ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ

cl_km profile image cl_km
ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ
ความคิดเห็น
boonthawee profile boonthawee

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

Œ

1

การเริ่มต้น

(starting)

การตรวจตรา

(monitoring)

Ž

การสำรวจเลือกดู

(browsing)

การเชื่อมโยง

(chaining)

การแยกแยะ

(differentiating)

การดึงสารสนเทศออกมา

(extracting)

home.kku.ac.th/hslib/malee/412731/Theory/David_Ellis.doc

guest profile guest

พฤติกรรมสารสนเทศ

พฤติกรรมสารสนเทศ หมายถึง พฤติกรรมต่างๆ ของบุคคลๆ หนึ่ง เพื่อจะเข้าถึงแหล่งสารสนเทศหรือสารสนเทศด้วยวิธีหรือช่องทางต่างๆ ที่จะนำไปสู่ข้อมูลที่ต้องการ เช่น ดูรายการสารคดีทางโทรทัศน์ เข้าห้องสมุด และเข้าถึงข้อมูลนั้นโดยผ่าน Internet เป็นต้น ซึ่งความต้องการสารสนเทศ และพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดความต้องการสารสนเทศของแต่ละคนนั้นแตกต่างกัน เป็นเพราะเกิดจากภาวะ หรืออุปสรรคที่ทำให้ไม่สามารถแสวงหาสารสนเทศที่ตนต้องการได้ เช่น ภาวะด้านจิตใจ ภาวะแวดล้อม เป็นต้น

ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ

วิลสันเสนอตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศใน ค.. 1981 มีแนวคิดสำคัญดังนี้

1. พฤติกรรมสารสนเทศครอบคลุมพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง 2 ด้านคือ พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการใช้สารสนเทศ

2. พฤติกรรมสารสนเทศของผู้ใช้นั้นมีจุดผลักดันมาจากความต้องการสารสนเทศ (Information need) ซึ่งในตัวแบบเรียกอย่างย่อว่า ความต้องการ

3. เมื่อเกิดความต้องการ ผู้ใช้จึงต้องแสวงหาสารสนเทศ โดยใช้ระบบหรือบริการสารสนเทศต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นระบบอย่างเป็นทางการหรือแหล่งสารสนเทศที่ไม่เป็นทางการ

4. ในกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ นอกจากระบบหรือบริการสารสนเทศแล้ว ผู้ใช้หรือผู้แสวงหาสารสนเทศยังอาจได้สารสนเทศด้วยการแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น (Information exchange) และยังสามารถส่งหรือถ่ายโอนสารสนเทศที่ได้ไปให้ผู้อื่นด้วยเช่นกัน (Information transfer)

5. ผลที่ได้จากการแสวงหาสารสนเทศจากระบบหรือบริการสารสนเทศอาจเป็นความสำเร็จหรือความล้มเหลว นั่นคือ สามารถหาสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของตนหรือหาไม่พบ หากหาไม่พบ อาจต้องย้อนกลับไปค้นหาสารสนเทศอีกครั้ง

6. หลังจากนั้น เมื่อได้สารสนเทศแล้ว จะนำสารสนเทศที่ได้ไปใช้ตามวัตถุประสงค์ ไม่ว่าจะเป็นสารสนเทศที่ได้จากระบบ บริการหรือแหล่งสารสนเทศใดก็ตาม

 

อ้างอิง : http://home.kku.ac.th/hslib/malee/.../TheoryInformationBehavior.pdf

           http://siamfun.files.wordpress.com/2010/01/1information-behavior.ppt

guest profile guest

ความหมายของพฤติกรรมสารสนเทศ

พฤติกรรมสารสนเทศ หมายถึง การกระทำที่บุคคลๆ หนึ่ง สร้างขึ้นเมื่อมีความต้องการที่จะหาข้อมูล ข่าวสารเพื่อสนองความต้องการสารสนเทศของตนเอง ความต้องการสารสนเทศนั้นจะนำไปสู่พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเพื่อช่วยในตัดสินใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเมื่อตัดสินใจในเรื่องนั้นๆ ได้ก็จะไม่ต้องการสารสนเทศนั้นอีก พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศก็จะหายไป

ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ

ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศมีองค์ประกอบ 3 ด้าน คือ

1.บริบทของความต้องการสารสนเทศ

2.อุปสรรคที่ขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศ

3.พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

กระบวนการแสวงหาสารสนเทศมี 8 ขั้นตอน ดังนี้

1.การเริ่มต้น เป็นการเริ่มต้นแสวงหาสารสนเทศ ผู้แสวงหาสารสนเทศอาจเริ่มต้นจากการสอบถามเพื่อนร่วมงานหรือผู้รู้ หรือการอ่านตำราพื้นฐานในเรื่องนั้นๆ

2.การเชื่อมโยงร้อยเรียง เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม โดยอาจเป็นการเชื่อมโยงย้อนหลังหรือการเชื่อมโยงไปข้างหน้า

3.การสำรวจเลือกดู เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้างๆ

4.การแยกแยะ เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้ โดยใช้เกณฑ์ต่างๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อวารสาร เป็นต้น

5.การตรวจตรา เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่ในสาขาวิชาหรือแวดวงวิชาการที่ตนสนใจและคุ้นเคย

6.การดึงสารสนเทศออกมา เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานวิจัย บทความวารสาร หนังสือ เป็นสารสนเทศแบบเฉพาะเจาะจงที่สามารถนำไปใช้ได้ทันที

7.การตรวจสอบ เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของสารสนเทศที่ได้รับ

8.การจบ เป็นการแสวงหาสารสนเทศขั้นสุดท้ายเพื่อเก็บรวบรวมสารสนเทศที่แสวงหาได้ทั้งหมดเข้าด้วยกัน และให้เกิดความแน่ใจว่าได้สารสนเทศในระดับที่ต้องการแล้ว

 

อ้างอิง : http://mba05.50webs.com/sample_research2.doc

http://home.kku.ac.th/hslib/malee/412731/Theory/David_Ellis.doc
chayapa profile chayapa
ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ
การเริ่มต้นstarting
เริ่มต้นกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ
การเชื่อมโยงchaining
เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรโดยอาจเป็นการเชื่อมโยงย้อนหลังคือเชื่อมโยงอ้างอิงหรือบรรณานุกรมหรือการเชื่อมโยงข้างหน้าคือเชื่อมโยงถึงเอกสารที่มีอยู่
การสำรวจเลือกดู browsing
ค้นหาเรื่องที่ต้องการหรือสนใจที่ค้นจากหัวข้อหรือชื่อเรื่องโดยตรง
การแยกแยะ differentiating
แยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้  โดยใช้เกณฑ์ต่างเช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อวารสาร
การตรวจตรา monitoring
ตรวจตราวรรณกรรมเช่นจากรายชื่อหนังสือใหม่ของสำนักพิมพ์ในสาขา
การดึงสารสนเทศออกมาextracting
ดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานการวิจัย บทความวารสารหรือเอกสารประกอบการประชุม มาได้    

อ้างอิง:
1.home.kku.ac.th/hslib/malee/412731/Theory/David_Ellis.doc
5131051541306 ชยาภา  ชาญเวช
guest profile guest

พฤติกรรมสารสนเทศ

พฤติกรรมสารสนเทศ หมายถึง พฤติกรรมต่างๆ ของบุคคลๆ หนึ่ง เพื่อจะเข้าถึงแหล่งสารสนเทศหรือสารสนเทศด้วยวิธีหรือช่องทางต่างๆ ที่จะนำไปสู่ข้อมูลที่ต้องการ ซึ่งความต้องการสารสนเทศ และพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดความต้องการสารสนเทศของแต่ละคนนั้นแตกต่างกัน เป็นเพราะเกิดจากภาวะ หรืออุปสรรคที่ทำให้ไม่สามารถแสวงหาสารสนเทศที่ตนต้องการได้

ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ

1. พฤติกรรมสารสนเทศครอบคลุมพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง 2 ด้านคือ พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการใช้สารสนเทศ

2. พฤติกรรมสารสนเทศของผู้ใช้นั้นมีจุดผลักดันมาจากความต้องการสารสนเทศ (Information need)

3. เมื่อเกิดความต้องการ ผู้ใช้จึงต้องแสวงหาสารสนเทศ โดยใช้ระบบหรือบริการสารสนเทศต่างๆ

4. ในกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ นอกจากระบบหรือบริการสารสนเทศแล้ว ผู้ใช้หรือผู้แสวงหาสารสนเทศยังอาจได้สารสนเทศด้วยการแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น (Information exchange) และยังสามารถส่งหรือถ่ายโอนสารสนเทศที่ได้ไปให้ผู้อื่นด้วยเช่นกัน (Information transfer) 


 

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์(The information seeking behavioral model of  social scientist)  ซึ่งเป็นตัวแบบพื้นฐานที่เอลลิสพัฒนาขึ้นมากจากผลการวิจัยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักวิชาการด้านสังคมศาสตร์ในปี ..1987 และ ..1988 ซึ่งตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์ 
ประกอบด้วย  พฤติกรรม  6 ประการ ได้แก่

1)  การเริ่มต้น (starting)  เป็นการเริ่มต้นกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ 
2) การเชื่อมโยง
(chaining)  เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม
 
3) การสำรวจเลือกดู
(browsing)  เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้าง จึงต้องสำรวจบริการเวียนสารบัญวารสารในสาขาวิชาที่สนใจ เพื่อเลือกดูบทความที่อาจตรงกับความสนใจเฉพาะได้  เป็นการเลือกดูอย่างผ่าน   ซึ่งต่างจากการค้นแบบเฉพาะเจาะจง (specific searching) ที่ค้นจากหัวข้อหรือชื่อเรื่องโดยตรง

4)  การแยกแยะ (differentiating)  เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้  โดยใช้เกณฑ์ต่าง   เช่น  ชื่อผู้แต่ง  ชื่อวารสาร  ฯลฯ  เป็นเกณฑ์เพื่อกรองสารสนเทศที่แสวงหาได้

5)  การตรวจตรา (monitoring)   เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่ในสาขาวิชาหรือแวดวงวิชาการที่ตนสนใจ
6) การดึงสารสนเทศออกมา
(extracting)  เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานการวิจัย บทความวารสาร หนังสือ ฐานข้อมูลดัชนี หรือเอกสารประกอบการประชุม ซึ่งเป็นสารสนเทศเพียงบางส่วนในเอกสารที่สามารถนำไปใช้ได้

 

 

พวา พันธุ์เมฆา,สมพร พุทธาพิทักษ์ผล และ สายลม วุฒิสมบูรณ์ .2548. กระบวนการแสวงหา สารสนเทศของนักศึกษาบัณฑิตศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก

 http://www.stou.ac.th/schools/sla/master/room/upload/mis/Sailom_2548.doc   
 http://home.kku.ac.th/hslib/malee/.../TheoryInformationBehavior.pdf

 http://siamfun.files.wordpress.com/2010/01/1information-behavior.ppt


guest profile guest

พฤติกรรมมสารสนเทศ
พฤติกรรมสารสนเทศ หายถึง พฤติกรรมต่างๆ ของบุคคลๆ หนึ่ง เพื่อจะเข้าถึงแหล่งสารสนเทศหรือสารสนเทศด้วยวิธีหรือช่องทางต่างๆ ที่จะนำไปสู่ข้อมูลที่ต้องการ ซึ่งความต้องการสารสนเทศ และพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดความต้องการสารสนเทศของแต่ละคนนั้นแตกต่างกัน เป็นเพราะเกิดจากภาวะ หรืออุปสรรคที่ทำให้ไม่สามารถแสวงหาสารสนเทศที่ตนต้องการได้
ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ
1. พฤติกรรมสารสนเทศครอบคลุมพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง 2 ด้านคือ พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการใช้สารสนเทศ
2. พฤติกรรมสารสนเทศของผู้ใช้นั้นมีจุดผลักดันมาจากความต้องการสารสนเทศ (Information need)
3. เมื่อเกิดความต้องการ ผู้ใช้จึงต้องแสวงหาสารสนเทศ โดยใช้ระบบหรือบริการสารสนเทศต่างๆ
4. ในกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ นอกจากระบบหรือบริการสารสนเทศแล้ว ผู้ใช้หรือผู้แสวงหาสารสนเทศยังอาจได้สารสนเทศด้วยการแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น (Information exchange) และยังสามารถส่งหรือถ่ายโอนสารสนเทศที่ได้ไปให้ผู้อื่นด้วยเช่นกัน (Information transfer)

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์(The information seeking behavioral model of  social scientist)  ซึ่งเป็นตัวแบบพื้นฐานที่เอลลิสพัฒนาขึ้นมากจากผลการวิจัยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักวิชาการด้านสังคมศาสตร์ในปี ค.ศ.1987 และ ค.ศ.1988 ซึ่งตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ประกอบด้วย  พฤติกรรม  6 ประการ ได้แก่
1) การเริ่มต้น (starting) เป็นการเริ่มต้นกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ
2) การเชื่อมโยง (chaining) เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม
3) การสำรวจเลือกดู (browsing) เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้าง ๆ จึงต้องสำรวจบริการเวียนสารบัญวารสารในสาขาวิชาที่สนใจ เพื่อเลือกดูบทความที่อาจตรงกับความสนใจเฉพาะได้ เป็นการเลือกดูอย่างผ่าน ๆ ซึ่งต่างจากการค้นแบบเฉพาะเจาะจง (specific searching) ที่ค้นจากหัวข้อหรือชื่อเรื่องโดยตรง
4) การแยกแยะ (differentiating) เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้ โดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อวารสาร ฯลฯ เป็นเกณฑ์เพื่อกรองสารสนเทศที่แสวงหาได้
5) การตรวจตรา (monitoring) เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่ในสาขาวิชาหรือแวดวงวิชาการที่ตนสนใจ
6) การดึงสารสนเทศออกมา (extracting) เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานการวิจัย บทความวารสาร หนังสือ ฐานข้อมูลดัชนี หรือเอกสารประกอบการประชุม ซึ่งเป็นสารสนเทศเพียงบางส่วนในเอกสารที่สามารถนำไปใช้ได้

 พวา พันธุ์เมฆา,สมพร พุทธาพิทักษ์ผล และ สายลม วุฒิสมบูรณ์ .2548. กระบวนการแสวงหา สารสนเทศของนักศึกษาบัณฑิตศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก

 http://www.stou.ac.th/schools/sla/master/room/upload/mis/Sailom_2548.doc  
http://home.kku.ac.th/hslib/malee/.../TheoryInformationBehavior.pdf

 http://siamfun.files.wordpress.com/2010/01/1information-behavior.ppt

guest profile guest

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของ David Ellis

                ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์(The information seeking behavioral model of  social scientist)  ซึ่งเป็นตัวแบบพื้นฐานที่เอลลิสพัฒนาขึ้นมากจากผลการวิจัยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักวิชาการด้านสังคมศาสตร์ในปี ค.ศ.1987 และ ค.ศ.1988 ซึ่งตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์  ประกอบด้วย  พฤติกรรม (กิจกรรม) 6 ประการ ได้แก่

1)  การเริ่มต้น (starting)  เป็นการเริ่มต้นกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ  โดยอาจเป็นการทำงานชิ้นใหม่หรือสนใจศึกษาหาความรู้ในเรื่องใหม่  ซึ่งผู้แสวงหาสารสนเทศอาจเริ่มต้นจากการสอบถามเพื่อนร่วมงานหรือผู้รู้ การอ่านตำราพื้นฐานเรื่องนั้น ๆ  เป็นต้น

2)  การเชื่อมโยง (chaining)  เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม  โดยอาจเป็นการเชื่อมโยงย้อนหลัง (backward chaining) คือเชื่อมโยงจากรายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรมในเอกสารที่มีอยู่  หรือการเชื่อมโยงข้างหน้า (forward chaining) คือเชื่อมโยงว่ามีเอกสารใดอ้างถึงเอกสารที่มีอยู่บ้าง

3)  การสำรวจเลือกดู (browsing)  เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้าง ๆ จึงต้องสำรวจบริการเวียนสารบัญวารสารในสาขาวิชาที่สนใจ เพื่อเลือกดูบทความที่อาจตรงกับความสนใจเฉพาะได้  เป็นการเลือกดูอย่างผ่าน ๆ  ซึ่งต่างจากการค้นแบบเฉพาะเจาะจง (specific searching) ที่ค้นจากหัวข้อหรือชื่อเรื่องโดยตรง

4)  การแยกแยะ (differentiating)  เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้  โดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ  เช่น  ชื่อผู้แต่ง  ชื่อวารสาร  ฯลฯ  เป็นเกณฑ์เพื่อกรองสารสนเทศที่แสวงหาได้

5)  การตรวจตรา (monitoring)   เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่ในสาขาวิชาหรือแวดวงวิชาการที่ตนสนใจและคุ้นเคย  เช่น  การติดตามจากรายชื่อหนังสือใหม่ของสำนักพิมพ์ในสาขาวิชานั้น ๆ  การติดตามอ่านวารสารบางรายชื่อทุกฉบับที่ตีพิมพ์ การติดต่อสื่อสารกับนักวิจัยหรือนักวิชาการที่ตนรู้จัก เป็นต้น

6)  การดึงสารสนเทศออกมา (extracting)  เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานการวิจัย บทความวารสาร หนังสือ ฐานข้อมูลดัชนี หรือเอกสารประกอบการประชุม ซึ่งเป็นสารสนเทศเพียงบางส่วนในเอกสารที่สามารถนำไปใช้ได้ทันที เช่น สถิติคำกล่าวหรือคำพูดสำคัญ ผลการศึกษา ผลวิจัย ฯลฯ ผู้แสวงหาสารสนเทศจำเป็นต้องระบุเอกสารที่มีสารสนเทศที่ต้องการเสียก่อน จึงจะสามารถดึงสารสนเทศออกมาได้    

Œ

1

การเริ่มต้น

(starting)



การตรวจตรา

(monitoring)

 

Ž

การสำรวจเลือกดู

(browsing)



การเชื่อมโยง

 (chaining)



การแยกแยะ

(differentiating)

‘

การดึงสารสนเทศออกมา

(extracting)


อ้างอิง home.kku.ac.th/hslib/malee/412731/Theory/David_Ellis.doc

guest profile guest

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์(The information seeking behavioral model of social scientist)  ซึ่งเป็นตัวแบบพื้นฐานที่เอลลิสพัฒนาขึ้นมากจากผลการวิจัยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักวิชาการด้านสังคมศาสตร์ในปี ค.ศ.1987 และ ค.ศ.1988 ซึ่งตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์  ประกอบด้วย  พฤติกรรม (กิจกรรม) 6 ประการ ได้แก่

1)  การเริ่มต้น (starting)  เป็นการเริ่มต้นกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ  โดยอาจเป็นการทำงานชิ้นใหม่หรือสนใจศึกษาหาความรู้ในเรื่องใหม่ ซึ่งผู้แสวงหาสารสนเทศอาจเริ่มต้นจากการสอบถามเพื่อนร่วมงานหรือผู้รู้ การอ่านตำราพื้นฐานเรื่องนั้น ๆ  เป็นต้น

2)  การเชื่อมโยง (chaining)  เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม  โดยอาจเป็นการเชื่อมโยงย้อนหลัง (backward chaining) คือเชื่อมโยงจากรายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรมในเอกสารที่มีอยู่  หรือการเชื่อมโยงข้างหน้า (forward chaining) คือเชื่อมโยงว่ามีเอกสารใดอ้างถึงเอกสารที่มีอยู่บ้าง

3)  การสำรวจเลือกดู (browsing)  เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้าง ๆ จึงต้องสำรวจบริการเวียนสารบัญวารสารในสาขาวิชาที่สนใจ เพื่อเลือกดูบทความที่อาจตรงกับความสนใจเฉพาะได้ เป็นการเลือกดูอย่างผ่าน ๆ ซึ่งต่างจากการค้นแบบเฉพาะเจาะจง (specific searching) ที่ค้นจากหัวข้อหรือชื่อเรื่องโดยตรง

4)  การแยกแยะ (differentiating)  เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้  โดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ  เช่น ชื่อผู้แต่ง  ชื่อวารสาร  ฯลฯ เป็นเกณฑ์เพื่อกรองสารสนเทศที่แสวงหาได้

5)  การตรวจตรา (monitoring)   เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่ในสาขาวิชาหรือแวดวงวิชาการที่ตนสนใจและคุ้นเคย  เช่น การติดตามจากรายชื่อหนังสือใหม่ของสำนักพิมพ์ในสาขาวิชานั้น ๆ การติดตามอ่านวารสารบางรายชื่อทุกฉบับที่ตีพิมพ์ การติดต่อสื่อสารกับนักวิจัยหรือนักวิชาการที่ตนรู้จัก เป็นต้น

