดีที่ต้องดำเนินในศาลคดีเด็กและเยาชน ( ปัจจุบันคือศาลเยาวชนและครอบครัว) คดีดังกล่าวได้แก่ กรณีที่นักเรียนทหารกระทำความผิด ถ้าอายุในวันที่กระทำผิดยังไม่ครบสิบแปดปีบริบูรณ์ คดีไม่อยู่ในอำนาจศาลทหารต้องดำเนินคดีในศาลคดีเด็กและเยาวชน ( ศาลเยาวชนและครอบครัว)

 

(4) คดีที่ศาลทหารเห็นว่าไม่อยู่ในอำนาจศาลทหาร  หมายความว่า คดีนั้นศาลทหารได้พิจารณาแล้ว และได้มีคำสั่งหรือคำพิพากษาว่าคดีไม่อยู่ในอำนาจศาลทหารจะเนื่องจากกรณีใดก็ตาม กรณีดังกล่าวต้องดำเนินคดีในศาลพลเรือน

 

คดีที่ไม่อยู่ในอำนาจศาลทหารนี้ ให้ดำเนินคดีในศาลพลเรือน และเมื่อศาลพลเรือนได้ประทับรับฟ้องไว้แล้ว แม้ปรากฏตามทางพิจารณาภายหลังว่า เป็นคดีที่อยู่ในอำนาจศาลทหาร ศาลพลเรือนก็มีอำนาจพิจารณาพิพากษาต่อไปได้ ( มาตรา 15)

 

 

 


 

5. หมวด ๓ ในพระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยทหาร พุทธศักราช ๒๔๗๖ คือเรื่องใด 

 

ก. บทเบ็ดเสร็จทั่วไป  ค. วิธีร้องทุกข์

 

ข. ว่าด้วยวินัย  ง. อำนาจลงทัณฑ 

 

ตอบ ง. อำนาจลงทัณฑ 

 

หมวด  บทเบ็ดเสร็จทั่วไป 

 

หมวด   ว่าด้วยวินัย 

 

หมวด  อำนาจลงทัณฑ 

 

หมวด  วิธีร้องทุกข์

 

6. ทัณฑ์ที่จะลงแก่ผู้กระทำผิดต่อวินัยทหารมีกี่สถาน 

 

ก. 5 สถาน  ค. 3 สถาน

 

ข. 4 สถาน  ง. 6 สถาน

 

ตอบ ก. 5 สถาน

 

มาตรา ๘ ทัณฑ์ที่จะลงแก่ผู้กระทำผิดต่อวินัยทหารมี  ๕ สถาน คือ 

 

(ภาคทัณฑ์

 

(ทัณฑกรรม

 

(กัก

 

(ขัง

 

(จำขัง

 

7. ข้อใด ไม่ใช่ โทษทางวินัยทหาร 

 

ก. ภาคทัณฑ์  ค. จำขัง

 

ข. จำคุก  ง. ทัณฑกรรม

 

ตอบ  ง. ทัณฑกรรม

 

8. ผู้กระทำผิดมีความผิดอันควรต้องรับทัณฑ์สถานหนึ่งสถานใดดังกล่าวมาแล้ว แต่มีเหตุอันควรปราณี จึงเป็นแต่แสดงความผิดของผู้นั้นให้ปรากฏหรือให้ทำทัณฑ์บนไว้ คือความหมายของโทษตามข้อใด 

 

ก. ภาคทัณฑ์   ค. กัก

 

ค. ทัณฑกรรม  ง. จำขัง

 

ตอบ ก. ภาคทัณฑ์ 

 

9. กระทำการสุขา การโยธา ฯลฯ เพิ่มจากหน้าที่ประจำซึ่งตนจะต้องปฏิบัติอยู่แล้ว หรือปรับให้อยู่เวรยาม นอกจากหน้าที่ประจำ คือความหมายของโทษตามข้อใด 

 

ก. ภาคทัณฑ์   ค. กัก

 

ข. ทัณฑกรรม  ง. จำขัง 

 

ตอบ ข. ทัณฑกรรม 

 

10. กักตัวไว้ในบริเวณใดบริเวณหนึ่งตามแต่จะกำหนดให้ คือความหมายของโทษตามข้อใด 

 

ก. กัก    ค. ขัง

 

ข. ทัณฑกรรม  ง. จำขัง 

 

ตอบ ก. กัก 


**************************************************************************
พระราชบัญญัติ ธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. 2498
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. 
ให้ไว้ ณ วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2498 
เป็นปีที่ 10 ในรัชกาลปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยธรรมนูญศาลทหาร จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำ และยินยอมของสภาผู้แทนราษฎร ดังต่อไปนี้ 
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า พระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. 2498 
มาตรา 2* พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป 
*[รก.2498/83/1415/18 ตุลาคม 2498] 

มาตรา 3 ให้ยกเลิก (1) พระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พุทธศักราช 2477 (2) พระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2487 (3) พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พุทธศักราช 2477 พุทธศักราช 2488 และพระราชบัญญัติอนุมัติพระราช กำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พุทธศักราช 2477 พุทธศักราช 2488 พุทธศักราช 2488 (4) พระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2490 (5) พระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2496 (6) บรรดาบทกฎหมาย กฎและข้อบังคับอื่น ๆ ในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้ว ในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ 
มาตรา 4 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมรักษาการตามพระราช บัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราช บัญญัตินี้ 
กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ 
ภาค 1 
ศาลทหาร 
_______ 

ลักษณะ 1 
บททั่วไป 
_______
มาตรา 5 ศาลทหารทั้งหลายตามพระราชบัญญัตินี้ ให้สังกัดอยู่ใน กระทรวงกลาโหม 

ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเป็นผู้รับผิดชอบในงานธุรการของ ศาลทหารให้ดำเนินไปโดยเรียบร้อย แต่การพิจารณาคดีตลอดถึงการที่จะมีคำสั่ง หรือคำพิพากษาบังคับคดีนั้น ให้อยู่ในดุลพินิจของศาลทหารโดยเฉพาะ 
โดยอนุมัติรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ให้เจ้ากรมพระธรรมนูญ วางระเบียบราชการของศาลทหารและอัยการทหาร เพื่อให้กิจการของศาลทหาร และอัยการทหารดำเนินไปโดยเรียบร้อย 
มาตรา 6 ศาลทหารตามพระราชบัญญัตินี้แบ่งออกเป็นสามชั้น คือ 
(1) ศาลทหารชั้นต้น 
(2) ศาลทหารกลาง (3) ศาลทหารสูงสุด 
ภายใต้บังคับมาตรา 39 ในเวลาที่มีการรบหรือการสงคราม หรือ ประกาศใช้กฎอัยการศึก จะให้มีศาลอาญาศึกก็ได้ 
มาตรา 7 ศาลทหารชั้นต้นได้แก่ 
(1) ศาลจังหวัดทหาร 
(2) ศาลมณฑลทหาร 
(3) ศาลทหารกรุงเทพ 
(4) ศาลประจำหน่วยทหาร 
มาตรา 8 ทุกจังหวัดทหารให้มีศาลจังหวัดทหารศาลหนึ่ง เว้นแต่ จังหวัดทหารที่ตั้งกองบัญชาการมณฑลทหาร และทุกมณฑลทหารให้มีศาลมณฑล ทหารศาลหนึ่ง เว้นแต่มณฑลทหารที่ตั้งศาลทหารกรุงเทพ 
ศาลทหารเหล่านี้อาจไปนั่งพิจารณา ณ ที่ใดภายในเขตอำนาจได้ตาม ความจำเป็น 

1. พระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยทหาร พุทธศักราช ๒๔๗๖ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อใด

 

ก. 19 สิงหาคม 2476  ค. 19  กันยายน 2476

 