6)  การดึงสารสนเทศออกมา (extracting)  เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานการวิจัย บทความวารสาร หนังสือ ฐานข้อมูลดัชนี หรือเอกสารประกอบการประชุม ซึ่งเป็นสารสนเทศเพียงบางส่วนในเอกสารที่สามารถนำไปใช้ได้ทันที เช่น สถิติคำกล่าวหรือคำพูดสำคัญ ผลการศึกษา ผลวิจัย ฯลฯ ผู้แสวงหาสารสนเทศจำเป็นต้องระบุเอกสารที่มีสารสนเทศที่ต้องการเสียก่อน จึงจะสามารถดึงสารสนเทศออกมาได้     


http://www.uppicth.com/uploads/16cb267.jpg


ยกตัวอย่างตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของเอลลิส โดยยกตัวอย่างตามแบบเว็บบราวเซอร์ เช่น การเริ่มต้นจากหน้าเว็บไซต์หน้าหนึ่ง หรือ 2-3 หน้าในไซต์หนึ่ง เพื่ออ่านหรือหาข้อมูลที่สนใจอื่น ๆ ต่อไป (Starting) จากนั้นก็ดูลิงค์หรือเชื่อมโยงต่าง ๆ ที่อยู่ในหน้าเว็บเพจหนึ่ง คือสามารถลิงค์เชื่อมโยงได้ทั้งเดินหน้าและถอยหลัง (Chaining) อ่านหน้าเว็บไซต์แบบสแกนโดยเลือกดูผ่าน ๆ เฉพาะเรื่องที่สนใจก่อน (Browsing)  ทำสัญลักษณ์เพื่อแยกแหล่งทรัพยากรที่สนใจไว้ เพื่อสามารถกลับมาเลือกใช้เพื่ออ้างอิงต่อไปได้ง่าย (Differentiating) บอกรับเป็นสมาชิกหรือรับแจ้งรายการสารสนเทศใหม่ ๆ ทางอีเมล์เพื่อติดตามข่าว (Monitoring) และค้นหาสารสนเทศจากแหล่งที่ต้องการจริง ๆ จากสารสนเทศทั้งหมด เพื่อนำออกมาใช้ (Extracting)


อ้างอิง :: home.kku.ac.th/hslib/malee/412731/Theory
พวา พันธุ์เมฆา,สมพร พุทธาพิทักษ์ผล และ สายลม วุฒิสมบูรณ์ .2548. กระบวนการแสวงหาสารสนเทศของนักศึกษาบัณฑิตศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
http://www.stou.ac.th/schools/sla/master/room/upload/mis/Sailom_2548.doc  

guest profile guest

ตัวแบบพฤติกรรมการสารสนเทศ

 

 

 

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์(The information seeking behavioral model of social scientist) ซึ่งเป็นตัวแบบพื้นฐานที่เอลลิสพัฒนาขึ้นมากจากผลการวิจัยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักวิชาการด้านสังคมศาสตร์ในปี ค..1987 และ ค..1988 ซึ่งตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์ ประกอบด้วย พฤติกรรม (กิจกรรม) 6 ประการ ได้แก่

 

1)

การเริ่มต้น (starting)

เป็นการเริ่มต้นกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ

 

2)

การเชื่อมโยง (chaining)

เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม

 

3)

การสำรวจเลือกดู (browsing)

เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้าง ๆ

 

4)

การแยกแยะ (differentiating)

เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้

 

5)

การตรวจตรา (monitoring)

เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่ในสาขาวิชาหรือแวดวงวิชาการที่ตนสนใจและคุ้นเคย

 

6)

การดึงสารสนเทศออกมา (extracting)

เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานการวิจัย บทความวารสาร หนังสือ ฐานข้อมูลดัชนี หรือเอกสารประกอบการประชุม

อ้างอิง

 

พวา

พันธุ์เมฆา,สมพร พุทธาพิทักษ์ผล และ สายลม วุฒิสมบูรณ์ .2548. กระบวนการแสวงหา

 

สารสนเทศของนักศึกษาบัณฑิตศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

 

. [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก

 

http://www.stou.ac.th/schools/sla/master/room/upload/mis/Sailom_2548.doc

Ellis, David.1997. "Modeling the information seeking patterns of engineering research scientists

in an industrial environment". Journal of Documentation. 53(4) : 385

Meho, Lokman I and Tibbo, Heren R.(2003) "Modeling the Information- Seeking Behavior of

Social Scientists : Ellis’s study revisited". Journal of the American society for

information science and technology

. 54(6) : 571

guest profile guest

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์(The information seeking behavioral model of social scientist)  ซึ่งเป็นตัวแบบพื้นฐานที่เอลลิสพัฒนาขึ้นมากจากผลการวิจัยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักวิชาการด้านสังคมศาสตร์ในปี ค.ศ.1987 และ ค.ศ.1988 ซึ่งตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์  ประกอบด้วย พฤติกรรม (กิจกรรม) 6 ประการ ได้แก่

1)  การเริ่มต้น (starting)  เป็นการเริ่มต้นกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ  โดยอาจเป็นการทำงานชิ้นใหม่หรือสนใจศึกษาหาความรู้ในเรื่องใหม่ ซึ่งผู้แสวงหาสารสนเทศอาจเริ่มต้นจากการสอบถามเพื่อนร่วมงานหรือผู้รู้ การอ่านตำราพื้นฐานเรื่องนั้น ๆ  เป็นต้น

2)  การเชื่อมโยง (chaining)  เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม  โดยอาจเป็นการเชื่อมโยงย้อนหลัง (backward chaining) คือเชื่อมโยงจากรายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรมในเอกสารที่มีอยู่  หรือการเชื่อมโยงข้างหน้า (forward chaining) คือเชื่อมโยงว่ามีเอกสารใดอ้างถึงเอกสารที่มีอยู่บ้าง

3)  การสำรวจเลือกดู (browsing)  เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้าง ๆ จึงต้องสำรวจบริการเวียนสารบัญวารสารในสาขาวิชาที่สนใจ เพื่อเลือกดูบทความที่อาจตรงกับความสนใจเฉพาะได้ เป็นการเลือกดูอย่างผ่าน ๆ ซึ่งต่างจากการค้นแบบเฉพาะเจาะจง (specific searching) ที่ค้นจากหัวข้อหรือชื่อเรื่องโดยตรง

4)  การแยกแยะ (differentiating)  เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้  โดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ  เช่น ชื่อผู้แต่ง  ชื่อวารสาร  ฯลฯ เป็นเกณฑ์เพื่อกรองสารสนเทศที่แสวงหาได้

5)  การตรวจตรา (monitoring)   เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่ในสาขาวิชาหรือแวดวงวิชาการที่ตนสนใจและคุ้นเคย  เช่น การติดตามจากรายชื่อหนังสือใหม่ของสำนักพิมพ์ในสาขาวิชานั้น ๆ การติดตามอ่านวารสารบางรายชื่อทุกฉบับที่ตีพิมพ์ การติดต่อสื่อสารกับนักวิจัยหรือนักวิชาการที่ตนรู้จัก เป็นต้น

6)  การดึงสารสนเทศออกมา (extracting)  เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานการวิจัย บทความวารสาร หนังสือ ฐานข้อมูลดัชนี หรือเอกสารประกอบการประชุม ซึ่งเป็นสารสนเทศเพียงบางส่วนในเอกสารที่สามารถนำไปใช้ได้ทันที เช่น สถิติคำกล่าวหรือคำพูดสำคัญ ผลการศึกษา ผลวิจัย ฯลฯ ผู้แสวงหาสารสนเทศจำเป็นต้องระบุเอกสารที่มีสารสนเทศที่ต้องการเสียก่อน จึงจะสามารถดึงสารสนเทศออกมาได้     

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

 http://www.uppicth.com/uploads/16cb267.jpg   (เข้าไปดูได้)


ยกตัวอย่างตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของเอลลิส โดยยกตัวอย่างตามแบบเว็บบราวเซอร์ เช่น การเริ่มต้นจากหน้าเว็บไซต์หน้าหนึ่ง หรือ 2-3 หน้าในไซต์หนึ่ง เพื่ออ่านหรือหาข้อมูลที่สนใจอื่น ๆ ต่อไป (Starting) จากนั้นก็ดูลิงค์หรือเชื่อมโยงต่าง ๆ ที่อยู่ในหน้าเว็บเพจหนึ่ง คือสามารถลิงค์เชื่อมโยงได้ทั้งเดินหน้าและถอยหลัง (Chaining) อ่านหน้าเว็บไซต์แบบสแกนโดยเลือกดูผ่าน ๆ เฉพาะเรื่องที่สนใจก่อน (Browsing)  ทำสัญลักษณ์เพื่อแยกแหล่งทรัพยากรที่สนใจไว้ เพื่อสามารถกลับมาเลือกใช้เพื่ออ้างอิงต่อไปได้ง่าย (Differentiating)บอกรับเป็นสมาชิกหรือรับแจ้งรายการสารสนเทศใหม่ ๆ ทางอีเมล์เพื่อติดตามข่าว (Monitoring) และค้นหาสารสนเทศจากแหล่งที่ต้องการจริง ๆ จากสารสนเทศทั้งหมด เพื่อนำออกมาใช้(Extracting)


อ้างอิง :: home.kku.ac.th/hslib/malee/412731/Theory
พวา พันธุ์เมฆา,สมพร พุทธาพิทักษ์ผล และ สายลม วุฒิสมบูรณ์ .2548. กระบวนการแสวงหาสารสนเทศของนักศึกษาบัณฑิตศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
http://www.stou.ac.th/schools/sla/master/room/upload/mis/Sailom_2548.doc  

guest profile guest

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของ David Ellis

 

                ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์(The information seeking behavioral model of  social scientist)  ซึ่งเป็นตัวแบบพื้นฐานที่เอลลิสพัฒนาขึ้นมากจากผลการวิจัยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักวิชาการด้านสังคมศาสตร์ในปี ค.ศ.1987 และ ค.ศ.1988 ซึ่งตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์  ประกอบด้วย  พฤติกรรม (กิจกรรม) 6 ประการ ได้แก่

1)  การเริ่มต้น (starting)  เป็นการเริ่มต้นกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ  โดยอาจเป็นการทำงานชิ้นใหม่หรือสนใจศึกษาหาความรู้ในเรื่องใหม่  ซึ่งผู้แสวงหาสารสนเทศอาจเริ่มต้นจากการสอบถามเพื่อนร่วมงานหรือผู้รู้ การอ่านตำราพื้นฐานเรื่องนั้น ๆ  เป็นต้น

2)  การเชื่อมโยง (chaining)  เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม  โดยอาจเป็นการเชื่อมโยงย้อนหลัง (backward chaining) คือเชื่อมโยงจากรายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรมในเอกสารที่มีอยู่  หรือการเชื่อมโยงข้างหน้า (forward chaining) คือเชื่อมโยงว่ามีเอกสารใดอ้างถึงเอกสารที่มีอยู่บ้าง

3)  การสำรวจเลือกดู (browsing)  เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้าง ๆ จึงต้องสำรวจบริการเวียนสารบัญวารสารในสาขาวิชาที่สนใจ เพื่อเลือกดูบทความที่อาจตรงกับความสนใจเฉพาะได้  เป็นการเลือกดูอย่างผ่าน ๆ  ซึ่งต่างจากการค้นแบบเฉพาะเจาะจง (specific searching) ที่ค้นจากหัวข้อหรือชื่อเรื่องโดยตรง

4)  การแยกแยะ (differentiating)  เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้  โดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ  เช่น  ชื่อผู้แต่ง  ชื่อวารสาร  ฯลฯ  เป็นเกณฑ์เพื่อกรองสารสนเทศที่แสวงหาได้

5)  การตรวจตรา (monitoring)   เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่ในสาขาวิชาหรือแวดวงวิชาการที่ตนสนใจและคุ้นเคย  เช่น  การติดตามจากรายชื่อหนังสือใหม่ของสำนักพิมพ์ในสาขาวิชานั้น ๆ  การติดตามอ่านวารสารบางรายชื่อทุกฉบับที่ตีพิมพ์ การติดต่อสื่อสารกับนักวิจัยหรือนักวิชาการที่ตนรู้จัก เป็นต้น

6)  การดึงสารสนเทศออกมา (extracting)  เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานการวิจัย บทความวารสาร หนังสือ ฐานข้อมูลดัชนี หรือเอกสารประกอบการประชุม ซึ่งเป็นสารสนเทศเพียงบางส่วนในเอกสารที่สามารถนำไปใช้ได้ทันที เช่น สถิติคำกล่าวหรือคำพูดสำคัญ ผลการศึกษา ผลวิจัย ฯลฯ ผู้แสวงหาสารสนเทศจำเป็นต้องระบุเอกสารที่มีสารสนเทศที่ต้องการเสียก่อน จึงจะสามารถดึงสารสนเทศออกมาได้    

 

 

 

 

 

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

Œ

1

การเริ่มต้น

(starting)



การตรวจตรา

(monitoring)

Ž

การสำรวจเลือกดู

(browsing)



การเชื่อมโยง

 (chaining)



การแยกแยะ

(differentiating)

‘

การดึงสารสนเทศออกมา

(extracting)


1

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                ลักษณะสำคัญประการหนึ่งของตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของเอลลิสที่เป็นจุดแข็ง ก็คือ มีความสอดคล้องกับตัวแบบของคนอื่น ๆ เช่น Kuhthau ที่คล้ายคลึงกันในรูปแบบของพฤติกรรม/กิจกรรมที่มีความหลากหลายที่นำไปใช้ในกระบวนการแสวงหา ค้นหาสารสนเทศ ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของเอลลิส เป็นตัวแบบที่สำคัญ เพราะว่า เป็นตัวแบบพื้นฐานของ การวิจัยเชิงทดลอง และถูกนำไปใช้ในการศึกษาหลาย ๆ สาขา และหลากหลายกลุ่มผู้ใช้ การจำแนกพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของเอลลิส ระหว่างนักสังคมศาสตร์ ได้แนะนำว่า ระบบการค้นคืนสารสนเทศน่าจะเป็นประโยชน์มากขึ้น โดยรวมถึงลักษณะของพฤติกรรม/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวแบบนี้โดยตรง

                ยกตัวอย่างตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของเอลลิส โดยยกตัวอย่างตามแบบเว็บบราวเซอร์ เช่น การเริ่มต้นจากหน้าเว็บไซต์หน้าหนึ่ง หรือ 2-3 หน้าในไซต์หนึ่ง เพื่ออ่านหรือหาข้อมูลที่สนใจอื่น ๆ ต่อไป (Starting)  จากนั้นก็ดูลิงค์หรือเชื่อมโยงต่าง ๆ ที่อยู่ในหน้าเว็บเพจหนึ่ง คือสามารถลิงค์เชื่อมโยงได้ทั้งเดินหน้าและถอยหลัง (Chaining) อ่านหน้าเว็บไซต์แบบสแกนโดยเลือกดูผ่าน ๆ เฉพาะเรื่องที่สนใจก่อน (Browsing)  ทำสัญลักษณ์เพื่อแยกแหล่งทรัพยากรที่สนใจไว้ เพื่อสามารถกลับมาเลือกใช้เพื่ออ้างอิงต่อไปได้ง่าย (Differentiating) บอกรับเป็นสมาชิกหรือรับแจ้งรายการสารสนเทศใหม่ ๆ ทางอีเมล์เพื่อติดตามข่าว (Monitoring) และค้นหาสารสนเทศจากแหล่งที่ต้องการจริง ๆ จากสารสนเทศทั้งหมด เพื่อนำออกมาใช้ (Extracting)


อ้างอิง

พวา พันธุ์เมฆา,สมพร พุทธาพิทักษ์ผล และ สายลม วุฒิสมบูรณ์ .2548. กระบวนการแสวงหา

สารสนเทศของนักศึกษาบัณฑิตศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก

               http://www.stou.ac.th/schools/sla/master/room/upload/mis/Sailom_2548.doc  

Ellis, David.1997. “Modeling the information seeking patterns of engineering research scientists

                in an industrial environment”. Journal of Documentation. 53(4) : 385

Meho, Lokman I and Tibbo, Heren R.(2003) “Modeling the Information- Seeking Behavior of  

Social Scientists : Ellis’s study revisited”. Journal of the American society for

information science and technology. 54(6) : 571

 

 

 

 

guest profile guest

ตัวแบบพฤติกรรมการสารสนเทศ

 

 

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์(The information seeking behavioral model of social scientist) ซึ่งเป็นตัวแบบพื้นฐานที่เอลลิสพัฒนาขึ้นมากจากผลการวิจัยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักวิชาการด้านสังคมศาสตร์ในปี ค..1987 และ ค..1988 ซึ่งตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์ ประกอบด้วย พฤติกรรม (กิจกรรม) 6 ประการ ได้แก่

1) การเริ่มต้น (starting) เป็นการเริ่มต้นกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ
2) การเชื่อมโยง (chaining)
เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม
3) การสำรวจเลือกดู (browsing)
เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้าง ๆ
4) การแยกแยะ (differentiating)
เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้
5) การตรวจตรา (monitoring)
เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่ในสาขาวิชาหรือแวดวงวิชาการที่ตนสนใจและคุ้นเคย
6) การดึงสารสนเทศออกมา (extracting)
เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานการวิจัย บทความวารสาร หนังสือ ฐานข้อมูลดัชนี หรือเอกสารประกอบการประชุม

อ้างอิง
พวาพันธุ์เมฆา,สมพร พุทธาพิทักษ์ผล และ สายลม วุฒิสมบูรณ์ .2548. กระบวนการแสวงหา สารสนเทศของนักศึกษาบัณฑิตศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก
http://www.stou.ac.th/schools/sla/master/room/upload/mis/Sailom_2548.doc Ellis, David.1997. "Modeling the information seeking patterns of engineering research scientists in an industrial environment". Journal of Documentation. 53(4) : 385Meho, Lokman I and Tibbo, Heren R.(2003) "Modeling the Information- Seeking Behavior of Social Scientists : Ellis’s study revisited". Journal of the American society for information science and technology. 54(6) : 571

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

guest profile guest

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

       ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศมีองค์ประกอบสำคัญ 3 ด้าน คือ บริบทของความต้องการสารสนเทศ อุปสรรคที่ขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ โดยแนวคิดสำคัญ คือ

1 พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเกิดจากความต้องการสารสนเทศ ซึ่งมีบริบทเฉพาะตัวผู้แสวงหาสารสนเทศ ซึ่งแต่ละคนจะมีลักษณะแตกต่างกันในด้านต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อม ความสนใจเฉพาะตัว และความตั้งใจ เป็นต้น

2   อุปสรรคที่ขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศ เช่น อุปสรรคในการเข้าถึงสารสนเทศ พื้นความรู้ของผู้แสวงหาสารสนเทศ ตำแหน่งและหน้าที่การงานของผู้แสวงหาสารสนเทศ

3  พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ประกอบด้วยกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ 8 ขั้นตอน โดยขั้นตอนเหล่านี้ไม่จำเป็นเกิดขึ้นนับแต่ขั้นแรกไปจนขั้นสุดท้ายตามลำดับก็ได้ คือ

3.1      การเริ่มต้น เป็นการเริ่มต้นแสวงหาสารสนเทศ ผู้แสวงหาสารสนเทศอาจเริ่มต้นจากการสอบถามเพื่อนร่วมงานหรือผู้รู้ หรือการอ่านตำราพื้นฐานในเรื่องนั้นๆ

3.2      การเชื่อมโยงร้อยเรียง เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม โดยอาจเป็นการเชื่อมโยงย้อนหลังหรือการเชื่อมโยงไปข้างหน้า

3.3      การสำรวจเลือกดู เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้างๆ

3.4      การแยกแยะ เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้ โดยใช้เกณฑ์ต่างๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อวารสาร เป็นต้น

3.5      การตรวจตรา เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่ในสาขาวิชาหรือแวดวงวิชาการที่ตนสนใจและคุ้นเคย

3.6      การดึงสารสนเทศออกมา เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานวิจัย บทความวารสาร หนังสือ เป็นสารสนเทศแบบเฉพาะเจาะจงที่สามารถนำไปใช้ได้ทันที

3.7      การตรวจสอบ เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของสารสนเทศที่ได้รับ

3.8      การจบ เป็นการแสวงหาสารสนเทศขั้นสุดท้ายเพื่อเก็บรวบรวมสารสนเทศที่แสวงหาได้ทั้งหมดเข้าด้วยกัน และให้เกิดความแน่ใจว่าได้สารสนเทศในระดับที่ต้องการ


 

อ้างอิง
(สมพร 2545 : 58-60)

สมพร  พุทธาพิทักษ์ผล  “ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ”  ในประมวลสาระชุด

  วิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ เล่ม 1 หน่วยที่ 2  นนทบุรี  สาขาวิชาศิลปศาสตร์ 

  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  2545

mba05.50webs.com/sample_research2.doc

1531051541329 ภูษิต ภู่สุด

guest profile guest

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

       ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศมีองค์ประกอบสำคัญ 3 ด้าน คือ บริบทของความต้องการสารสนเทศ อุปสรรคที่ขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ โดยแนวคิดสำคัญ คือ

1 พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเกิดจากความต้องการสารสนเทศ ซึ่งมีบริบทเฉพาะตัวผู้แสวงหาสารสนเทศ ซึ่งแต่ละคนจะมีลักษณะแตกต่างกันในด้านต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อม ความสนใจเฉพาะตัว และความตั้งใจ เป็นต้น

2   อุปสรรคที่ขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศ เช่น อุปสรรคในการเข้าถึงสารสนเทศ พื้นความรู้ของผู้แสวงหาสารสนเทศ ตำแหน่งและหน้าที่การงานของผู้แสวงหาสารสนเทศ

3  พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ประกอบด้วยกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ 8 ขั้นตอน โดยขั้นตอนเหล่านี้ไม่จำเป็นเกิดขึ้นนับแต่ขั้นแรกไปจนขั้นสุดท้ายตามลำดับก็ได้ คือ

3.1      การเริ่มต้น เป็นการเริ่มต้นแสวงหาสารสนเทศ ผู้แสวงหาสารสนเทศอาจเริ่มต้นจากการสอบถามเพื่อนร่วมงานหรือผู้รู้ หรือการอ่านตำราพื้นฐานในเรื่องนั้นๆ

3.2      การเชื่อมโยงร้อยเรียง เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม โดยอาจเป็นการเชื่อมโยงย้อนหลังหรือการเชื่อมโยงไปข้างหน้า

3.3      การสำรวจเลือกดู เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้างๆ

3.4      การแยกแยะ เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้ โดยใช้เกณฑ์ต่างๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อวารสาร เป็นต้น

3.5      การตรวจตรา เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่ในสาขาวิชาหรือแวดวงวิชาการที่ตนสนใจและคุ้นเคย

3.6      การดึงสารสนเทศออกมา เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานวิจัย บทความวารสาร หนังสือ เป็นสารสนเทศแบบเฉพาะเจาะจงที่สามารถนำไปใช้ได้ทันที

3.7      การตรวจสอบ เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของสารสนเทศที่ได้รับ

3.8      การจบ เป็นการแสวงหาสารสนเทศขั้นสุดท้ายเพื่อเก็บรวบรวมสารสนเทศที่แสวงหาได้ทั้งหมดเข้าด้วยกัน และให้เกิดความแน่ใจว่าได้สารสนเทศในระดับที่ต้องการ


 ความหมายของพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
วามหมายของพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศไว้ว่า พฤติ-กรรมการแสวงหาสารสนเทศ หมายถึง กิจกรรมหรือปฏิสัมพันธ์ที่บุคคลกระทำเพื่อแสวงหาสารสนเทศมีจุดมุ่งหมายเพื่อสนองความต้องการบางประการของผู้แสวงหา

อ้างอิง
(
สมพร 2545 : 58-60)

สมพร  พุทธาพิทักษ์ผล  “ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ”  ในประมวลสาระชุด

  วิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ เล่ม 1 หน่วยที่ นนทบุรี  สาขาวิชาศิลปศาสตร์ 

  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  2545

mba05.50webs.com/sample_research2.doc

1531051541329
ภูษิต ภู่สุด

 

guest profile guest

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

       ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศมีองค์ประกอบสำคัญ 3 ด้าน คือ บริบทของความต้องการสารสนเทศ อุปสรรคที่ขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ โดยแนวคิดสำคัญ คือ

1 พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเกิดจากความต้องการสารสนเทศ ซึ่งมีบริบทเฉพาะตัวผู้แสวงหาสารสนเทศ ซึ่งแต่ละคนจะมีลักษณะแตกต่างกันในด้านต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อม ความสนใจเฉพาะตัว และความตั้งใจ เป็นต้น

2   อุปสรรคที่ขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศ เช่น อุปสรรคในการเข้าถึงสารสนเทศ พื้นความรู้ของผู้แสวงหาสารสนเทศ ตำแหน่งและหน้าที่การงานของผู้แสวงหาสารสนเทศ

3  พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ประกอบด้วยกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ 8 ขั้นตอน โดยขั้นตอนเหล่านี้ไม่จำเป็นเกิดขึ้นนับแต่ขั้นแรกไปจนขั้นสุดท้ายตามลำดับก็ได้ คือ

3.1      การเริ่มต้น เป็นการเริ่มต้นแสวงหาสารสนเทศ ผู้แสวงหาสารสนเทศอาจเริ่มต้นจากการสอบถามเพื่อนร่วมงานหรือผู้รู้ หรือการอ่านตำราพื้นฐานในเรื่องนั้นๆ

3.2      การเชื่อมโยงร้อยเรียง เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม โดยอาจเป็นการเชื่อมโยงย้อนหลังหรือการเชื่อมโยงไปข้างหน้า

3.3      การสำรวจเลือกดู เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้างๆ

3.4      การแยกแยะ เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้ โดยใช้เกณฑ์ต่างๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อวารสาร เป็นต้น

3.5      การตรวจตรา เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่ในสาขาวิชาหรือแวดวงวิชาการที่ตนสนใจและคุ้นเคย

3.6      การดึงสารสนเทศออกมา เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานวิจัย บทความวารสาร หนังสือ เป็นสารสนเทศแบบเฉพาะเจาะจงที่สามารถนำไปใช้ได้ทันที

3.7      การตรวจสอบ เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของสารสนเทศที่ได้รับ

3.8      การจบ เป็นการแสวงหาสารสนเทศขั้นสุดท้ายเพื่อเก็บรวบรวมสารสนเทศที่แสวงหาได้ทั้งหมดเข้าด้วยกัน และให้เกิดความแน่ใจว่าได้สารสนเทศในระดับที่ต้องการ


 ความหมายของพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ 
วามหมายของพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศไว้ว่า พฤติ-กรรมการแสวงหาสารสนเทศ หมายถึง กิจกรรมหรือปฏิสัมพันธ์ที่บุคคลกระทำเพื่อแสวงหาสารสนเทศมีจุดมุ่งหมายเพื่อสนองความต้องการบางประการของผู้แสวงหา

อ้างอิง
(
สมพร 2545 : 58-60)

สมพร  พุทธาพิทักษ์ผล  “ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ”  ในประมวลสาระชุด

  วิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ เล่ม 1 หน่วยที่ นนทบุรี  สาขาวิชาศิลปศาสตร์ 

  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  2545

mba05.50webs.com/sample_research2.doc

1531051541329
ภูษิต ภู่สุด

 

guest profile guest
1. ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ
วิลสันเสนอตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศใน ค.ศ. 1981 ตัวแบบนี้มีพื้นฐานจากผลการ
ศึกษาวิจัยผู้ใช้สารสนเทศนับแต่ช่วงหลังสงครามครั้งที่สองในประเทศตะวันตกและการศึกษาวิจัย
ของวิลสันเอง ส่วนใหญ่ผู้ใช้ที่ศึกษาเป็นกลุ่มนักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยในสถาบันการศึกษาและ
สถาบันวิจัย และแหล่งสารสนเทศสำคัญได้แก่ห้องสมุดนั่นเอง
ตัวแบบพฤตกรรมสารสนเทศของวิลสันมีแนวคิดสำคัญดังนี้
1.1 พฤติกรรมสารสนเทศครอบคลุมพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวข้อง 2
ด้านคือ พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการใช้สารสนเทศ
1.2 พฤติกรรมสารสนเทศของผู้ใช้นั้นมีจุดผลักดันมาจากความต้องการสารสนเทศ
(Information need) ซึ่งในตัวแบบเรียกอย่างย่อว่า “ความต้องการ ”
1.3 เมื่อเกิดความต้องการ ผู้ใช้จึงต้องแสวงหาสารสนเทศ โดยใช้ระบบหรือบริการ
สารสนเทศต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นระบบอย่างเป็นทางการหรือแหล่งสารสนเทศที่ไม่เป็นทางการ
1.4 ในกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ นอกจากระบบหรือบริการสารสนเทศแล้ว ผู้ใช้
หรือผู้แสวงหาสารสนเทศยังอาจได้สารสนเทศด้วยการแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น ( Information exchange)
และยังสามารถส่งหรือถ่ายโอนสารสนเทศที่ได้ไปให้ผู้อื่นด้วยเช่นกัน ( Information transfer)
1.5 ผลที่ได้จากการแสวงหาสารสนเทศจากระบบหรือบริการสารสนเทศอาจเป็น
ความสำเร็จหรือความล้มเหลว นั่นคือ สามารถหาสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของตน
หรือหาไม่พบ หากหาไม่พบ อาจต้องย้อนกลับไปค้นหาสารสนเทศอีกครั้ง
1.6 หลังจากนั้น เมื่อได้สารสนเทศแล้ว จะนำสารสนเทศที่ได้ไปใช้ตามวัตถุประสงค์
ไม่ว่าจะเป็นสารสนเทศที่ได้จากระบบ บริการหรือแหล่งสารสนเทศใดก็ตาม
2. ตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศ
ใน ค.ศ. 1997 วิลสันได้ตีพิมพ์เผยแพร่ผลการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมสารสนเทศ ซึ่งได้นำ
ทฤษฎีและแนวคิดของสาขาวิชาต่างๆ เช่น นิเทศศาสตร์ จิตวิทยา การวิจัยผู้บริโภค เป็นต้น
มาปรับปรุงตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศของเขา โดยได้ขยายและอธิบายพฤติกรรมสารสนเทศเพิ่มขึ่น
จากเดิม เขาเรียกตัวแบบใหม่นี้ว่า “ ตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศ ” ( the general model of
information behaviour) เพื่อให้เป็นตัวแบบของพฤติกรรมสารสนเทศในเชิงมหภาค และอธิบายการ
ค้นหาสารสนเทศทั้งจากระบบสารสนเทศในสถาบันบริการสารสนเทศ และจากแหล่งอื่นๆ เช่น
การได้รับสารสนเทศจากสื่อมวลชน เป็นต้นตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศมีลักษณะสำคัญ คือ
2.1 จุดเริ่มต้นที่นำไปสู่พฤติกรรมสารสนเทศ คือ “ ความต้องการสารสนเทศ ” โดยเน้น
ความต้องการของบุคคลผู้แสวงหาสารสนเทศนั้นๆ หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นความต้องการสารสนเทศ
ในบริบทของผู้แสวงหาสารสนเทศ ( person-in-context ) นั่นเอง
2.2 ความแตกต่างระหว่างตัวแบบทั่วไปและตัวแบบเดิของวิลสัน ที่สำคัญประการหนึ่ง คือ
ตัวแบบทั่วไประบุถึง “ ตัวแปรแทรกซ้อน ” ( intervening variable )
โดยถือว่าตัวแปรเหล่านี้อาจสนับสนุนหรือเป็นอุปสรรคต่อการแสวงหาสารสนเทศก็ได้
ตัวแปรแทรกซ้อนแบ่งออกเป็นหลายด้าน คือ
2.2.1 คุณลักษณะเฉพาะบุคคล ( personal characteristic)
เช่น ปัจจัยหรือคุณลักษณะด้านอารมณ์ ด้านพุทธิพิสัยหรือปัญญา ( cognitive )
ระดับการศึกษา และพื้นความรู้ของผู้แสวงหาสารสนเทศ เป็นต้น
2.2.2 ตัวแปรด้านประชากร ( demographic variable ) เช่น อายุ เพศ เป็นต้น
2.2.3 ตัวแปรเชิงสังคมหรือระหว่างบุคคล ( social/interpersonal variable)
ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับการแสวงหาสารสนเทศจากบุคคลอื่นในสังคม เช่น ทัศนคติของผู้ให้บริการสารสนเทส
ลักษระการทำงานที่มีการแข่งขันระหว่างเพื่อนร่วมมือ เป็นต้น
2.2.4 ตัวแปรด้านสิ่งแวดล้อม ( environmental variable )
เช่น เวลาที่ใช้ในการแสวงหาสารสนเทศ วัฒนธรรมซึ่งสะท้อนความเชื่อพื้นฐานของบุคคล เป็นต้น
2.2.5 คุณลักษณะของแหล่งสารสนเทศ ( information source characteris)
เช่น การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ ความน่าเชื่อถือของแหล่งสารสนเทศ เป็นต้น
2.3 การนำทฤษฎีด้านจิตวิทยาและพฤติกรรมศาสตร์ที่สำคัญ 3 ด้านมาอธิบายกลไกในการ
ก่อหรือกระตุ้นให้เกิดการแสวงหาสารสนเทศ ( stress/coping theory)
ทฤษฎีความเสี่ยงและรางวัล(risk/reward theory) และ ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
(social learning theory)
2.3.1 ทฤษฎีด้านความเครียดและการเผชิญปัญหา เกี่ยวข้องกับความต้องการ
สารสนเทศความเครียดอาจเป็นภาวะที่สัมพันธ์กับความต้องการสารสนเทศ เช่น ความเครียดที่เกิด
จากการไม่สามารถอธิบายเหตุผลแห่งความเจ็บป่วยของตนนับเป็นสิ่งผลักดันหับุคคลต้องเผชิญ
ปัญหา นั่นคือต้องแสวงหาสารสนเทศเพื่ออธิบายความเจ็บป่วยของตนและสาเหตุของความเจ็บป่วยได้
2.3.2 ทฤษฎีความเสี่ยงและรางวัล เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
เช่น ในการแสวงหาสารสนเทศ มีค่าใช้จ่ายในการแสวงหาสารสนเทศซึ่งนับเป็นความเสี่ยงประเภท
หนึ่ง บุคคลจึงต้องประเมินว่าค่าใช้จ่ายนั้น “คุ้ม” กับรางวัลหรือประโยชน์ที่จะได้รับหรือไม่ อย่างไร
2.3.3 ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
เช่นกัน โดยเฉพาะการรับรู้สมรรถนะของตนเอง ( perceived self-efficacy)
ซึ่งสัมพันธ์กับการเผชิญปัญหา บุคคลหนึ่งจะสามารถเผชิญปัญหาได้ดีเพียงไรขึ้นกับการรับรู้สมรรถนะของตนเอง
หากเป็นผู้ที่รับรู้สมรรถนะของตนเองในระดับสูงย่อมสามารถเผชิญปัญหาได้อย่างดี เช่น เมื่อเกิดเจ็บป่วย
จะสามารถแสวงหาสารสนเทศเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของตนด้วยวิธีต่างๆ และจากแหล่งต่างๆ ได้เป็น
อย่างดี ไม่ว่าจะเป็นการแสวงหาสารสนเทศด้วยตนเอง การเรียนรู้แสวงหาสารสนเทศจากผู้อื่น
หรือการเรียนรู้ด้วยตนเองก็ตาม
2.4 พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ พฤติกรรมนี้ครอบคลุมทั้งการแสวงหาสารสนเทศที่
ตนริเริ่ม ( active) เช่น การค้นหาสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต และที่ตนมิได้ริเริ่มเอง ( passive)
โดยแบ่งพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศออกเป็น 4 ประเภทคือ
2.4.1 การตั้งใจที่ตนมิได้ริเริ่ม ( passive attention ) เช่น การได้รับสารสนเทศจาก
รายการสารคดีทางวิทยุที่ตนฟังอยู่ แม้ว่าอาจไม่มีเจตนาที่จะแสวงหาสารสนเทศ แต่ถือว่าเกิดการ
ได้รับสารสนเทศขึ้น
2.4.2 การค้นโดยตนมิได้ริเริ่ม ( passive search ) หมายถึงการที่บุคคลหนึ่งได้รับ
สารสนเทศเรื่องหนึ่ง ในขณะที่กำลังค้นหาสารสนเทศอีกเรื่องหนึ่ง ดังนั้น สารสนเทศที่ได้รับไม่ใช่
ที่ตนตั้งใจไว้ แต่ถือได้รับสารสนเทศเช่นกัน
2.4.3 การค้นที่ตนริเริ่มขึ้น ( active search) หมายถึง การที่บุคคลหนึ่งมุ่งค้นหา
สารสนเทศจากระบบสารสนเทศในสถาบันบริการสารสนเทศหรือจากบริการสารสนเทศต่างๆ
โดยทั่วไปการศึกษาวิจัยในสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์นั้นให้ความสนใจที่การแสวงหาสารสนเทศ
ประเภทนี้ เพราะถือว่าเป็นพฤติกรรมสำคัญในการใช้ระบบสารสนเทศหรือบริการในสถาบันบริการสารสนเทส
2.4.4 การค้นที่ดำเนินการอยู่ ( ongoing search ) เป็นการค้นหาสารสนเทศในเรื่องที่
ผู้ค้นหรือผู้แสวงหาสารสนเทศมีความรู้หรือสารสนเทศอยู่แล้ว เพียงแต่ต้องการแสวงหาสารสนเทศ
เพิ่มเติมเฉพาะด้าน เช่น เฉพาะเรื่องใหม่ หรือรายละเอียดเฉพาะเจาะจงที่ขาดหายไปเพิ่มเติมเท่านั้น
2.5 การประมวลและใช้สารสนเทศ ( information processing and use)
คือ การนำสารสนเทสที่ค้นคืนได้มาคัดเลือก รวบรวม จัดเรียง หรือกระทำด้วยวิธีใด เพื่อให้สามารถนำสารสนเทศนั้นมา
ผนวกเข้าเป็นความรู้ของผู้แสวงหาสารสนเทศ เช่น การขีดเส้นใต้ข้อความสำคัญในเอกสารที่ค้นคืน
ได้ เพื่อระบุความสำคัญและทำให้สามารถนำข้อความนั้นไปใช้ในรายงานที่จะจัดทำขึ้นต่อไป เป็นต้น