ข. 20  สิงหาคม  2476   ง. 20  กันยายน  2476

 

ตอบ ข. 20  สิงหาคม  2476  

 

2. วินัยทหาร คือ 

 

ก. การที่ทหารควรประพฤติตามแบบธรรมเนียมของทหาร 

 

ข. การที่ทหารต้องประพฤติตามแบบธรรมเนียมของทหาร 

 

ค. การที่ทหารควรประพฤติปฏิบัติตามแบบธรรมเนียมของทหาร 

 

ง. การที่ทหารต้องประพฤติปฏิบัติตามแบบธรรมเนียมของทหาร 

 

ตอบ ข. การที่ทหารต้องประพฤติตามแบบธรรมเนียมของทหาร

 

3. วินัยเป็นหลักสำคัญที่สุดสำหรับทหาร เพราะฉะนั้นทหารทุกคนจักต้องรักษาโดยเคร่งครัดอยู่เสมอ ผู้ใดฝ่าฝืนท่านให้ถือว่าผู้นั้นกระทำผิด อยู่ในมาตราใดของพระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยทหาร พุทธศักราช ๒๔๗๖ 

 

ก. มาตรา 3 ค. มาตรา 5

 

ข. มาตรา 4 ง. มาตรา 6 

 

ตอบ ค. มาตรา 5

 

4. ข้อใดคือการกระทำผิดวินัยทหาร 

 

ก. กล่าวคำเท็จ 

 

ข. เกียจคร้าน ละทิ้ง หรือเลินเล่อต่อหน้าที่ราชการ 

 

ค. ดื้อ ขัดขืน หลีกเลี่ยง หรือละเลยไม่ปฏิบัติตามคำสั่งผู้บังคับบัญชาเหนือตน 

 

ง. ถูกทุกข้อ 

 

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ ตัวอย่างการกระทำผิดวินัยทหารมีดังต่อไปนี้ 

 

(ดื้อ ขัดขืน หลีกเลี่ยง หรือละเลยไม่ปฏิบัติตามคำสั่งผู้บังคับบัญชาเหนือตน

 

(ไม่รักษาระเบียบการเคารพระหว่างผู้ใหญ่ผู้น้อย

 

(ไม่รักษามรรยาทให้ถูกต้องตามแบบธรรมเนียมของทหาร

 

(ก่อให้แตกความสามัคคีในคณะทหาร

 

(เกียจคร้าน ละทิ้ง หรือเลินเล่อต่อหน้าที่ราชการ

 

(กล่าวคำเท็จ

 

(ใช้กิริยาวาจาไม่สมควร หรือประพฤติไม่สมควร

 

(ไม่ตักเตือนสั่งสอน หรือลงทัณฑ์ผู้ใต้บังคับบัญชาที่กระทำผิดตามโทษานุโทษ

 

(เสพเครื่องดองของเมาจนถึงเสียกิริยา

 

 

5. หมวด ๓ ในพระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยทหาร พุทธศักราช ๒๔๗๖ คือเรื่องใด 

 

ก. บทเบ็ดเสร็จทั่วไป  ค. วิธีร้องทุกข์

 

ข. ว่าด้วยวินัย  ง. อำนาจลงทัณฑ 

 

ตอบ ง. อำนาจลงทัณฑ 

 

หมวด  บทเบ็ดเสร็จทั่วไป 

 

หมวด   ว่าด้วยวินัย 

 

หมวด  อำนาจลงทัณฑ 

 

หมวด  วิธีร้องทุกข์

 

6. ทัณฑ์ที่จะลงแก่ผู้กระทำผิดต่อวินัยทหารมีกี่สถาน 

 

ก. 5 สถาน  ค. 3 สถาน

 

ข. 4 สถาน  ง. 6 สถาน

 

ตอบ ก. 5 สถาน

 

มาตรา ๘ ทัณฑ์ที่จะลงแก่ผู้กระทำผิดต่อวินัยทหารมี  ๕ สถาน คือ 

 

(ภาคทัณฑ์

 

(ทัณฑกรรม

 

(กัก

 

(ขัง

 

(จำขัง

 

7. ข้อใด ไม่ใช่ โทษทางวินัยทหาร 

 

ก. ภาคทัณฑ์  ค. จำขัง

 

ข. จำคุก  ง. ทัณฑกรรม

 

ตอบ  ง. ทัณฑกรรม

 

8. ผู้กระทำผิดมีความผิดอันควรต้องรับทัณฑ์สถานหนึ่งสถานใดดังกล่าวมาแล้ว แต่มีเหตุอันควรปราณี จึงเป็นแต่แสดงความผิดของผู้นั้นให้ปรากฏหรือให้ทำทัณฑ์บนไว้ คือความหมายของโทษตามข้อใด 

 

ก. ภาคทัณฑ์   ค. กัก

 

ค. ทัณฑกรรม  ง. จำขัง

 

ตอบ ก. ภาคทัณฑ์ 

 

9. กระทำการสุขา การโยธา ฯลฯ เพิ่มจากหน้าที่ประจำซึ่งตนจะต้องปฏิบัติอยู่แล้ว หรือปรับให้อยู่เวรยาม นอกจากหน้าที่ประจำ คือความหมายของโทษตามข้อใด 

 

ก. ภาคทัณฑ์   ค. กัก

 

ข. ทัณฑกรรม  ง. จำขัง 

 

ตอบ ข. ทัณฑกรรม 

 

10. กักตัวไว้ในบริเวณใดบริเวณหนึ่งตามแต่จะกำหนดให้ คือความหมายของโทษตามข้อใด 

 

ก. กัก    ค. ขัง

 

ข. ทัณฑกรรม  ง. จำขัง 

 

ตอบ ก. กัก 

1. พระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยทหาร พุทธศักราช ๒๔๗๖ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อใด

 

ก. 19 สิงหาคม 2476  ค. 19  กันยายน 2476

 

ข. 20  สิงหาคม  2476   ง. 20  กันยายน  2476

 

ตอบ ข. 20  สิงหาคม  2476  

 

2. วินัยทหาร คือ 

 

ก. การที่ทหารควรประพฤติตามแบบธรรมเนียมของทหาร 

 

ข. การที่ทหารต้องประพฤติตามแบบธรรมเนียมของทหาร 

 

ค. การที่ทหารควรประพฤติปฏิบัติตามแบบธรรมเนียมของทหาร 

 

ง. การที่ทหารต้องประพฤติปฏิบัติตามแบบธรรมเนียมของทหาร 

 

ตอบ ข. การที่ทหารต้องประพฤติตามแบบธรรมเนียมของทหาร

 

3. วินัยเป็นหลักสำคัญที่สุดสำหรับทหาร เพราะฉะนั้นทหารทุกคนจักต้องรักษาโดยเคร่งครัดอยู่เสมอ ผู้ใดฝ่าฝืนท่านให้ถือว่าผู้นั้นกระทำผิด อยู่ในมาตราใดของพระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยทหาร พุทธศักราช ๒๔๗๖ 

 

ก. มาตรา 3 ค. มาตรา 5

 

ข. มาตรา 4 ง. มาตรา 6 

 

ตอบ ค. มาตรา 5

 

4. ข้อใดคือการกระทำผิดวินัยทหาร 

 

ก. กล่าวคำเท็จ 

 

ข. เกียจคร้าน ละทิ้ง หรือเลินเล่อต่อหน้าที่ราชการ 

 

ค. ดื้อ ขัดขืน หลีกเลี่ยง หรือละเลยไม่ปฏิบัติตามคำสั่งผู้บังคับบัญชาเหนือตน 

 

ง. ถูกทุกข้อ 

 

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ ตัวอย่างการกระทำผิดวินัยทหารมีดังต่อไปนี้ 