โดยสรุป วิลสันได้นำเสนอแนวคิดและทฤษฎีในการทำความเข้าใจถึงพฤติกรรมสารสนเทส
ในเชิงมหภาค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการแสวงหาและการใช้สารสนเทศ โดยเน้นที่ผู้ใช้เป็นสำคัญ เขาถือว่า
พฤติกรรมสารสนเทศเป็นผลมาจากความต้องการสารสนเทศ ซึ่งเป็นนามธรรมและสัมพันฑ์กับ
บริบทต่างๆ เช่น สภาวะทางอารมณ์ สภาวะทางพุทธิพิสัยหรือทางปัญญา เป็นต้น ขณะเดียวกัน
เมื่อเกิดความต้องการสารสนเทศขึ้น มิได้หมายความว่า ผู้ใช้ทุกคนจะต้องแสวงหาสารสนเทศเสมอไป
เพราะอาจเกิดกลไกหรือภาวะที่สนับสนุนหรือเป็นอุปสรรคต่อการแสวงหาสารสนเทศ
นอกจากนี้การแสวงหาสารสนเทศนั้นอาจเป็นทั้งที่ผู้ริเริ่มด้วยตนเองหรือมิได้ริเริ่มด้วยตนเองด้วย
และท้ายที่สุด เมื่อค้นหาสารสนเทศได้ ย่อมต้องมีการประมวลและการใช้สารสนเทศเพื่อสนองความ
ต้องการสารสนเทศนั่นเอง
guest profile guest
1. ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ
วิลสันเสนอตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศใน ค.ศ. 1981 ตัวแบบนี้มีพื้นฐานจากผลการ
ศึกษาวิจัยผู้ใช้สารสนเทศนับแต่ช่วงหลังสงครามครั้งที่สองในประเทศตะวันตกและการศึกษาวิจัย
ของวิลสันเอง ส่วนใหญ่ผู้ใช้ที่ศึกษาเป็นกลุ่มนักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยในสถาบันการศึกษาและ
สถาบันวิจัย และแหล่งสารสนเทศสำคัญได้แก่ห้องสมุดนั่นเอง
ตัวแบบพฤตกรรมสารสนเทศของวิลสันมีแนวคิดสำคัญดังนี้
1.1 พฤติกรรมสารสนเทศครอบคลุมพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวข้อง 2
ด้านคือ พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการใช้สารสนเทศ
1.2 พฤติกรรมสารสนเทศของผู้ใช้นั้นมีจุดผลักดันมาจากความต้องการสารสนเทศ
(Information need) ซึ่งในตัวแบบเรียกอย่างย่อว่า “ความต้องการ ”
1.3 เมื่อเกิดความต้องการ ผู้ใช้จึงต้องแสวงหาสารสนเทศ โดยใช้ระบบหรือบริการ
สารสนเทศต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นระบบอย่างเป็นทางการหรือแหล่งสารสนเทศที่ไม่เป็นทางการ
1.4 ในกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ นอกจากระบบหรือบริการสารสนเทศแล้ว ผู้ใช้
หรือผู้แสวงหาสารสนเทศยังอาจได้สารสนเทศด้วยการแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น ( Information exchange)
และยังสามารถส่งหรือถ่ายโอนสารสนเทศที่ได้ไปให้ผู้อื่นด้วยเช่นกัน ( Information transfer)
1.5 ผลที่ได้จากการแสวงหาสารสนเทศจากระบบหรือบริการสารสนเทศอาจเป็น
ความสำเร็จหรือความล้มเหลว นั่นคือ สามารถหาสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของตน
หรือหาไม่พบ หากหาไม่พบ อาจต้องย้อนกลับไปค้นหาสารสนเทศอีกครั้ง
1.6 หลังจากนั้น เมื่อได้สารสนเทศแล้ว จะนำสารสนเทศที่ได้ไปใช้ตามวัตถุประสงค์
ไม่ว่าจะเป็นสารสนเทศที่ได้จากระบบ บริการหรือแหล่งสารสนเทศใดก็ตาม
2. ตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศ
ใน ค.ศ. 1997 วิลสันได้ตีพิมพ์เผยแพร่ผลการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมสารสนเทศ ซึ่งได้นำ
ทฤษฎีและแนวคิดของสาขาวิชาต่างๆ เช่น นิเทศศาสตร์ จิตวิทยา การวิจัยผู้บริโภค เป็นต้น
มาปรับปรุงตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศของเขา โดยได้ขยายและอธิบายพฤติกรรมสารสนเทศเพิ่มขึ่น
จากเดิม เขาเรียกตัวแบบใหม่นี้ว่า “ ตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศ ” ( the general model of
information behaviour) เพื่อให้เป็นตัวแบบของพฤติกรรมสารสนเทศในเชิงมหภาค และอธิบายการ
ค้นหาสารสนเทศทั้งจากระบบสารสนเทศในสถาบันบริการสารสนเทศ และจากแหล่งอื่นๆ เช่น
การได้รับสารสนเทศจากสื่อมวลชน เป็นต้นตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศมีลักษณะสำคัญ คือ
2.1 จุดเริ่มต้นที่นำไปสู่พฤติกรรมสารสนเทศ คือ “ ความต้องการสารสนเทศ ” โดยเน้น
ความต้องการของบุคคลผู้แสวงหาสารสนเทศนั้นๆ หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นความต้องการสารสนเทศ
ในบริบทของผู้แสวงหาสารสนเทศ ( person-in-context ) นั่นเอง
2.2 ความแตกต่างระหว่างตัวแบบทั่วไปและตัวแบบเดิของวิลสัน ที่สำคัญประการหนึ่ง คือ
ตัวแบบทั่วไประบุถึง “ ตัวแปรแทรกซ้อน ” ( intervening variable )
โดยถือว่าตัวแปรเหล่านี้อาจสนับสนุนหรือเป็นอุปสรรคต่อการแสวงหาสารสนเทศก็ได้
ตัวแปรแทรกซ้อนแบ่งออกเป็นหลายด้าน คือ
2.2.1 คุณลักษณะเฉพาะบุคคล ( personal characteristic)
เช่น ปัจจัยหรือคุณลักษณะด้านอารมณ์ ด้านพุทธิพิสัยหรือปัญญา ( cognitive )
ระดับการศึกษา และพื้นความรู้ของผู้แสวงหาสารสนเทศ เป็นต้น
2.2.2 ตัวแปรด้านประชากร ( demographic variable ) เช่น อายุ เพศ เป็นต้น
2.2.3 ตัวแปรเชิงสังคมหรือระหว่างบุคคล ( social/interpersonal variable)
ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับการแสวงหาสารสนเทศจากบุคคลอื่นในสังคม เช่น ทัศนคติของผู้ให้บริการสารสนเทส
ลักษระการทำงานที่มีการแข่งขันระหว่างเพื่อนร่วมมือ เป็นต้น
2.2.4 ตัวแปรด้านสิ่งแวดล้อม ( environmental variable )
เช่น เวลาที่ใช้ในการแสวงหาสารสนเทศ วัฒนธรรมซึ่งสะท้อนความเชื่อพื้นฐานของบุคคล เป็นต้น
2.2.5 คุณลักษณะของแหล่งสารสนเทศ ( information source characteris)
เช่น การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ ความน่าเชื่อถือของแหล่งสารสนเทศ เป็นต้น
2.3 การนำทฤษฎีด้านจิตวิทยาและพฤติกรรมศาสตร์ที่สำคัญ 3 ด้านมาอธิบายกลไกในการ
ก่อหรือกระตุ้นให้เกิดการแสวงหาสารสนเทศ ( stress/coping theory)
ทฤษฎีความเสี่ยงและรางวัล(risk/reward theory) และ ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
(social learning theory)
2.3.1 ทฤษฎีด้านความเครียดและการเผชิญปัญหา เกี่ยวข้องกับความต้องการ
สารสนเทศความเครียดอาจเป็นภาวะที่สัมพันธ์กับความต้องการสารสนเทศ เช่น ความเครียดที่เกิด
จากการไม่สามารถอธิบายเหตุผลแห่งความเจ็บป่วยของตนนับเป็นสิ่งผลักดันหับุคคลต้องเผชิญ
ปัญหา นั่นคือต้องแสวงหาสารสนเทศเพื่ออธิบายความเจ็บป่วยของตนและสาเหตุของความเจ็บป่วยได้
2.3.2 ทฤษฎีความเสี่ยงและรางวัล เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
เช่น ในการแสวงหาสารสนเทศ มีค่าใช้จ่ายในการแสวงหาสารสนเทศซึ่งนับเป็นความเสี่ยงประเภท
หนึ่ง บุคคลจึงต้องประเมินว่าค่าใช้จ่ายนั้น “คุ้ม” กับรางวัลหรือประโยชน์ที่จะได้รับหรือไม่ อย่างไร
2.3.3 ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
เช่นกัน โดยเฉพาะการรับรู้สมรรถนะของตนเอง ( perceived self-efficacy)
ซึ่งสัมพันธ์กับการเผชิญปัญหา บุคคลหนึ่งจะสามารถเผชิญปัญหาได้ดีเพียงไรขึ้นกับการรับรู้สมรรถนะของตนเอง
หากเป็นผู้ที่รับรู้สมรรถนะของตนเองในระดับสูงย่อมสามารถเผชิญปัญหาได้อย่างดี เช่น เมื่อเกิดเจ็บป่วย
จะสามารถแสวงหาสารสนเทศเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของตนด้วยวิธีต่างๆ และจากแหล่งต่างๆ ได้เป็น
อย่างดี ไม่ว่าจะเป็นการแสวงหาสารสนเทศด้วยตนเอง การเรียนรู้แสวงหาสารสนเทศจากผู้อื่น
หรือการเรียนรู้ด้วยตนเองก็ตาม
2.4 พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ พฤติกรรมนี้ครอบคลุมทั้งการแสวงหาสารสนเทศที่
ตนริเริ่ม ( active) เช่น การค้นหาสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต และที่ตนมิได้ริเริ่มเอง ( passive)
โดยแบ่งพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศออกเป็น 4 ประเภทคือ
2.4.1 การตั้งใจที่ตนมิได้ริเริ่ม ( passive attention ) เช่น การได้รับสารสนเทศจาก
รายการสารคดีทางวิทยุที่ตนฟังอยู่ แม้ว่าอาจไม่มีเจตนาที่จะแสวงหาสารสนเทศ แต่ถือว่าเกิดการ
ได้รับสารสนเทศขึ้น
2.4.2 การค้นโดยตนมิได้ริเริ่ม ( passive search ) หมายถึงการที่บุคคลหนึ่งได้รับ
สารสนเทศเรื่องหนึ่ง ในขณะที่กำลังค้นหาสารสนเทศอีกเรื่องหนึ่ง ดังนั้น สารสนเทศที่ได้รับไม่ใช่
ที่ตนตั้งใจไว้ แต่ถือได้รับสารสนเทศเช่นกัน
2.4.3 การค้นที่ตนริเริ่มขึ้น ( active search) หมายถึง การที่บุคคลหนึ่งมุ่งค้นหา
สารสนเทศจากระบบสารสนเทศในสถาบันบริการสารสนเทศหรือจากบริการสารสนเทศต่างๆ
โดยทั่วไปการศึกษาวิจัยในสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์นั้นให้ความสนใจที่การแสวงหาสารสนเทศ
ประเภทนี้ เพราะถือว่าเป็นพฤติกรรมสำคัญในการใช้ระบบสารสนเทศหรือบริการในสถาบันบริการสารสนเทส
2.4.4 การค้นที่ดำเนินการอยู่ ( ongoing search ) เป็นการค้นหาสารสนเทศในเรื่องที่
ผู้ค้นหรือผู้แสวงหาสารสนเทศมีความรู้หรือสารสนเทศอยู่แล้ว เพียงแต่ต้องการแสวงหาสารสนเทศ
เพิ่มเติมเฉพาะด้าน เช่น เฉพาะเรื่องใหม่ หรือรายละเอียดเฉพาะเจาะจงที่ขาดหายไปเพิ่มเติมเท่านั้น
2.5 การประมวลและใช้สารสนเทศ ( information processing and use)
คือ การนำสารสนเทสที่ค้นคืนได้มาคัดเลือก รวบรวม จัดเรียง หรือกระทำด้วยวิธีใด เพื่อให้สามารถนำสารสนเทศนั้นมา
ผนวกเข้าเป็นความรู้ของผู้แสวงหาสารสนเทศ เช่น การขีดเส้นใต้ข้อความสำคัญในเอกสารที่ค้นคืน
ได้ เพื่อระบุความสำคัญและทำให้สามารถนำข้อความนั้นไปใช้ในรายงานที่จะจัดทำขึ้นต่อไป เป็นต้น

โดยสรุป วิลสันได้นำเสนอแนวคิดและทฤษฎีในการทำความเข้าใจถึงพฤติกรรมสารสนเทส
ในเชิงมหภาค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการแสวงหาและการใช้สารสนเทศ โดยเน้นที่ผู้ใช้เป็นสำคัญ เขาถือว่า
พฤติกรรมสารสนเทศเป็นผลมาจากความต้องการสารสนเทศ ซึ่งเป็นนามธรรมและสัมพันฑ์กับ
บริบทต่างๆ เช่น สภาวะทางอารมณ์ สภาวะทางพุทธิพิสัยหรือทางปัญญา เป็นต้น ขณะเดียวกัน
เมื่อเกิดความต้องการสารสนเทศขึ้น มิได้หมายความว่า ผู้ใช้ทุกคนจะต้องแสวงหาสารสนเทศเสมอไป
เพราะอาจเกิดกลไกหรือภาวะที่สนับสนุนหรือเป็นอุปสรรคต่อการแสวงหาสารสนเทศ
นอกจากนี้การแสวงหาสารสนเทศนั้นอาจเป็นทั้งที่ผู้ริเริ่มด้วยตนเองหรือมิได้ริเริ่มด้วยตนเองด้วย
และท้ายที่สุด เมื่อค้นหาสารสนเทศได้ ย่อมต้องมีการประมวลและการใช้สารสนเทศเพื่อสนองความ
ต้องการสารสนเทศนั่นเอง
guest profile guest
1. ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ
วิลสันเสนอตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศใน ค.ศ. 1981 ตัวแบบนี้มีพื้นฐานจากผลการ
ศึกษาวิจัยผู้ใช้สารสนเทศนับแต่ช่วงหลังสงครามครั้งที่สองในประเทศตะวันตกและการศึกษาวิจัย
ของวิลสันเอง ส่วนใหญ่ผู้ใช้ที่ศึกษาเป็นกลุ่มนักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยในสถาบันการศึกษาและ
สถาบันวิจัย และแหล่งสารสนเทศสำคัญได้แก่ห้องสมุดนั่นเอง
ตัวแบบพฤตกรรมสารสนเทศของวิลสันมีแนวคิดสำคัญดังนี้
1.1 พฤติกรรมสารสนเทศครอบคลุมพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวข้อง 2
ด้านคือ พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการใช้สารสนเทศ
1.2 พฤติกรรมสารสนเทศของผู้ใช้นั้นมีจุดผลักดันมาจากความต้องการสารสนเทศ
(Information need) ซึ่งในตัวแบบเรียกอย่างย่อว่า “ความต้องการ ”
1.3 เมื่อเกิดความต้องการ ผู้ใช้จึงต้องแสวงหาสารสนเทศ โดยใช้ระบบหรือบริการ
สารสนเทศต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นระบบอย่างเป็นทางการหรือแหล่งสารสนเทศที่ไม่เป็นทางการ
1.4 ในกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ นอกจากระบบหรือบริการสารสนเทศแล้ว ผู้ใช้
หรือผู้แสวงหาสารสนเทศยังอาจได้สารสนเทศด้วยการแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น ( Information exchange)
และยังสามารถส่งหรือถ่ายโอนสารสนเทศที่ได้ไปให้ผู้อื่นด้วยเช่นกัน ( Information transfer)
1.5 ผลที่ได้จากการแสวงหาสารสนเทศจากระบบหรือบริการสารสนเทศอาจเป็น
ความสำเร็จหรือความล้มเหลว นั่นคือ สามารถหาสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของตน
หรือหาไม่พบ หากหาไม่พบ อาจต้องย้อนกลับไปค้นหาสารสนเทศอีกครั้ง
1.6 หลังจากนั้น เมื่อได้สารสนเทศแล้ว จะนำสารสนเทศที่ได้ไปใช้ตามวัตถุประสงค์
ไม่ว่าจะเป็นสารสนเทศที่ได้จากระบบ บริการหรือแหล่งสารสนเทศใดก็ตาม
2. ตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศ
ใน ค.ศ. 1997 วิลสันได้ตีพิมพ์เผยแพร่ผลการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมสารสนเทศ ซึ่งได้นำ
ทฤษฎีและแนวคิดของสาขาวิชาต่างๆ เช่น นิเทศศาสตร์ จิตวิทยา การวิจัยผู้บริโภค เป็นต้น
มาปรับปรุงตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศของเขา โดยได้ขยายและอธิบายพฤติกรรมสารสนเทศเพิ่มขึ่น
จากเดิม เขาเรียกตัวแบบใหม่นี้ว่า “ ตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศ ” ( the general model of
information behaviour) เพื่อให้เป็นตัวแบบของพฤติกรรมสารสนเทศในเชิงมหภาค และอธิบายการ
ค้นหาสารสนเทศทั้งจากระบบสารสนเทศในสถาบันบริการสารสนเทศ และจากแหล่งอื่นๆ เช่น
การได้รับสารสนเทศจากสื่อมวลชน เป็นต้นตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศมีลักษณะสำคัญ คือ
2.1 จุดเริ่มต้นที่นำไปสู่พฤติกรรมสารสนเทศ คือ “ ความต้องการสารสนเทศ ” โดยเน้น
ความต้องการของบุคคลผู้แสวงหาสารสนเทศนั้นๆ หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นความต้องการสารสนเทศ
ในบริบทของผู้แสวงหาสารสนเทศ ( person-in-context ) นั่นเอง
2.2 ความแตกต่างระหว่างตัวแบบทั่วไปและตัวแบบเดิของวิลสัน ที่สำคัญประการหนึ่ง คือ
ตัวแบบทั่วไประบุถึง “ ตัวแปรแทรกซ้อน ” ( intervening variable )
โดยถือว่าตัวแปรเหล่านี้อาจสนับสนุนหรือเป็นอุปสรรคต่อการแสวงหาสารสนเทศก็ได้
ตัวแปรแทรกซ้อนแบ่งออกเป็นหลายด้าน คือ
2.2.1 คุณลักษณะเฉพาะบุคคล ( personal characteristic)
เช่น ปัจจัยหรือคุณลักษณะด้านอารมณ์ ด้านพุทธิพิสัยหรือปัญญา ( cognitive )
ระดับการศึกษา และพื้นความรู้ของผู้แสวงหาสารสนเทศ เป็นต้น
2.2.2 ตัวแปรด้านประชากร ( demographic variable ) เช่น อายุ เพศ เป็นต้น
2.2.3 ตัวแปรเชิงสังคมหรือระหว่างบุคคล ( social/interpersonal variable)
ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับการแสวงหาสารสนเทศจากบุคคลอื่นในสังคม เช่น ทัศนคติของผู้ให้บริการสารสนเทส
ลักษระการทำงานที่มีการแข่งขันระหว่างเพื่อนร่วมมือ เป็นต้น
2.2.4 ตัวแปรด้านสิ่งแวดล้อม ( environmental variable )
เช่น เวลาที่ใช้ในการแสวงหาสารสนเทศ วัฒนธรรมซึ่งสะท้อนความเชื่อพื้นฐานของบุคคล เป็นต้น
2.2.5 คุณลักษณะของแหล่งสารสนเทศ ( information source characteris)
เช่น การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ ความน่าเชื่อถือของแหล่งสารสนเทศ เป็นต้น
2.3 การนำทฤษฎีด้านจิตวิทยาและพฤติกรรมศาสตร์ที่สำคัญ 3 ด้านมาอธิบายกลไกในการ
ก่อหรือกระตุ้นให้เกิดการแสวงหาสารสนเทศ ( stress/coping theory)
ทฤษฎีความเสี่ยงและรางวัล(risk/reward theory) และ ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
(social learning theory)
2.3.1 ทฤษฎีด้านความเครียดและการเผชิญปัญหา เกี่ยวข้องกับความต้องการ
สารสนเทศความเครียดอาจเป็นภาวะที่สัมพันธ์กับความต้องการสารสนเทศ เช่น ความเครียดที่เกิด
จากการไม่สามารถอธิบายเหตุผลแห่งความเจ็บป่วยของตนนับเป็นสิ่งผลักดันหับุคคลต้องเผชิญ
ปัญหา นั่นคือต้องแสวงหาสารสนเทศเพื่ออธิบายความเจ็บป่วยของตนและสาเหตุของความเจ็บป่วยได้
2.3.2 ทฤษฎีความเสี่ยงและรางวัล เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
เช่น ในการแสวงหาสารสนเทศ มีค่าใช้จ่ายในการแสวงหาสารสนเทศซึ่งนับเป็นความเสี่ยงประเภท
หนึ่ง บุคคลจึงต้องประเมินว่าค่าใช้จ่ายนั้น “คุ้ม” กับรางวัลหรือประโยชน์ที่จะได้รับหรือไม่ อย่างไร
2.3.3 ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
เช่นกัน โดยเฉพาะการรับรู้สมรรถนะของตนเอง ( perceived self-efficacy)
ซึ่งสัมพันธ์กับการเผชิญปัญหา บุคคลหนึ่งจะสามารถเผชิญปัญหาได้ดีเพียงไรขึ้นกับการรับรู้สมรรถนะของตนเอง
หากเป็นผู้ที่รับรู้สมรรถนะของตนเองในระดับสูงย่อมสามารถเผชิญปัญหาได้อย่างดี เช่น เมื่อเกิดเจ็บป่วย
จะสามารถแสวงหาสารสนเทศเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของตนด้วยวิธีต่างๆ และจากแหล่งต่างๆ ได้เป็น
อย่างดี ไม่ว่าจะเป็นการแสวงหาสารสนเทศด้วยตนเอง การเรียนรู้แสวงหาสารสนเทศจากผู้อื่น
หรือการเรียนรู้ด้วยตนเองก็ตาม
2.4 พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ พฤติกรรมนี้ครอบคลุมทั้งการแสวงหาสารสนเทศที่
ตนริเริ่ม ( active) เช่น การค้นหาสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต และที่ตนมิได้ริเริ่มเอง ( passive)
โดยแบ่งพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศออกเป็น 4 ประเภทคือ
2.4.1 การตั้งใจที่ตนมิได้ริเริ่ม ( passive attention ) เช่น การได้รับสารสนเทศจาก
รายการสารคดีทางวิทยุที่ตนฟังอยู่ แม้ว่าอาจไม่มีเจตนาที่จะแสวงหาสารสนเทศ แต่ถือว่าเกิดการ
ได้รับสารสนเทศขึ้น
2.4.2 การค้นโดยตนมิได้ริเริ่ม ( passive search ) หมายถึงการที่บุคคลหนึ่งได้รับ
สารสนเทศเรื่องหนึ่ง ในขณะที่กำลังค้นหาสารสนเทศอีกเรื่องหนึ่ง ดังนั้น สารสนเทศที่ได้รับไม่ใช่
ที่ตนตั้งใจไว้ แต่ถือได้รับสารสนเทศเช่นกัน
2.4.3 การค้นที่ตนริเริ่มขึ้น ( active search) หมายถึง การที่บุคคลหนึ่งมุ่งค้นหา
สารสนเทศจากระบบสารสนเทศในสถาบันบริการสารสนเทศหรือจากบริการสารสนเทศต่างๆ
โดยทั่วไปการศึกษาวิจัยในสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์นั้นให้ความสนใจที่การแสวงหาสารสนเทศ
ประเภทนี้ เพราะถือว่าเป็นพฤติกรรมสำคัญในการใช้ระบบสารสนเทศหรือบริการในสถาบันบริการสารสนเทส
2.4.4 การค้นที่ดำเนินการอยู่ ( ongoing search ) เป็นการค้นหาสารสนเทศในเรื่องที่
ผู้ค้นหรือผู้แสวงหาสารสนเทศมีความรู้หรือสารสนเทศอยู่แล้ว เพียงแต่ต้องการแสวงหาสารสนเทศ
เพิ่มเติมเฉพาะด้าน เช่น เฉพาะเรื่องใหม่ หรือรายละเอียดเฉพาะเจาะจงที่ขาดหายไปเพิ่มเติมเท่านั้น
2.5 การประมวลและใช้สารสนเทศ ( information processing and use)
คือ การนำสารสนเทสที่ค้นคืนได้มาคัดเลือก รวบรวม จัดเรียง หรือกระทำด้วยวิธีใด เพื่อให้สามารถนำสารสนเทศนั้นมา
ผนวกเข้าเป็นความรู้ของผู้แสวงหาสารสนเทศ เช่น การขีดเส้นใต้ข้อความสำคัญในเอกสารที่ค้นคืน
ได้ เพื่อระบุความสำคัญและทำให้สามารถนำข้อความนั้นไปใช้ในรายงานที่จะจัดทำขึ้นต่อไป เป็นต้น

โดยสรุป วิลสันได้นำเสนอแนวคิดและทฤษฎีในการทำความเข้าใจถึงพฤติกรรมสารสนเทส
ในเชิงมหภาค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการแสวงหาและการใช้สารสนเทศ โดยเน้นที่ผู้ใช้เป็นสำคัญ เขาถือว่า
พฤติกรรมสารสนเทศเป็นผลมาจากความต้องการสารสนเทศ ซึ่งเป็นนามธรรมและสัมพันฑ์กับ
บริบทต่างๆ เช่น สภาวะทางอารมณ์ สภาวะทางพุทธิพิสัยหรือทางปัญญา เป็นต้น ขณะเดียวกัน
เมื่อเกิดความต้องการสารสนเทศขึ้น มิได้หมายความว่า ผู้ใช้ทุกคนจะต้องแสวงหาสารสนเทศเสมอไป
เพราะอาจเกิดกลไกหรือภาวะที่สนับสนุนหรือเป็นอุปสรรคต่อการแสวงหาสารสนเทศ
นอกจากนี้การแสวงหาสารสนเทศนั้นอาจเป็นทั้งที่ผู้ริเริ่มด้วยตนเองหรือมิได้ริเริ่มด้วยตนเองด้วย
และท้ายที่สุด เมื่อค้นหาสารสนเทศได้ ย่อมต้องมีการประมวลและการใช้สารสนเทศเพื่อสนองความ
ต้องการสารสนเทศนั่นเอง

อ้างอิงจาก http://home.kku.ac.th/hslib/malee/412731/document/TheoryInformationBehavior.pdf
guest profile guest

แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมสารสนเทศ

ธอมัส ดี วิลสัน (Thomas D.Wilson) เป็นอดีตศาสตราจารย์ด้านสารสนเทศศาสตร์ ณ

มหาวิทยาลัยเชฟฟิลด์ ประเทศอังกฤษ เขาสนใจด้านพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศและการศึกษา

ผู้ใช้สารสนเทศ และได้ทำการวิจัยเชิงคุณภาพจำนวนมาก โดยงานวิจัยล้วนมีผู้ใช้เป็นศูนย์กลางและ

เน้นกระบวนการในการแสวงหาและการใช้สารสนเทศในด้านต่างๆ เช่น นักศึกษาและการใช้

ห้องสมุด การแสวงหาสารสนเทศด้านสุขภาพ เป็นต้น

 

ความหมายของพฤติกรรมสารสนเทศ

ในที่นี้จะเรียกพฤติกรรมทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศว่า “พฤติกรรมสารสนเทศ”

(information behaviour) พฤติกรรมสารสนเทศ หมายถึงพฤติกรรมทั้งมวลของบุคคลหนึ่ง ซึ่ง

เชื่อมโยงบุคคลผู้นั้นให้เข้าถึงแหล่งสารสนเทศต่างๆ โดยใช้ช่องทางในการเผยแพร่จากสื่อต่างๆ เช่น

การดูรายการสารคดีทางโทรทัศน์ ทั้งที่ไม่มีเจตนาจะรับสารสนเทศจากรายการนั้น เป็นต้น (Wilson

2000: 50) ดังนั้น พฤติกรรมสารสนเทศจึงเป็นคำที่มีความหมายกว้าง และเป็นการมองกิจกรรมของ

มนุษย์ในระดับมหภาคโดยครอบคลุมกิจกรรมสำคัญ 2 กิจกรรม คือ การค้นหาสารสนเทศที่ต้องการ

ด้วยวิธีใดๆ ก็ตาม และการใช้สารสนเทศหรือการส่งต่อสารสนเทศนั้นๆ ไปยังผู้อื่นต่อไป

แนวคิดเรื่อง “พฤติกรรมสารสนเทศ” นั้นเริ่มกล่าวถึงใน ค.ศ. 1948 เมื่อมีการนำเสนอผล

การศึกษาพฤติกรรมของนักวิทยาศาสตร์และนักเทคโนโลยีในการแสวงหาและใช้สารสนเทศจาก

มุมมองของสถาบันบริการสารสนเทศและผู้ให้บริการสารสนเทศ แม้ว่าในการระยะแรก อาจยังมิ

เมีการใช้ศัพท์คำนี้ แต่นับได้ว่าเป็นจุดเริ่มของความสนใจศึกษาด้านดังกล่าว

นับแต่นั้นเป็นต้นมา มีการศึกษาและวิจัยวิธีและลักษณะการค้นหาและการใช้สารสนเทศ

ของผู้ใช้จำนวนมาก โดยในระยะแรก มุ่งเน้นผู้ใช้เฉพาะกลุ่ม เช่น นักวิทยาศาสตร์ นักเคมี เป็นต้น

เพื่อหาแนวทางในการจัดบริการด้านต่างๆ ให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ใช้มากที่สุด ในระยะหลัง มีการใช้

วิธีวิจัยเชิงคุณภาพอย่างแพร่หลายขึ้น และนำแนวคิดและทฤษฎีของศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น

จิตวิทยา สังคมวิทยา และนิเทศศาสตร์ มาเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย

วิลสันศึกษาความต้องการสารสนเทศ และพฤติกรรมอันเกิดจากความต้องการสารสนเทศ

ของบุคคล โดยมีฐานแนวคิดว่า ความต้องการสารสนเทศของแต่ละบุคคลนั้นนำไปสู่พฤติกรรม

ต่างกัน หรืออีกนัยหนึ่ง เขาไม่เห็นด้วยกับนักวิจัยด้านสารสนเทศศาสตร์จำนวนหนึ่งที่ว่า ผู้มีความ

ต้องการสารสนเทศต้องแสงหาสารสนเทศเสมอ ในทางกลับกัน เขาเชื่อว่า ความต้องการสารสนเทศ

ไม่จำเป็นต้องทำให้ผู้ใช้แสวงหาสารสนเทศเสมอไป เพราะอาจเกิดภาวะที่ขัดขวางหรือเป็นอุปสรรค

อันทำให้ไม่สามารถแสวงหาสารสนเทศที่สนองตอบความต้องการสารสนเทศของตนได้ เช่น ภาวะ

ด้านจิตใจ ภาวะแวดล้อม เป็นต้น

 

ดังนั้น การศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศจึงไม่สารมารถจะเพียงเฉพาะที่ผู้ใช้หรือผู้แสวงหา

สารสนเทศมีปฏิสัมพันธ์กับระบบสารสนเทศ ในขณะแสวงหาสารสนเทศเท่านั้น แต่จำเป็นต้อง

ศึกษาพฤติกรรมของผู้ใช้นับแต่เมื่อเกิดความต้องการสารสนเทศ นั่นคือ การศึกษาพฤติกรรม

สารสนเทศนั้นไม่ควรเน้นเฉพาะจากแง่มุมของระบบ แต่ควรหันมาสู่การศึกษาที่มีผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง

 

ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศของวิลสันอธิบายพฤติกรรมสารสนเทศทั้งในเชิงที่มา ซึ่ง

ได้แก่ความต้องการสารสนเทศ และในเชิงพฤติกรรมคือกิจกรรมต่างๆ อันเป็นผลมาจากความ

ต้องการนั้น ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศจึงถือเป็นกรอบแนวคิดที่ทำให้เห็นขั้นตอนของกิจกรรม

ต่างๆ ในการแสวงหาสารสนเทศว่า มิใช่เฉพาะการค้นจากระบบสารสนเทศเท่านั้น แต่ครอบคลุม

ด้านอื่นด้วย เช่น การแลกเปลี่ยนสารสนเทศ และการใช้สารสนเทศ ดังนั้น ตัวแบบนี้จึงเป็นการ

ขยายกรอบแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้ใช้ให้กว้างขึ้น

ตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศ

ใน ค.ศ. 1997 วิลสันได้ตีพิมพ์เผยแพร่ผลการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมสารสนเทศ ซึ่งได้นำ

ทฤษฎีและแนวคิดของสาขาวิชาต่างๆ เช่น นิเทศศาสตร์ จิตวิทยา การวิจัยผู้บริโภค เป็นต้น มา

ปรับปรุงตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศของเขา โดยได้ขยายและอธิบายพฤติกรรมสารสนเทศเพิ่มขึ่น

จากเดิม เขาเรียกตัวแบบใหม่นี้ว่า “ ตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศ ” ( the general model of

information behaviour) เพื่อให้เป็นตัวแบบของพฤติกรรมสารสนเทศในเชิงมหภาค และอธิบายการ

ค้นหาสารสนเทศทั้งจากระบบสารสนเทศในสถาบันบริการสารสนเทศ และจากแหล่งอื่นๆ เช่น

การได้รับสารสนเทศจากสื่อมวลชน เป็นต้น

ตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศมีลักษณะสำคัญ คือ

2.1 จุดเริ่มต้นที่นำไปสู่พฤติกรรมสารสนเทศ คือ “ ความต้องการสารสนเทศ ” โดยเน้น

ความต้องการของบุคคลผู้แสวงหาสารสนเทศนั้นๆ หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นความต้องการสารสนเทศ

ในบริบทของผู้แสวงหาสารสนเทศ ( person-in-context ) นั่นเอง

2.2 ความแตกต่างระหว่างตัวแบบทั่วไปและตัวแบบเดิมของวิลสัน คือ

ตัวแบบทั่วไประบุถึง “ ตัวแปรแทรกซ้อน ” ( intervening variable ) โดยถือว่าตัวแปรเหล่านี้อาจ

สนับสนุนหรือเป็นอุปสรรคต่อการแสวงหาสารสนเทศก็ได้

2.3 การนำทฤษฎีด้านจิตวิทยาและพฤติกรรมศาสตร์ที่สำคัญ 3 ด้านมาอธิบายกลไกในการ

ก่อหรือกระตุ้นให้เกิดการแสวงหาสารสนเทศ ( stress/coping theory) ทฤษฎีความเสี่ยงและรางวัล

(risk/reward theory) และ ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม (social learning theory)

2.4 พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ พฤติกรรมนี้ครอบคลุมทั้งการแสวงหาสารสนเทศที่

ตนริเริ่ม ( active) เช่น การค้นหาสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต และที่ตนมิได้ริเริ่มเอง ( passive)

2.5 การประมวลและใช้สารสนเทศ ( information processing and use) คือ การนำสารสนเทส

ที่ค้นคืนได้มาคัดเลือก รวบรวม จัดเรียง หรือกระทำด้วยวิธีใด เพื่อให้สามารถนำสารสนเทศนั้นมา

ผนวกเข้าเป็นความรู้ของผู้แสวงหาสารสนเทศ เช่น การขีดเส้นใต้ข้อความสำคัญในเอกสารที่ค้นคืน

ได้ เพื่อระบุความสำคัญและทำให้สามารถนำข้อความนั้นไปใช้ในรายงานที่จะจัดทำขึ้นต่อไป เป็น

ต้น

 

อ้างอิงจาก : home.kku.ac.th/hslib/malee/.../TheoryInformationBehavior.pdf

guest profile guest

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

                ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศมีองค์ประกอบสำคัญ 3 ด้าน คือ บริบทของความต้องการสารสนเทศ อุปสรรคที่ขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ โดยแนวคิดสำคัญ คือ

        1. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเกิดจากความต้องการสารสนเทศ ซึ่งมีบริบทเฉพาะตัวผู้แสวงหาสารสนเทศ ซึ่งแต่ละคนจะมีลักษณะแตกต่างกันในด้านต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อม ความสนใจเฉพาะตัว และความตั้งใจ เป็นต้น

       2. อุปสรรคที่ขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศ เช่น อุปสรรคในการเข้าถึงสารสนเทศ พื้นความรู้ของผู้แสวงหาสารสนเทศ ตำแหน่งและหน้าที่การงานของผู้แสวงหาสารสนเทศ

        3. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ประกอบด้วยกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ 8 ขั้นตอน โดยขั้นตอนเหล่านี้ไม่จำเป็นเกิดขึ้นนับแต่ขั้นแรกไปจนขั้นสุดท้ายตามลำดับก็ได้ คือ

                        3.1 การเริ่มต้น เป็นการเริ่มต้นแสวงหาสารสนเทศ ผู้แสวงหาสารสนเทศอาจเริ่มต้น จากการสอบถามเพื่อนร่วมงานหรือผู้รู้ หรือการอ่านตำราพื้นฐานในเรื่องนั้นๆ

                  3.2 การเชื่อมโยงร้อยเรียง เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม โดยอาจเป็นการเชื่อมโยงย้อนหลังหรือการเชื่อมโยงไปข้างหน้า

                  3.3 การสำรวจเลือกดู เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้างๆ

                  3.4 การแยกแยะ เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้ โดยใช้เกณฑ์ต่างๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อวารสาร เป็นต้น

                  3.5 การตรวจตรา เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่ในสาขาวิชาหรือแวดวงวิชาการที่ตนสนใจและคุ้นเคย

                  3.6 การดึงสารสนเทศออกมา เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานวิจัย บทความวารสาร หนังสือ เป็นสารสนเทศแบบเฉพาะเจาะจงที่สามารถนำไปใช้ได้ทันที

                  3.7 การตรวจสอบ เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของสารสนเทศที่ได้รับ

                  3.8 การจบ เป็นการแสวงหาสารสนเทศขั้นสุดท้ายเพื่อเก็บรวบรวมสารสนเทศที่แสวงหาได้ทั้งหมดเข้าด้วยกัน และให้เกิดความแน่ใจว่าได้สารสนเทศในระดับที่ต้องการแล้ว









อ้างอิง 

 

สมพร  พุทธาพิทักษ์ผล  “ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ”  ในประมวลสาระชุด

  วิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ เล่ม 1 หน่วยที่ 2  นนทบุรี  สาขาวิชาศิลปศาสตร์ 

  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  2545

guest profile guest
ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศของวิลสันอธิบายพฤติกรรมสารสนเทศทั้งในเชิงที่มา ซึ่ง ได้แก่ความต้องการสารสนเทศ และในเชิงพฤติกรรมคือกิจกรรมต่างๆ อันเป็นผลมาจากความ

ต้องการนั้น ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศจึงถือเป็นกรอบแนวคิดที่ทำให้เห็นขั้นตอนของกิจกรรม ต่างๆ ในการแสวงหาสารสนเทศว่า มิใช่เฉพาะการค้นจากระบบสารสนเทศเท่านั้น แต่ครอบคลุม ด้านอื่นด้วย เช่น การแลกเปลี่ยนสารสนเทศ และการใช้สารสนเทศ ดังนั้น ตัวแบบนี้จึงเป็นการ ขยายกรอบแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้ใช้ให้กว้างขึ้น

      ผู้บริโภคส่วนใหญ่ต้องการข้อมูลสารสนเทศที่มีความถูกต้องและแม่นยำ มีคุณภาพ รวดเร็ว โดยอยู่ในกรอบของความต้องการในแต่ละบุคคล ซึ่งแนวทางในการเลือกใช้ข้อมูลสารสนเทศ สามารถนำไปใช้ได้ในหลายๆด้าน โดยมีการวิเคราะห์และประเมินผลอย่างรอบครอบก่อนที่จะนำไปใช้หรือเผยแพร่

ความสำคัญ

1.เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ

2.ให้ผู้ใช้เกิดแนวความคิดและวิเคราะห์เพื่อที่จะนำไปพัฒนาต่อยอดความรู้

3.เพื่อศึกษารูปแบบการใช้ระบบสารสนเทศให้อยู่ในภายใต้ก

ประเภท

1.ระบบประมวลผลข้อมูล

2.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

3.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

4.ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง

5.ระบบผู้เชี่ยวชาญ รอบความคิดใหม่ๆ

ลักษณะของความแตกต่างของความต้องการพฤติกรรมของผู้ใช้

1.การใช้ข้อมูลและสารสนเทศโดยมีการเก็บข้อมูลรวบรวมมาจากแหล่งต่างๆ

2.การเน้นประสิทธิภาพคอมพิวเตอร์และการใช้งานในชีวิตประจำวัน

3.ชีวิตประจำวันในการเดินทางโดยใช้ระบบขนส่งมวลชนสาธารณะ

4.วิจัยพฤติกรรมของวัยรุ่นที่ใช้อินเตอร์เน็ตตามที่พักอาศัย

5.การเปรียบเทียบความต้องการใช้สารสนเทศเพื่อเป็นแนวการสอนให้สอดคล้องกับการสอนแบบ Child-Centered

6.การใช้งานบัตรเครดิตแบบธรรมดาและแบบทอง

7.ข้อดีและเสียของเกมออนไลน์ต่อผู้มาใช้บริการ

8.ความแตกต่างระหว่างการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์แบบพกพาและการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ

9.ปัญหาการใช้งานของคอมพิวเตอร์ในสถานศึกษาและการใช้ของแต่ละบุคคล

10.การเติบโตของปริมาณการใช้อินเตอร์เน็ตในเมืองและชุมชน


วิลสันได้นำเสนอแนวคิดและทฤษฎีในการทำความเข้าใจถึงพฤติกรรมสารสนเทสในเชิงมหภาค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการแสวงหาและการใช้สารสนเทศ โดยเน้นที่ผู้ใช้เป็นสำคัญ เขาถือว่าพฤติกรรมสารสนเทศเป็นผลมาจากความต้องการสารสนเทศ ซึ่งเป็นนามธรรมและสัมพันฑ์กับบริบทต่างๆ เช่น สภาวะทางอารมณ์ สภาวะทางพุทธิพิสัยหรือทางปัญญา เป็นต้น ขณะเดียวกันเมื่อเกิดความต้องการสารสนเทศขึ้น มิได้หมายความว่า ผู้ใช้ทุกคนจะต้องแสวงหาสารสนเทศเสมอไปเพราะอาจเกิดกลไกหรือภาวะที่สนับสนุนหรือเป็นอุปสรรคต่อการแสวงหาสารสนเทศ
นอกจากนี้การแสวงหาสารสนเทศนั้นอาจเป็นทั้งที่ผู้ริเริ่มด้วยตนเองหรือมิได้ริเริ่มด้วยตนเองด้วยและท้ายที่สุด เมื่อค้นหาสารสนเทศได้ ย่อมต้องมีการประมวลและการใช้สารสนเทศเพื่อสนองความต้องการสารสนเทศนั่นเอง




อ้างอิง
กุลชฎา อนันต์นุรักษ์. พฤติกรรมผู้บริโภคในการใช้และการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและศึกษาเฉพาะกรณีนักศึกษามหาลัยเกริก. วิทยานิพนธ์ กรุงเทพ : มหาวิทยาลัยเกริก,2549
ประภัส เรืองอ่อน . พฤติกรรมผู้บริโภคในการใช้บริการรถไฟฟ้ามหานคร. วิทยานิพนธ์ (บ.ม) ปทุมธานี :มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549
guest profile guest

พฤติกรรมสารสนเทศ หมายถึง พฤติกรรมทั้งมวลของบุคคลหนึ่ง ซึ่งเชื่อมโยงบุคคลนั้นให้เข้าถึงแหล่งสารสนเทศต่างๆ โดยใช้ช่องทางในการเผยแพร่จากสื่อต่างๆ เช่น สารคดีทางโทรทัศน์พฤติกรรมสารสนเทศมีความหมายกว้างและเป็นการมองกิจกรรมของมนุษย์ในระดับมหภาค

วิลสัน
นำเสนอตัวแบบแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมสารสนเทศ พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ โดยถือว่าพฤติกรรมสารสนเทศกว้างและครอบคลุมทั้งพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ ขณะที่พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศก็กว้างกว่าและครอบคลุมพฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศอีกทอดหนึ่ง

วิลสันเสนอตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศใน ค.ศ. 1981 ตัวแบบนี้มีพื้นฐานจากผลการศึกษาวิจัยผู้ใช้สารสนเทศนับแต่ช่วงหลังสงครามครั้งที่สองในประเทศตะวันตกและการศึกษาวิจัยของวิลสันเอง ส่วนใหญ่ผู้ใช้ที่ศึกษาเป็นกลุ่มนักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยในสถาบันการศึกษาและสถาบันวิจัย และแหล่งสารสนเทศสำคัญได้แก่ห้องสมุดนั่นเอง

ตัวแบบพฤตกรรมสารสนเทศของวิลสันมีแนวคิดสำคัญดังนี้

1.1 พฤติกรรมสารสนเทศครอบคลุมพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวข้อง 2 ด้าน คือ พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการใช้สารสนเทศ

1.2 พฤติกรรมสารสนเทศของผู้ใช้นั้นมีจุดผลักดันมาจากความต้องการสารสนเทศ (Information need) ซึ่งในตัวแบบเรียกอย่างย่อว่า “ ความต้องการ ”

1.3 เมื่อเกิดความต้องการ ผู้ใช้จึงต้องแสวงหาสารสนเทศ โดยใช้ระบบหรือบริการสารสนเทศต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นระบบอย่างเป็นทางการหรือแหล่งสารสนเทศที่ไม่เป็นทางการ

1.4 ในกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ นอกจากระบบหรือบริการสารสนเทศแล้ว ผู้ใช้หรือผู้แสวงหาสารสนเทศยังอาจได้สารสนเทศด้วยการแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น ( Information exchange)และยังสามารถส่งหรือถ่ายโอนสารสนเทศที่ได้ไปให้ผู้อื่นด้วยเช่นกัน ( Information transfer)

1.5 ผลที่ได้จากการแสวงหาสารสนเทศจากระบบหรือบริการสารสนเทศอาจเป็นความสำเร็จหรือความล้มเหลว นั่นคือ สามารถหาสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของตนหรือหาไม่พบ หากหาไม่พบ อาจต้องย้อนกลับไปค้นหาสารสนเทศอีกครั้ง

1.6 หลังจากนั้น เมื่อได้สารสนเทศแล้ว จะนำสารสนเทศที่ได้ไปใช้ตามวัตถุประสงค์ ไม่ว่าจะเป็นสารสนเทศที่ได้จากระบบ บริการหรือแหล่งสารสนเทศใดก็ตาม

ตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศมีลักษณะสำคัญ คือ

1 จุดเริ่มต้นที่นำไปสู่พฤติกรรมสารสนเทศ คือ “ ความต้องการสารสนเทศ ” โดยเน้นความต้องการของบุคคลผู้แสวงหาสารสนเทศนั้นๆ หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นความต้องการสารสนเทศในบริบทของผู้แสวงหาสารสนเทศ ( person-in-context ) นั่นเอง

2 ความแตกต่างระหว่างตัวแบบทั่วไปและตัวแบบเดิมของวิลสัน ที่สำคัญประการหนึ่ง คือตัวแบบทั่วไประบุถึง “ ตัวแปรแทรกซ้อน ” ( intervening variable ) โดยถือว่าตัวแปรเหล่านี้อาจสนับสนุนหรือเป็นอุปสรรคต่อการแสวงหาสารสนเทศก็ได้ ตัวแปรแทรกซ้อนแบ่งออกเป็นหลายด้าน คือ

    2.1 คุณลักษณะเฉพาะบุคคล ( personal characteristic) เช่น ปัจจัยหรือคุณลักษณะด้านอารมณ์ ด้านพุทธิพิสัยหรือปัญญา ( cognitive ) ระดับการศึกษา และพื้นความรู้ของผู้แสวงหาสารสนเทศ เป็นต้น

    2.2 ตัวแปรด้านประชากร ( demographic variable ) เช่น อายุ เพศ เป็นต้น

    2.3 ตัวแปรเชิงสังคมหรือระหว่างบุคคล ( social/interpersonal variable) ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับการแสวงหาสารสนเทศจากบุคคลอื่นในสังคม เช่น ทัศนคติของผู้ให้บริการสารสนเทศลักษณะการทำงานที่มีการแข่งขันระหว่างเพื่อนร่วมมือ เป็นต้น

    2.4 ตัวแปรด้านสิ่งแวดล้อม ( environmental variable ) เช่น เวลาที่ใช้ในการแสวงหาสารสนเทศ วัฒนธรรมซึ่งสะท้อนความเชื่อพื้นฐานของบุคคล เป็นต้น

    2.5 คุณลักษณะของแหล่งสารสนเทศ ( information source characteris) เช่น การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ ความน่าเชื่อถือของแหล่งสารสนเทศ เป็นต้น



อ้างอิง:
hppt://www.siamfun.files.wordpress.com/2010/01/1information-behavior.ppt

 hppt://www.siamfun.files.wordpress.com/2010/01/1information-behavior.ppt

 

guest profile guest

ตัวแบบด้านพฤติกรรมสารสนเทศ

ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ
                       ตัวแบบนี้มีพื้นฐานจากผลการศึกษาวิจัยผูใชสารสนเทศนับแตชวงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ส่วนใหญผูใชที่ศึกษาเปนกลุมนักวิทยาศาสตรและนักวิจัยในสถาบันการศึกษาและสถาบันวิจัย   และแหลงสารสนเทศสําคัญไดแกหองสมุดนั่นเอง

ตัวแบบพฤตกรรมสารสนเทศมีแนวคิดสำคัญดังนี้

                1.1 พฤติกรรมสารสนเทศครอบคลุมพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวข้อง 2 ด้าน
คือ พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการใช้สารสนเทศ

1.2 พฤติกรรมสารสนเทศของผู้ใช้นั้นมีจุดผลักดันมาจากความต้องการสารสนเทศ (Information need) ซึ่งในตัวแบบเรียกอย่างย่อว่า ความต้องการ

1.3 เมื่อเกิดความต้องการ ผู้ใช้จึงต้องแสวงหาสารสนเทศ โดยใช้ระบบหรือบริการสารสนเทศต่างๆ
ไม่ว่าจะเป็นระบบอย่างเป็นทางการหรือแหล่งสารสนเทศที่ไม่เป็นทางการ

1.4 ในกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ นอกจากระบบหรือบริการสารสนเทศแล้ว ผู้ใช้หรือผู้แสวงหาสารสนเทศยังอาจได้สารสนเทศด้วยการแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น และยังสามารถส่งหรือถ่ายโอนสารสนเทศที่ได้ไปให้ผู้อื่นด้วยเช่นกัน

1.5 ผลที่ได้จากการแสวงหาสารสนเทศจากระบบหรือบริการสารสนเทศอาจเป็นความสำเร็จหรือความล้มเหลว นั่นคือ สามารถหาสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของตนหรือหาไม่พบ หากหาไม่พบ อาจต้องย้อนกลับไปค้นหาสารสนเทศอีกครั้ง

1.6 หลังจากนั้น เมื่อได้สารสนเทศแล้ว จะนำสารสนเทศที่ได้ไปใช้ตามวัตถุประสงค์ ไม่ว่าจะเป็นสารสนเทศที่ได้จากระบบ บริการหรือแหล่งสารสนเทศใดก็ตาม

        ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศอธิบายพฤติกรรมสารสนเทศทั้งในเชิงที่มา ซึ่งได้แก่ความต้องการสารสนเทศ และในเชิงพฤติกรรมคือกิจกรรมต่างๆ อันเป็นผลมาจากความต้องการนั้น ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศจึงถือเป็นกรอบแนวคิดที่ทำให้เห็นขั้นตอนของกิจกรรมต่างๆ ในการแสวงหาสารสนเทศว่า มิใช่เฉพาะการค้นจากระบบสารสนเทศเท่านั้น แต่ครอบคลุมด้านอื่นด้วย เช่น การแลกเปลี่ยนสารสนเทศ และการใช้สารสนเทศ ดังนั้น ตัวแบบนี้จึงเป็นการขยายกรอบแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้ใช้ให้กว้างขึ้น

guest profile guest

ตัวแบบด้านพฤติกรรมสารสนเทศ

ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ
                       ตัวแบบนี้มีพื้นฐานจากผลการศึกษาวิจัยผู้ใช้สารสนเทศนับแตช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ส่วนใหญ่ผู้ใช้ที่ศึกษาเป็นกลุมนักวิทยาศาสตรและนักวิจัยในสถาบันการศึกษาและสถาบันวิจัย  และแหล่งสารสนเทศสําคัญได้แกห้องสมุดนั่นเอง

ตัวแบบพฤตกรรมสารสนเทศมีแนวคิดสำคัญดังนี้

                1.1 พฤติกรรมสารสนเทศครอบคลุมพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวข้อง 2 ด้าน
คือ พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการใช้สารสนเทศ

1.2 พฤติกรรมสารสนเทศของผู้ใช้นั้นมีจุดผลักดันมาจากความต้องการสารสนเทศ (Information need) ซึ่งในตัวแบบเรียกอย่างย่อว่า ความต้องการ

1.3 เมื่อเกิดความต้องการ ผู้ใช้จึงต้องแสวงหาสารสนเทศ โดยใช้ระบบหรือบริการสารสนเทศต่างๆ
ไม่ว่าจะเป็นระบบอย่างเป็นทางการหรือแหล่งสารสนเทศที่ไม่เป็นทางการ

1.4 ในกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ นอกจากระบบหรือบริการสารสนเทศแล้ว ผู้ใช้หรือผู้แสวงหาสารสนเทศยังอาจได้สารสนเทศด้วยการแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น และยังสามารถส่งหรือถ่ายโอนสารสนเทศที่ได้ไปให้ผู้อื่นด้วยเช่นกัน

1.5 ผลที่ได้จากการแสวงหาสารสนเทศจากระบบหรือบริการสารสนเทศอาจเป็นความสำเร็จหรือความล้มเหลว นั่นคือ สามารถหาสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของตนหรือหาไม่พบ หากหาไม่พบ อาจต้องย้อนกลับไปค้นหาสารสนเทศอีกครั้ง

1.6 หลังจากนั้น เมื่อได้สารสนเทศแล้ว จะนำสารสนเทศที่ได้ไปใช้ตามวัตถุประสงค์ ไม่ว่าจะเป็นสารสนเทศที่ได้จากระบบ บริการหรือแหล่งสารสนเทศใดก็ตาม

ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศอธิบายพฤติกรรมสารสนเทศทั้งในเชิงที่มา ซึ่งได้แก่ความต้องการสารสนเทศ และในเชิงพฤติกรรมคือกิจกรรมต่างๆ อันเป็นผลมาจากความต้องการนั้น ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศจึงถือเป็นกรอบแนวคิดที่ทำให้เห็นขั้นตอนของกิจกรรมต่างๆ ในการแสวงหาสารสนเทศว่า มิใช่เฉพาะการค้นจากระบบสารสนเทศเท่านั้น แต่ครอบคลุมด้านอื่นด้วย เช่น การแลกเปลี่ยนสารสนเทศ และการใช้สารสนเทศ ดังนั้น ตัวแบบนี้จึงเป็นการขยายกรอบแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้ใช้ให้กว้างขึ้น

อ้างอิง: http://home.kku.ac.th/hslib/malee/412731/document/TheoryInformationBehavior.pdf

 

guest profile guest

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์(The information seeking behavioral model of  social scientist)  ซึ่งเป็นตัวแบบพื้นฐานที่เอลลิสพัฒนาขึ้นมากจากผลการวิจัยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักวิชาการด้านสังคมศาสตร์ในปี ค.ศ.1987 และ ค.ศ.1988 ซึ่งตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์ ประกอบด้วย พฤติกรรม 6 ประการ ได้แก่

1)  การเริ่มต้น (starting)  เป็นการเริ่มต้นกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ  โดยอาจเป็นการทำงานชิ้นใหม่หรือสนใจศึกษาหาความรู้ในเรื่องใหม่ 

2)  การเชื่อมโยง (chaining)  เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม  โดยอาจเป็นการเชื่อมโยงย้อนหลัง  คือเชื่อมโยงว่ามีเอกสารใดอ้างถึงเอกสารที่มีอยู่บ้าง

3)  การสำรวจเลือกดู (browsing)  เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้างๆ จึงต้องสำรวจบริการเวียนสารบัญวารสารในสาขาวิชาที่สนใจ เพื่อเลือกดูบทความที่อาจตรงกับความสนใจเฉพาะได้ 

4)  การแยกแยะ (differentiating)  เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้  โดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ  เช่น  ชื่อผู้แต่ง  ชื่อวารสาร  ฯลฯ 

5)  การตรวจตรา (monitoring)   เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่ในสาขาวิชาหรือแวดวงวิชาการที่เราสนใจและคุ้นเคย 

6)  การดึงสารสนเทศออกมา (extracting)  เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานการวิจัย บทความวารสาร หนังสือ หรือเอกสารประกอบการประชุม ซึ่งเป็นสารสนเทศเพียงบางส่วนในเอกสารที่สามารถนำไปใช้ได้ทันที

ลักษณะสำคัญประการหนึ่งของตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของเอลลิสที่เป็นจุดแข็ง ก็คือ มีความสอดคล้องกับตัวแบบของคนอื่น ๆ เช่น Kuhthau ที่คล้ายคลึงกันในรูปแบบของพฤติกรรม/กิจกรรมที่มีความหลากหลายที่นำไปใช้ในกระบวนการแสวงหา ค้นหาสารสนเทศ ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของเอลลิส เป็นตัวแบบที่สำคัญ เพราะว่า เป็นตัวแบบพื้นฐานของ การวิจัยเชิงทดลอง และถูกนำไปใช้ในการศึกษาหลาย ๆ สาขา และหลากหลายกลุ่มผู้ใช้ การจำแนกพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของเอลลิส ระหว่างนักสังคมศาสตร์ ได้แนะนำว่า ระบบการค้นคืนสารสนเทศน่าจะเป็นประโยชน์มากขึ้น โดยรวมถึงลักษณะของพฤติกรรม/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวแบบนี้โดยตรง

                ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศมีแนวคิดสำคัญดังนี้

1.1 พฤติกรรมสารสนเทศครอบคลุมพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวข้อง 2 ด้าน
คือ พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการใช้สารสนเทศ

1.2 พฤติกรรมสารสนเทศของผู้ใช้นั้นมีจุดผลักดันมาจากความต้องการสารสนเทศ (Information need) ซึ่งในตัวแบบเรียกอย่างย่อว่า ความต้องการ

1.3 เมื่อเกิดความต้องการ ผู้ใช้จึงต้องแสวงหาสารสนเทศ โดยใช้ระบบหรือบริการสารสนเทศต่างๆ
ไม่ว่าจะเป็นระบบอย่างเป็นทางการหรือแหล่งสารสนเทศที่ไม่เป็นทางการ

1.4 ในกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ นอกจากระบบหรือบริการสารสนเทศแล้ว ผู้ใช้หรือผู้แสวงหาสารสนเทศยังอาจได้สารสนเทศด้วยการแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น และยังสามารถส่งหรือถ่ายโอนสารสนเทศที่ได้ไปให้ผู้อื่นด้วยเช่นกัน

1.5 ผลที่ได้จากการแสวงหาสารสนเทศจากระบบหรือบริการสารสนเทศอาจเป็นความสำเร็จหรือความล้มเหลว นั่นคือ สามารถหาสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของตนหรือหาไม่พบ หากหาไม่พบ อาจต้องย้อนกลับไปค้นหาสารสนเทศอีกครั้ง

1.6 หลังจากนั้น เมื่อได้สารสนเทศแล้ว จะนำสารสนเทศที่ได้ไปใช้ตามวัตถุประสงค์ ไม่ว่าจะเป็นสารสนเทศที่ได้จากระบบ บริการหรือแหล่งสารสนเทศใดก็ตาม

อ้างอิง :

1.)พวา พันธุ์เมฆา,สมพร พุทธาพิทักษ์ผล และ สายลม วุฒิสมบูรณ์ .2548. กระบวนการแสวงหา

สารสนเทศของนักศึกษาบัณฑิตศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [ออนไลน์].เข้าถึงได้จากhttp://www.stou.ac.th/schools/sla/master/room/upload/mis/Sailom_2548.doc  

Ellis, David.1997. “Modeling the information seeking patterns of engineering research scientists

in an industrial environment”. Journal of Documentation. 53(4) : 385  Meho, Lokman I and Tibbo, Heren R.(2003) “Modeling the Information- Seeking Behavior of  Social Scientists : Ellis’s study revisited”. Journal of the American society for information science and technology. 54(6) : 571

 

2.)http://home.kku.ac.th/hslib/malee/412731/document/TheoryInformationBehavior.pdf

guest profile guest

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

                ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศมีองค์ประกอบสำคัญ 3 ด้าน คือ บริบทของความต้องการสารสนเทศ อุปสรรคที่ขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ โดยแนวคิดสำคัญ คือ

  1. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเกิดจากความต้องการสารสนเทศ ซึ่งมีบริบทเฉพาะตัวผู้แสวงหาสารสนเทศ ซึ่งแต่ละคนจะมีลักษณะแตกต่างกันในด้านต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อม ความสนใจเฉพาะตัว และความตั้งใจ เป็นต้น

2          อุปสรรคที่ขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศ เช่น อุปสรรคในการเข้าถึงสารสนเทศ พื้นความรู้ของผู้แสวงหาสารสนเทศ ตำแหน่งและหน้าที่การงานของผู้แสวงหาสารสนเทศ

3         พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ประกอบด้วยกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ 8 ขั้นตอน โดยขั้นตอนเหล่านี้ไม่จำเป็นเกิดขึ้นนับแต่ขั้นแรกไปจนขั้นสุดท้ายตามลำดับก็ได้ คือ

3.1    การเริ่มต้น เป็นการเริ่มต้นแสวงหาสารสนเทศ ผู้แสวงหาสารสนเทศอาจเริ่มต้นจากการสอบถามเพื่อนร่วมงานหรือผู้รู้ หรือการอ่านตำราพื้นฐานในเรื่องนั้นๆ

3.2    การเชื่อมโยงร้อยเรียง เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม โดยอาจเป็นการเชื่อมโยงย้อนหลังหรือการเชื่อมโยงไปข้างหน้า

3.3    การสำรวจเลือกดู เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้างๆ

3.4    การแยกแยะ เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้ โดยใช้เกณฑ์ต่างๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อวารสาร เป็นต้น

3.5    การตรวจตรา เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่ในสาขาวิชาหรือแวดวงวิชาการที่ตนสนใจและคุ้นเคย

3.6    การดึงสารสนเทศออกมา เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานวิจัย บทความวารสาร หนังสือ เป็นสารสนเทศแบบเฉพาะเจาะจงที่สามารถนำไปใช้ได้ทันที

3.7    การตรวจสอบ เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของสารสนเทศที่ได้รับ

3.8    การจบ เป็นการแสวงหาสารสนเทศขั้นสุดท้ายเพื่อเก็บรวบรวมสารสนเทศที่แสวงหาได้ทั้งหมดเข้าด้วยกัน และให้เกิดความแน่ใจว่าได้สารสนเทศในระดับที่ต้องการแล้ว


กระบวนการแสวงหาสารสนเทศ ประกอบด้วยกระบวนการย่อย
8 กระบวนการ คือ

  1. การตระหนักและยอมรับปัญหาสารสนเทศ บุคคลถูกกระตุ้นจากความต้องการของตนเองหรือจากภายนอกให้ตระหนักว่าเกิดปัญหาหรือภาวะแห่งช่องว่างซึ่งต้องการสารสนเทศมาใช้แก้ปัญหา
  1. การระบุและเข้าใจปัญหา ผู้ใช้พยายามทำความเข้าใจและระบุปัญหาโดยวางกรอบว่าคำตอบของปัญหาคืออะไรหรือน่าจะเป็นอะไร พร้อมทั้งจำกัดคำตอบให้แคบลงโดยคิดถึงความรู้ที่เกี่ยวข้องหรือปัญหาที่คล้ายๆ กัน การทำรายการและจัดกลุ่มแนวคิด วลี เหตุการณ์หรือบุคคลที่เกี่ยวกับปัญหาจะช่วยให้ผู้ใช้ค่อยๆ เข้าใจปัญหาได้ชัดเจนขึ้น และระบุภาระงานที่จะต้องค้นหาได้ในที่สุด
  1. การเลือกระบบค้นหา ผู้ใช้มักจะพิจารณาเลือกระบบที่มีให้ใช้หรือระบบที่คุ้นเคยร่วมกับลักษณะของภาระงานที่ต้องค้นหา
  1. การกำหนดข้อคำถาม เป็นการกำหนดคำที่คิดว่าระบบจะสามารถหาสารสนเทศที่ต้องการได้ด้วยระบบคำศัพท์ของผู้ใช้และป้อนเข้าสู่ระบบ เพื่อให้ระบบจับคู่คำดังกล่าวกับคำศัพท์ของระบบ การกำหนดข้อคำถามจะรวมถึงการกำหนดกลยุทธืและกลวิธีที่ผู้ใช้เห็นว่าเหมาะสมที่สุดในการดำเนินการค้นหาภายใต้ขอบเขตของกฎ ลักษณะ และส่วนต่อประสานของระบบ
  1. การดำเนินการค้นหา เมื่อกำหนดข้อคำถามได้แล้ว ผู้ใช้ก็เริ่มดำเนินการค้นหาจากระบบ ถ้าระบบค้นหาค้นจากบัตรรายการ ผู้ใช้ต้องเลือกลิ้นชักบัตรที่เหมาะกับข้อคำถามและใช้กฎการเรียงบัตรรายการตามตัวอักษรในการค้นหาคำตอบ ถ้าค้นจากระบบออนไลน์ ผู้ใช้ต้องพิมพ์ข้อคำถามและกดแป้นเพื่อส่งข้อคำถามไปสู่ระบบ
  1. การตรวจสอบผลลัพธ์ ผลลัพธ์คือ ผลจากการค้นหาที่ได้จากระบบ ผู้ใช้ต้องตรวจสอบว่าตรงกับความต้องการหรือไม่

7.       การดึงสารสนเทศที่ต้องการ เมื่อผู้ใช้ได้ตรวจสอบเอกสารแล้วก็สามารถดึงเอกสารที่พิจารณาแล้วว่าเข้าเรื่องมาเก็บไว้ในหน่วยเก็บเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ภายหลัง

8.       การพิจารณา/ค้นหาซ้ำ/ยุติการค้นหา การค้นหาสารสนเทศยากที่จะสำเร็จสมบูรณ์ด้วยการใช้ข้อคำถามเพียงข้อเดียวหรือได้รับผลการค้นหาชุดเดียว โดยทั่วไปแล้วผู้ใช้จะนำผลการค้นหามาเป็นผลป้อนกับในการกำหนดข้อคำถามใหม่ เพื่อดำเนินการค้นหาซ้ำอีก

http://mba05.50webs.com/sample_research2.doc

guest profile guest

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

                ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศมีองค์ประกอบสำคัญ 3 ด้าน คือ บริบทของความต้องการสารสนเทศ อุปสรรคที่ขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ โดยแนวคิดสำคัญ คือ

  1. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเกิดจากความต้องการสารสนเทศ ซึ่งมีบริบทเฉพาะตัวผู้แสวงหาสารสนเทศ ซึ่งแต่ละคนจะมีลักษณะแตกต่างกันในด้านต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อม ความสนใจเฉพาะตัว และความตั้งใจ เป็นต้น

2          อุปสรรคที่ขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศ เช่น อุปสรรคในการเข้าถึงสารสนเทศ พื้นความรู้ของผู้แสวงหาสารสนเทศ ตำแหน่งและหน้าที่การงานของผู้แสวงหาสารสนเทศ

3         พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ประกอบด้วยกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ 8 ขั้นตอน โดยขั้นตอนเหล่านี้ไม่จำเป็นเกิดขึ้นนับแต่ขั้นแรกไปจนขั้นสุดท้ายตามลำดับก็ได้ คือ

3.1    การเริ่มต้น เป็นการเริ่มต้นแสวงหาสารสนเทศ ผู้แสวงหาสารสนเทศอาจเริ่มต้นจากการสอบถามเพื่อนร่วมงานหรือผู้รู้ หรือการอ่านตำราพื้นฐานในเรื่องนั้นๆ

3.2    การเชื่อมโยงร้อยเรียง เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม โดยอาจเป็นการเชื่อมโยงย้อนหลังหรือการเชื่อมโยงไปข้างหน้า

3.3    การสำรวจเลือกดู เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้างๆ

3.4    การแยกแยะ เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้ โดยใช้เกณฑ์ต่างๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อวารสาร เป็นต้น

3.5    การตรวจตรา เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่ในสาขาวิชาหรือแวดวงวิชาการที่ตนสนใจและคุ้นเคย

3.6    การดึงสารสนเทศออกมา เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานวิจัย บทความวารสาร หนังสือ เป็นสารสนเทศแบบเฉพาะเจาะจงที่สามารถนำไปใช้ได้ทันที

3.7    การตรวจสอบ เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของสารสนเทศที่ได้รับ

3.8    การจบ เป็นการแสวงหาสารสนเทศขั้นสุดท้ายเพื่อเก็บรวบรวมสารสนเทศที่แสวงหาได้ทั้งหมดเข้าด้วยกัน และให้เกิดความแน่ใจว่าได้สารสนเทศในระดับที่ต้องการแล้ว


กระบวนการแสวงหาสารสนเทศ ประกอบด้วยกระบวนการย่อย
8 กระบวนการ คือ

  1. การตระหนักและยอมรับปัญหาสารสนเทศ บุคคลถูกกระตุ้นจากความต้องการของตนเองหรือจากภายนอกให้ตระหนักว่าเกิดปัญหาหรือภาวะแห่งช่องว่างซึ่งต้องการสารสนเทศมาใช้แก้ปัญหา
  1. การระบุและเข้าใจปัญหา ผู้ใช้พยายามทำความเข้าใจและระบุปัญหาโดยวางกรอบว่าคำตอบของปัญหาคืออะไรหรือน่าจะเป็นอะไร พร้อมทั้งจำกัดคำตอบให้แคบลงโดยคิดถึงความรู้ที่เกี่ยวข้องหรือปัญหาที่คล้ายๆ กัน การทำรายการและจัดกลุ่มแนวคิด วลี เหตุการณ์หรือบุคคลที่เกี่ยวกับปัญหาจะช่วยให้ผู้ใช้ค่อยๆ เข้าใจปัญหาได้ชัดเจนขึ้น และระบุภาระงานที่จะต้องค้นหาได้ในที่สุด
  1. การเลือกระบบค้นหา ผู้ใช้มักจะพิจารณาเลือกระบบที่มีให้ใช้หรือระบบที่คุ้นเคยร่วมกับลักษณะของภาระงานที่ต้องค้นหา
  1. การกำหนดข้อคำถาม เป็นการกำหนดคำที่คิดว่าระบบจะสามารถหาสารสนเทศที่ต้องการได้ด้วยระบบคำศัพท์ของผู้ใช้และป้อนเข้าสู่ระบบ เพื่อให้ระบบจับคู่คำดังกล่าวกับคำศัพท์ของระบบ การกำหนดข้อคำถามจะรวมถึงการกำหนดกลยุทธืและกลวิธีที่ผู้ใช้เห็นว่าเหมาะสมที่สุดในการดำเนินการค้นหาภายใต้ขอบเขตของกฎ ลักษณะ และส่วนต่อประสานของระบบ
  1. การดำเนินการค้นหา เมื่อกำหนดข้อคำถามได้แล้ว ผู้ใช้ก็เริ่มดำเนินการค้นหาจากระบบ ถ้าระบบค้นหาค้นจากบัตรรายการ ผู้ใช้ต้องเลือกลิ้นชักบัตรที่เหมาะกับข้อคำถามและใช้กฎการเรียงบัตรรายการตามตัวอักษรในการค้นหาคำตอบ ถ้าค้นจากระบบออนไลน์ ผู้ใช้ต้องพิมพ์ข้อคำถามและกดแป้นเพื่อส่งข้อคำถามไปสู่ระบบ
  1. การตรวจสอบผลลัพธ์ ผลลัพธ์คือ ผลจากการค้นหาที่ได้จากระบบ ผู้ใช้ต้องตรวจสอบว่าตรงกับความต้องการหรือไม่

7.       การดึงสารสนเทศที่ต้องการ เมื่อผู้ใช้ได้ตรวจสอบเอกสารแล้วก็สามารถดึงเอกสารที่พิจารณาแล้วว่าเข้าเรื่องมาเก็บไว้ในหน่วยเก็บเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ภายหลัง

8.       การพิจารณา/ค้นหาซ้ำ/ยุติการค้นหา การค้นหาสารสนเทศยากที่จะสำเร็จสมบูรณ์ด้วยการใช้ข้อคำถามเพียงข้อเดียวหรือได้รับผลการค้นหาชุดเดียว โดยทั่วไปแล้วผู้ใช้จะนำผลการค้นหามาเป็นผลป้อนกับในการกำหนดข้อคำถามใหม่ เพื่อดำเนินการค้นหาซ้ำอีก

http://mba05.50webs.com/sample_research2.doc

guest profile guest

ทฤษฎีการแสวงหาสารสนเทศของ Leckei, Gloria J.

                Leckei, Gloria J. เป็นอาจารย์ที่ Faculty of  Information and Media Studies, Middlesex College, University of  Western Ontario, London

ทฤษฎีของ Leckie เป็นทฤษฎีเกี่ยวกับการแสวงหาสารสนเทศของบุคคลในอาชีพ โดยมี

หลักว่าบุคคลมีความต้องการสารสนเทศตามอาชีพและภาระงานของแต่ละบุคคล ซึ่งจะส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ  โดยมีปัจจัยต่าง ๆ ที่เป็นตัวแปรต่อพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ได้แก่ คุณลักษณะของความต้องการสารสนเทศ (Characteristic of information needs),

การคัดเลือกแหล่งสารสนเทศที่ต้องการ และการตระหนักรู้ในความต้องการสารสนเทศ จากนั้นก็จะดำเนินการสืบค้นสารสนเทศที่ตนเองต้องการ เพื่อนำไปเป็นข้อมูลในการประกอบอาชีพของตน และเมื่อได้ข้อมูลเป็นที่น่าพอใจหรือตรงตามความต้องการของตนแล้วก็จะหยุดพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศนั้น แต่หากผลลัพธ์ที่ได้นั้นยังไม่ป็นที่น่าพอใจหรือไม่ตรงตามความต้องการบุคคลนั้นก็จะเริ่มพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศใหม่อีก  ขั้นตอนรูปแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของ Leckie มีส่วนประกอบ 6 ส่วน ดังนี้

  1.  อาชีพ
  2.  ภาระงาน
  3. คุณลักษณะของความต้องการสารสนเทศ (Characteristic of information needs)
  4. การตระหนักรู้ในความต้องการสารสนเทศ
  5. การคัดเลือกแหล่งสารสนเทศที่ต้องการ
  6. ผลลัพธ์

     แบบจำลองของ Leckie นี้แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเหมือนกับว่าสารสนเทศคือสิ่งที่ต้องแสวงหา และผลที่ได้จากการแสวงหาสารสนเทศ คือ ผลลัพธ์ ซึ่งมีส่วนสัมพันธ์กับส่วนอื่น ๆ ของโมเดล ตลอดจนเป็นผลย้อนกลับไปยังแหล่งของข้อมูล การตระหนักรู้ และการแสวงหาสารสนเทศ

ตัวอย่างงานวิจัย

       งานวิจัยของ Baker (2004) ได้ทำการศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศของเจ้าหน้าที่ตำรวจหญิงที่เข้าไปปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับโสเภณีในเมือง Midelwestern City ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยทำหน้าที่เป็นนางนกต่อ ดังนั้นเธอจึงมีความจำเป็นที่จะต้องใช้สารสนเทศเพื่อประกอบการปฏิบัติงานดังกล่าว ซึ่งจากผลการวิจัยนั้นพบว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจหญิงต้องการสารสนเทศตลอดเวลา อย่างรวดเร็วและถูกต้อง และมีการแสวงหาสารสนเทศใหม่ ๆ ตามบริบทของสถานที่ที่ปฏิบัติงาน รวมทั้งมีแหล่งสารสนเทศได้ทุกแห่ง ทุกประเภท ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจหญิงที่ทำหน้าที่ดังกล่าวนี้มีความต้องการสารสนเทศที่สามารถทำให้ปฏิบัติงานได้สะดวกและปลอดภัยที่สุดตลอดเวลา แต่ถ้าไม่ได้สารสนเทศที่ต้องการก็จะเริ่มต้นแสวงหาสารสนเทศต่อไปจนเป็นที่พอใจ

                จากผลการวิจัยอาจสรุปได้ว่า อาชีพเป็นส่วนสำคัญในการกำหนดพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ซึ่งนอกจากการไก้รับการฝึกอบรมให้เกิดความรู้ ทักษะแล้ว เจ้าหน้าที่ตำรวจหญิงคนดังกล่าวยังจะต้องมีการแสวงหาสารสนเทศในขณะที่ปฏิบัติงานด้วย ซึ่งปัจจัยที่เป็นตัวแปรในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทสซึ่งเกิดขึ้นตลอดเวลา ได้แก่ ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ซึ่งตำรวจหญิงจะต้องปรับเปลี่ยนตัวเองให้เข้ากับสภาพแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา คือ ต้องหาข้อมูลเกี่ยวกับบริเวณที่ปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยจากกับดักและอันตรายต่าง ๆ  เพราะความปลอดภัยของตนเองสำคัญที่สุด ปัจจัยด้านความรู้ในความต้องการสารสนเทศของตำรวจหญิง คือ เรียนรู้ในความเป็นอยู่ ภาษา การแต่งกายกับผู้ให้สารสนเทศ คือโสเภณี ผู้ชายที่ควบคุมโสเภณีและคนในชุมชน และข้อมูลที่ต้องการส่งให้กับทีมผู้ร่วมงานยังไม่เป็นที่พอใจ ตำรวจหญิงคนนี้ก็จะเริ่มการแสวงหาสารสนเทศใหม่

                จากงานวิจัยที่กล่าวมาข้างต้นที่มีการนำทฤษฎีการแสวงหาสารสนเทศของ Leckie มาใช้ในการทำงานวิจัยก็แสดงให้เห็นว่า “อาชีพและบทบาทมีส่วนสำคัญในการกำหนดพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ”

              

............................................................................................

อ้างอิง

สมรักษ์ สหพงศ์.  (2549).  เค้าโครงวิทยานิพนธ์เรื่อง บทบาทละความรู้ความสามารถของนัก

                 สารสนเทศทางการแพทย์ในกระบวนการเวชปฏิบัติเชิงประจักษ์ : Roles and  

                 Competencies of Medical Information Professionals in Evidence-Based Medicine. 

                 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศสตร์และสังคมศาสตร์

                 มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Case, Donald O.  (c2002).  Looking for information [electronic resource] : a survey of

  http://home.kku.ac.th/hslib/malee/412731/Theory/Leckie.doc

guest profile guest

ตัวแบบด้านพฤติกรรม สารสนเทศ

ทฤษฎีการแสวงหาสารสนเทศของ Leckei, Gloria J.

                Leckei, Gloria J. เป็นอาจารย์ที่ Faculty of  Information and Media Studies, Middlesex College, University of  Western Ontario, London

ทฤษฎีของ Leckie เป็นทฤษฎีเกี่ยวกับการแสวงหาสารสนเทศของบุคคลในอาชีพ โดยมี

หลักว่าบุคคลมีความต้องการสารสนเทศตามอาชีพและภาระงานของแต่ละบุคคล ซึ่งจะส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ  โดยมีปัจจัยต่าง ๆ ที่เป็นตัวแปรต่อพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ได้แก่ คุณลักษณะของความต้องการสารสนเทศ (Characteristic of information needs),

การคัดเลือกแหล่งสารสนเทศที่ต้องการ และการตระหนักรู้ในความต้องการสารสนเทศ จากนั้นก็จะดำเนินการสืบค้นสารสนเทศที่ตนเองต้องการ เพื่อนำไปเป็นข้อมูลในการประกอบอาชีพของตน และเมื่อได้ข้อมูลเป็นที่น่าพอใจหรือตรงตามความต้องการของตนแล้วก็จะหยุดพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศนั้น แต่หากผลลัพธ์ที่ได้นั้นยังไม่ป็นที่น่าพอใจหรือไม่ตรงตามความต้องการบุคคลนั้นก็จะเริ่มพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศใหม่อีกครั้ง ดังภาพต่อไปนี้

อาชีพ








ภาระงาน

















 

ลักษณะของความต้องการสารสนเทศ




















          แหล่ง                                                สารสนเทศ         ที่แสวงหา                              การตระหนักรู้ถึง

      สารสนเทศ                                                                                                                        ความต้องการ

                    สารสนเทศ

                         ผลย้อนกลับ                                     ผลลัพธ์                                  ผลย้อนกลับ

อาชีพเป็นตัวกำหนดให้แต่ละบุคคลนั้นมีภาระงานที่แตกต่างกัน และด้วยภาระงานนั้นๆ ก็จะส่งผลให้บุคคลมีลักษณะความต้องการสารสนเทศที่แตกต่างกันออกไปอีกเช่นกัน ดังนั้นบุคคลแต่ละคนจะรู้ถึงความต้องการว่าตนต้องการสารสนเทศอะไร รวมทั้งรู้แหล่งสารสนเทศที่ต้องการ จากนั้นก็จะดำเนินการแสวงหาสารสนเทศดังกล่าว และผลลัพธ์ที่ได้จะสามารถใช้เป็นข้อมูลย้อนกลับไปยังแหล่งข้อมูล และการตระหนักรู้ รวมทั้งการแสวงหาสารสนเทศ ของบุคคลนั้น ๆ ได้

ขั้นตอนรูปแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของ Leckie มีส่วนประกอบ 6 ส่วน ดังนี้

  1. อาชีพ
  2. ภาระงาน
  3. คุณลักษณะของความต้องการสารสนเทศ (Characteristic of information needs)
  4. การตระหนักรู้ในความต้องการสารสนเทศ
  5. การคัดเลือกแหล่งสารสนเทศที่ต้องการ
  6. ผลลัพธ์

แบบจำลองของ Leckie นี้แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเหมือนกับว่าสารสนเทศคือสิ่งที่ต้องแสวงหา และผลที่ได้จากการแสวงหาสารสนเทศ คือ ผลลัพธ์ ซึ่งมีส่วนสัมพันธ์กับส่วนอื่น ๆ ของโมเดล ตลอดจนเป็นผลย้อนกลับไปยังแหล่งของข้อมูล การตระหนักรู้ และการแสวงหาสารสนเทศ

ตัวอย่างงานวิจัย

                งานวิจัยของ Baker (2004) ได้ทำการศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศของเจ้าหน้าที่ตำรวจหญิงที่เข้าไปปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับโสเภณีในเมือง Midelwestern City ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยทำหน้าที่เป็นนางนกต่อ ดังนั้นเธอจึงมีความจำเป็นที่จะต้องใช้สารสนเทศเพื่อประกอบการปฏิบัติงานดังกล่าว ซึ่งจากผลการวิจัยนั้นพบว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจหญิงต้องการสารสนเทศตลอดเวลา อย่างรวดเร็วและถูกต้อง และมีการแสวงหาสารสนเทศใหม่ ๆ ตามบริบทของสถานที่ที่ปฏิบัติงาน รวมทั้งมีแหล่งสารสนเทศได้ทุกแห่ง ทุกประเภท ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจหญิงที่ทำหน้าที่ดังกล่าวนี้มีความต้องการสารสนเทศที่สามารถทำให้ปฏิบัติงานได้สะดวกและปลอดภัยที่สุดตลอดเวลา แต่ถ้าไม่ได้สารสนเทศที่ต้องการก็จะเริ่มต้นแสวงหาสารสนเทศต่อไปจนเป็นที่พอใจ

                จากผลการวิจัยอาจสรุปได้ว่า อาชีพเป็นส่วนสำคัญในการกำหนดพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ซึ่งนอกจากการไก้รับการฝึกอบรมให้เกิดความรู้ ทักษะแล้ว เจ้าหน้าที่ตำรวจหญิงคนดังกล่าวยังจะต้องมีการแสวงหาสารสนเทศในขณะที่ปฏิบัติงานด้วย ซึ่งปัจจัยที่เป็นตัวแปรในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทสซึ่งเกิดขึ้นตลอดเวลา ได้แก่ ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ซึ่งตำรวจหญิงจะต้องปรับเปลี่ยนตัวเองให้เข้ากับสภาพแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา คือ ต้องหาข้อมูลเกี่ยวกับบริเวณที่ปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยจากกับดักและอันตรายต่าง ๆ  เพราะความปลอดภัยของตนเองสำคัญที่สุด ปัจจัยด้านความรู้ในความต้องการสารสนเทศของตำรวจหญิง คือ เรียนรู้ในความเป็นอยู่ ภาษา การแต่งกายกับผู้ให้สารสนเทศ คือโสเภณี ผู้ชายที่ควบคุมโสเภณีและคนในชุมชน และข้อมูลที่ต้องการส่งให้กับทีมผู้ร่วมงานยังไม่เป็นที่พอใจ ตำรวจหญิงคนนี้ก็จะเริ่มการแสวงหาสารสนเทศใหม่

                จากงานวิจัยที่กล่าวมาข้างต้นที่มีการนำทฤษฎีการแสวงหาสารสนเทศของ Leckie มาใช้ในการทำงานวิจัยก็แสดงให้เห็นว่า อาชีพและบทบาทมีส่วนสำคัญในการกำหนดพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

                แต่ทั้งนี้ก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ว่าโมเดลของ Leckie นั้นจะถูกใช้จำกัดในเฉพาะสาขาที่มีความเชี่ยวชาญบางอาชีพ  เช่น กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ, นักกฎหมาย และวิศวกร เท่านั้น

สรุปได้ว่าตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ลักษณะสำคัญประการหนึ่งของตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของเอลลิสที่เป็นจุดแข็ง ก็คือ มีความสอดคล้องกับตัวแบบของคนอื่น ๆ เช่น Kuhthau ที่คล้ายคลึงกันในรูปแบบของพฤติกรรม/กิจกรรมที่มีความหลากหลายที่นำไปใช้ในกระบวนการแสวงหา ค้นหาสารสนเทศ ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ   จึงจำเป็นที่จะต้องเรียนรู้ตัวแบบก่อนนำไปใช่งานจริง

อ้างอิง:


http://home.kku.ac.th/hslib/malee/412731/Theory/Leckie.doc

สมรักษ์ สหพงศ์.  (2549).  เค้าโครงวิทยานิพนธ์เรื่อง บทบาทละความรู้ความสามารถของนัก

                 สารสนเทศทางการแพทย์ในกระบวนการเวชปฏิบัติเชิงประจักษ์ : Roles and  

                 Competencies of Medical Information Professionals in Evidence-Based Medicine. 

                 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศสตร์และสังคมศาสตร์

                 มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Case, Donald O.  (c2002).  Looking for information [electronic resource] : a survey of

                 research on information seeking, need, and behavior.  Amsterdam ; New York :   

                 Academic Press.



guest profile guest

ทฤษฎีการแสวงหาสารสนเทศของ Leckei, Gloria J.

            Leckei, Gloria J. เป็นอาจารย์ที่ Faculty of  Information and Media Studies, Middlesex College, University of  Western Ontario, London

ทฤษฎีของ Leckie เป็นทฤษฎีเกี่ยวกับการแสวงหาสารสนเทศของบุคคลในอาชีพ โดยมี

หลักว่าบุคคลมีความต้องการสารสนเทศตามอาชีพและภาระงานของแต่ละบุคคล ซึ่งจะส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ  โดยมีปัจจัยต่าง ๆ ที่เป็นตัวแปรต่อพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ได้แก่ คุณลักษณะของความต้องการสารสนเทศ (Characteristic of information needs),

การคัดเลือกแหล่งสารสนเทศที่ต้องการ และการตระหนักรู้ในความต้องการสารสนเทศ จากนั้นก็จะดำเนินการสืบค้นสารสนเทศที่ตนเองต้องการ เพื่อนำไปเป็นข้อมูลในการประกอบอาชีพของตน และเมื่อได้ข้อมูลเป็นที่น่าพอใจหรือตรงตามความต้องการของตนแล้วก็จะหยุดพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศนั้น แต่หากผลลัพธ์ที่ได้นั้นยังไม่ป็นที่น่าพอใจหรือไม่ตรงตามความต้องการบุคคลนั้นก็จะเริ่มพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศใหม่อีกครั้ง ดังภาพต่อไปนี้

1.อาชีพ

2.ภาระงาน

3.ลักษณะของความต้องการสารสนเทศ

4.การตระหนักรู้ถึง

5.การคัดเลือกแหล่งสารสนเทศที่ต้องการ

6.ผลลัพธ์

อาชีพเป็นตัวกำหนดให้แต่ละบุคคลนั้นมีภาระงานที่แตกต่างกัน และด้วยภาระงานนั้นๆ ก็จะส่งผลให้บุคคลมีลักษณะความต้องการสารสนเทศที่แตกต่างกันออกไปอีกเช่นกัน ดังนั้นบุคคลแต่ละคนจะรู้ถึงความต้องการว่าตนต้องการสารสนเทศอะไร รวมทั้งรู้แหล่งสารสนเทศที่ต้องการ จากนั้นก็จะดำเนินการแสวงหาสารสนเทศดังกล่าว และผลลัพธ์ที่ได้จะสามารถใช้เป็นข้อมูลย้อนกลับไปยังแหล่งข้อมูล และการตระหนักรู้ รวมทั้งการแสวงหาสารสนเทศ ของบุคคลนั้น ๆ ได้

ขั้นตอนรูปแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของ Leckie มีส่วนประกอบ 6 ส่วน ดังนี้

  1. อาชีพ
  2. ภาระงาน
  3. คุณลักษณะของความต้องการสารสนเทศ (Characteristic of information needs)
  4. การตระหนักรู้ในความต้องการสารสนเทศ
  5. การคัดเลือกแหล่งสารสนเทศที่ต้องการ
  6. ผลลัพธ์

แบบจำลองของ Leckie นี้แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเหมือนกับว่าสารสนเทศคือสิ่งที่ต้องแสวงหา และผลที่ได้จากการแสวงหาสารสนเทศ คือ ผลลัพธ์ ซึ่งมีส่วนสัมพันธ์กับส่วนอื่น ๆ ของโมเดล ตลอดจนเป็นผลย้อนกลับไปยังแหล่งของข้อมูล การตระหนักรู้ และการแสวงหาสารสนเทศ

ตัวอย่างงานวิจัย

            งานวิจัยของ Baker (2004) ได้ทำการศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศของเจ้าหน้าที่ตำรวจหญิงที่เข้าไปปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับโสเภณีในเมือง Midelwestern City ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยทำหน้าที่เป็นนางนกต่อ ดังนั้นเธอจึงมีความจำเป็นที่จะต้องใช้สารสนเทศเพื่อประกอบการปฏิบัติงานดังกล่าว ซึ่งจากผลการวิจัยนั้นพบว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจหญิงต้องการสารสนเทศตลอดเวลา อย่างรวดเร็วและถูกต้อง และมีการแสวงหาสารสนเทศใหม่ ๆ ตามบริบทของสถานที่ที่ปฏิบัติงาน รวมทั้งมีแหล่งสารสนเทศได้ทุกแห่ง ทุกประเภท ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจหญิงที่ทำหน้าที่ดังกล่าวนี้มีความต้องการสารสนเทศที่สามารถทำให้ปฏิบัติงานได้สะดวกและปลอดภัยที่สุดตลอดเวลา แต่ถ้าไม่ได้สารสนเทศที่ต้องการก็จะเริ่มต้นแสวงหาสารสนเทศต่อไปจนเป็นที่พอใจ

            จากผลการวิจัยอาจสรุปได้ว่า อาชีพเป็นส่วนสำคัญในการกำหนดพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ซึ่งนอกจากการไก้รับการฝึกอบรมให้เกิดความรู้ ทักษะแล้ว เจ้าหน้าที่ตำรวจหญิงคนดังกล่าวยังจะต้องมีการแสวงหาสารสนเทศในขณะที่ปฏิบัติงานด้วย ซึ่งปัจจัยที่เป็นตัวแปรในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทสซึ่งเกิดขึ้นตลอดเวลา ได้แก่ ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ซึ่งตำรวจหญิงจะต้องปรับเปลี่ยนตัวเองให้เข้ากับสภาพแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา คือ ต้องหาข้อมูลเกี่ยวกับบริเวณที่ปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยจากกับดักและอันตรายต่าง ๆ  เพราะความปลอดภัยของตนเองสำคัญที่สุด ปัจจัยด้านความรู้ในความต้องการสารสนเทศของตำรวจหญิง คือ เรียนรู้ในความเป็นอยู่ ภาษา การแต่งกายกับผู้ให้สารสนเทศ คือโสเภณี ผู้ชายที่ควบคุมโสเภณีและคนในชุมชน และข้อมูลที่ต้องการส่งให้กับทีมผู้ร่วมงานยังไม่เป็นที่พอใจ ตำรวจหญิงคนนี้ก็จะเริ่มการแสวงหาสารสนเทศใหม่

            จากงานวิจัยที่กล่าวมาข้างต้นที่มีการนำทฤษฎีการแสวงหาสารสนเทศของ Leckie มาใช้ในการทำงานวิจัยก็แสดงให้เห็นว่า อาชีพและบทบาทมีส่วนสำคัญในการกำหนดพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

            แต่ทั้งนี้ก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ว่าโมเดลของ Leckie นั้นจะถูกใช้จำกัดในเฉพาะสาขาที่มีความเชี่ยวชาญบางอาชีพ  เช่น กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ, นักกฎหมาย และวิศวกร เท่านั้น



อ้างอิง:

http://home.kku.ac.th/hslib/malee/412731/Theory/Leckie.doc

สมรักษ์ สหพงศ์.  (2549).  เค้าโครงวิทยานิพนธ์ เรื่อง บทบาทละความรู้ความสามารถของนัก

                 สารสนเทศทางการแพทย์ในกระบวนการเวชปฏิบัติเชิงประจักษ์ : Roles and  

                 Competencies of Medical Information Professionals in Evidence-Based Medicine. 

                 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศสตร์และสังคมศาสตร์

                 มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Case, Donald O.  (c2002).  Looking for information [electronic resource] : a survey of

                 research on information seeking, need, and behavior.  Amsterdam ; New York :   

                 Academic Press.

guest profile guest

ความหมายของพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

                อารีย์ ชื่นวัฒนา (2545 : 111) ได้ให้ความหมายของพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศไว้ว่า พฤติ-กรรมการแสวงหาสารสนเทศ หมายถึง กิจกรรมหรือปฏิสัมพันธ์ที่บุคคลกระทำเพื่อแสวงหาสารสนเทศมีจุดมุ่งหมายเพื่อสนองความต้องการบางประการของผู้แสวงหา

                Chen and Hernon (1982 : 9) กล่าวว่า การแสวงหาสารสนเทศ หมายถึง กิจกรรมที่บุคคลกระทำเพื่อหาข้อมูล ข่าวสาร ที่จะสนองความต้องการของตน ความต้องการนี้จะแสดงออกและนำไปสู่พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาหรือตัดสินใจเรื่องใดรื่องหนึ่ง และยุติลงเมื่อบุคคลนั้นไม่ต้องการสารสนเทศดังกล่าวอีกแล้ว

                กล่าวโดยสรุปได้ว่า พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ คือ การแสวงหาสารสนเทศอย่างมีวัตถุประสงค์ โดยเป็นผลมาจากการต้องการตอบสนองความต้องการบางประการและก่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้แสวงหาสารสนเทศกับระบบสารสนเทศที่ใช้

ทฤษฎีเกี่ยวกับการแสวงหาสารสนเทศ (อารีย์ ชื่นวัฒนา 2545 : 112-113)

                การวิจัยเกี่ยวกับการแสวงหาสารสนเทศมักเน้นศึกษาว่าผู้ใช้ค้นหาสารสนเทศอย่างไร และปฏิสัมพันธ์กับระบบสารสนเทศอย่างไร เบรนดา เดอร์วิน ได้พัฒนาทฤษฎี เซ็นต์เมกกิง (Sense-making) ขึ้นในสาขาพฤติกรรมการสื่อสาร ซึ่งนับเป็นทฤษฎีเกี่ยวกับการแสวงหาสารสนเทศที่ได้รับการอ้างถึงมากที่สุด โดยกล่าวว่า การแสวงหาสารสนเทศเกิดจากสถานการณ์หรือบริบทที่บุคคลประสบปัญหาหรือช่องว่างที่ต้องใช้สารสนเทศในการแก้ปัญหาหรือปิดช่องว่างนั้น ซึ่งจะนำมาซึ่งผลลัพธ์คือความรู้ ความเข้าใจ

                มอแกนและคิง (อ้างถึงใน Wilson 1977 : 553) เสนอว่าความต้องการเกิดจากแรงกระตุ้นทางกาย (ความหิวกระหาย) แรงกระตุ้นที่เกิดขึ้นเอง (ความอยากรู้ อยากเห็น การกระตุ้นประสาท) และแรงกระตุ้นทางสังคม (ความปรารถนาที่จะเข้าพวกเข้าหมู่ การเป็นที่ยอมรับ ความก้าวร้าว) นอกจากนี้ยังมีทฤษฎีสนองความพอใจ (gratification theory) จากสาขานิเทศศาสตร์ที่กล่าวว่ามนุษย์มุ่งแสวงหาสารสนเทศเพื่อสนองความต้องการอันซับซ้อน

 

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ (สมพร 2545 : 58-60)

                ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศมีองค์ประกอบสำคัญ 3 ด้าน คือ บริบทของความต้องการสารสนเทศ อุปสรรคที่ขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ โดยแนวคิดสำคัญ คือ

  1. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเกิดจากความต้องการสารสนเทศ ซึ่งมีบริบทเฉพาะตัวผู้แสวงหาสารสนเทศ ซึ่งแต่ละคนจะมีลักษณะแตกต่างกันในด้านต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อม ความสนใจเฉพาะตัว และความตั้งใจ เป็นต้น
  1. อุปสรรคที่ขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศ เช่น อุปสรรคในการเข้าถึงสารสนเทศ พื้นความรู้ของผู้แสวงหาสารสนเทศ ตำแหน่งและหน้าที่การงานของผู้แสวงหาสารสนเทศ
  1. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ประกอบด้วยกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ 8 ขั้นตอน โดยขั้นตอนเหล่านี้ไม่จำเป็นเกิดขึ้นนับแต่ขั้นแรกไปจนขั้นสุดท้ายตามลำดับก็ได้ คือ

3.1    การเริ่มต้น เป็นการเริ่มต้นแสวงหาสารสนเทศ

3.2    การเชื่อมโยงร้อยเรียง เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม

3.3    การสำรวจเลือกดู เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้างๆ

3.4    การแยกแยะ เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้ โดยใช้เกณฑ์ต่างๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อวารสาร เป็นต้น

3.5    การตรวจตรา เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่วิชาการที่ตนสนใจ

3.6    การดึงสารสนเทศออกมา เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานวิจัย บทความวารสาร หนังสือ

3.7    การตรวจสอบ เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของสารสนเทศที่ได้รับ

3.8    การจบ เป็นการแสวงหาสารสนเทศขั้นสุดท้ายเพื่อเก็บรวบรวมสารสนเทศที่แสวงหาได้ทั้งหมดเข้าด้วยกัน

 

guest profile guest

ความหมายของพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

                อารีย์ ชื่นวัฒนา (2545 : 111) ได้ให้ความหมายของพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศไว้ว่า พฤติ-กรรมการแสวงหาสารสนเทศ หมายถึง กิจกรรมหรือปฏิสัมพันธ์ที่บุคคลกระทำเพื่อแสวงหาสารสนเทศมีจุดมุ่งหมายเพื่อสนองความต้องการบางประการของผู้แสวงหา

                Chen and Hernon (1982 : 9) กล่าวว่า การแสวงหาสารสนเทศ หมายถึง กิจกรรมที่บุคคลกระทำเพื่อหาข้อมูล ข่าวสาร ที่จะสนองความต้องการของตน ความต้องการนี้จะแสดงออกและนำไปสู่พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาหรือตัดสินใจเรื่องใดรื่องหนึ่ง และยุติลงเมื่อบุคคลนั้นไม่ต้องการสารสนเทศดังกล่าวอีกแล้ว

                กล่าวโดยสรุปได้ว่า พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ คือ การแสวงหาสารสนเทศอย่างมีวัตถุประสงค์ โดยเป็นผลมาจากการต้องการตอบสนองความต้องการบางประการและก่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้แสวงหาสารสนเทศกับระบบสารสนเทศที่ใช้

ทฤษฎีเกี่ยวกับการแสวงหาสารสนเทศ (อารีย์ ชื่นวัฒนา 2545 : 112-113)

                การวิจัยเกี่ยวกับการแสวงหาสารสนเทศมักเน้นศึกษาว่าผู้ใช้ค้นหาสารสนเทศอย่างไร และปฏิสัมพันธ์กับระบบสารสนเทศอย่างไร เบรนดา เดอร์วิน ได้พัฒนาทฤษฎี เซ็นต์เมกกิง (Sense-making) ขึ้นในสาขาพฤติกรรมการสื่อสาร ซึ่งนับเป็นทฤษฎีเกี่ยวกับการแสวงหาสารสนเทศที่ได้รับการอ้างถึงมากที่สุด โดยกล่าวว่า การแสวงหาสารสนเทศเกิดจากสถานการณ์หรือบริบทที่บุคคลประสบปัญหาหรือช่องว่างที่ต้องใช้สารสนเทศในการแก้ปัญหาหรือปิดช่องว่างนั้น ซึ่งจะนำมาซึ่งผลลัพธ์คือความรู้ ความเข้าใจ

                มอแกนและคิง (อ้างถึงใน Wilson 1977 : 553) เสนอว่าความต้องการเกิดจากแรงกระตุ้นทางกาย (ความหิวกระหาย) แรงกระตุ้นที่เกิดขึ้นเอง (ความอยากรู้ อยากเห็น การกระตุ้นประสาท) และแรงกระตุ้นทางสังคม (ความปรารถนาที่จะเข้าพวกเข้าหมู่ การเป็นที่ยอมรับ ความก้าวร้าว) นอกจากนี้ยังมีทฤษฎีสนองความพอใจ (gratification theory) จากสาขานิเทศศาสตร์ที่กล่าวว่ามนุษย์มุ่งแสวงหาสารสนเทศเพื่อสนองความต้องการอันซับซ้อน

 

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ (สมพร 2545 : 58-60)

                ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศมีองค์ประกอบสำคัญ 3 ด้าน คือ บริบทของความต้องการสารสนเทศ อุปสรรคที่ขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ โดยแนวคิดสำคัญ คือ

  1. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเกิดจากความต้องการสารสนเทศ ซึ่งมีบริบทเฉพาะตัวผู้แสวงหาสารสนเทศ ซึ่งแต่ละคนจะมีลักษณะแตกต่างกันในด้านต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อม ความสนใจเฉพาะตัว และความตั้งใจ เป็นต้น
  1. อุปสรรคที่ขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศ เช่น อุปสรรคในการเข้าถึงสารสนเทศ พื้นความรู้ของผู้แสวงหาสารสนเทศ ตำแหน่งและหน้าที่การงานของผู้แสวงหาสารสนเทศ
  1. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ประกอบด้วยกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ 8 ขั้นตอน โดยขั้นตอนเหล่านี้ไม่จำเป็นเกิดขึ้นนับแต่ขั้นแรกไปจนขั้นสุดท้ายตามลำดับก็ได้ คือ

3.1    การเริ่มต้น เป็นการเริ่มต้นแสวงหาสารสนเทศ

3.2    การเชื่อมโยงร้อยเรียง เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม

3.3    การสำรวจเลือกดู เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้างๆ

3.4    การแยกแยะ เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้ โดยใช้เกณฑ์ต่างๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อวารสาร เป็นต้น

3.5    การตรวจตรา เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่วิชาการที่ตนสนใจ

3.6    การดึงสารสนเทศออกมา เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานวิจัย บทความวารสาร หนังสือ

3.7    การตรวจสอบ เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของสารสนเทศที่ได้รับ

3.8    การจบ เป็นการแสวงหาสารสนเทศขั้นสุดท้ายเพื่อเก็บรวบรวมสารสนเทศที่แสวงหาได้ทั้งหมดเข้าด้วยกัน

http://mba05.50webs.com/sample_research2.doc 

guest profile guest

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของ David Ellis

 

                ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์(The information seeking behavioral model of  social scientist)  ซึ่งเป็นตัวแบบพื้นฐานที่เอลลิสพัฒนาขึ้นมากจากผลการวิจัยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักวิชาการด้านสังคมศาสตร์ในปี ค.ศ.1987 และ ค.ศ.1988 ซึ่งตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์  ประกอบด้วย  พฤติกรรม (กิจกรรม) 