 

(ดื้อ ขัดขืน หลีกเลี่ยง หรือละเลยไม่ปฏิบัติตามคำสั่งผู้บังคับบัญชาเหนือตน

 

(ไม่รักษาระเบียบการเคารพระหว่างผู้ใหญ่ผู้น้อย

 

(ไม่รักษามรรยาทให้ถูกต้องตามแบบธรรมเนียมของทหาร

 

(ก่อให้แตกความสามัคคีในคณะทหาร

 

(เกียจคร้าน ละทิ้ง หรือเลินเล่อต่อหน้าที่ราชการ

 

(กล่าวคำเท็จ

 

(ใช้กิริยาวาจาไม่สมควร หรือประพฤติไม่สมควร

 

(ไม่ตักเตือนสั่งสอน หรือลงทัณฑ์ผู้ใต้บังคับบัญชาที่กระทำผิดตามโทษานุโทษ

 

(เสพเครื่องดองของเมาจนถึงเสียกิริยา

 

 

5. หมวด ๓ ในพระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยทหาร พุทธศักราช ๒๔๗๖ คือเรื่องใด 

 

ก. บทเบ็ดเสร็จทั่วไป  ค. วิธีร้องทุกข์

 

ข. ว่าด้วยวินัย  ง. อำนาจลงทัณฑ 

 

ตอบ ง. อำนาจลงทัณฑ 

 

หมวด  บทเบ็ดเสร็จทั่วไป 

 

หมวด   ว่าด้วยวินัย 

 

หมวด  อำนาจลงทัณฑ 

 

หมวด  วิธีร้องทุกข์

 

6. ทัณฑ์ที่จะลงแก่ผู้กระทำผิดต่อวินัยทหารมีกี่สถาน 

 

ก. 5 สถาน  ค. 3 สถาน

 

ข. 4 สถาน  ง. 6 สถาน

 

ตอบ ก. 5 สถาน

 

มาตรา ๘ ทัณฑ์ที่จะลงแก่ผู้กระทำผิดต่อวินัยทหารมี  ๕ สถาน คือ 

 

(ภาคทัณฑ์

 

(ทัณฑกรรม

 

(กัก

 

(ขัง

 

(จำขัง

 

7. ข้อใด ไม่ใช่ โทษทางวินัยทหาร 

 

ก. ภาคทัณฑ์  ค. จำขัง

 

ข. จำคุก  ง. ทัณฑกรรม

 

ตอบ  ง. ทัณฑกรรม

 

8. ผู้กระทำผิดมีความผิดอันควรต้องรับทัณฑ์สถานหนึ่งสถานใดดังกล่าวมาแล้ว แต่มีเหตุอันควรปราณี จึงเป็นแต่แสดงความผิดของผู้นั้นให้ปรากฏหรือให้ทำทัณฑ์บนไว้ คือความหมายของโทษตามข้อใด 

 

ก. ภาคทัณฑ์   ค. กัก

 

ค. ทัณฑกรรม  ง. จำขัง

 

ตอบ ก. ภาคทัณฑ์ 

 

9. กระทำการสุขา การโยธา ฯลฯ เพิ่มจากหน้าที่ประจำซึ่งตนจะต้องปฏิบัติอยู่แล้ว หรือปรับให้อยู่เวรยาม นอกจากหน้าที่ประจำ คือความหมายของโทษตามข้อใด 

 

ก. ภาคทัณฑ์   ค. กัก

 

ข. ทัณฑกรรม  ง. จำขัง 

 

ตอบ ข. ทัณฑกรรม 

 

10. กักตัวไว้ในบริเวณใดบริเวณหนึ่งตามแต่จะกำหนดให้ คือความหมายของโทษตามข้อใด 

 

ก. กัก    ค. ขัง

 

ข. ทัณฑกรรม  ง. จำขัง 

 

ตอบ ก. กัก 

ความคิดเห็น

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน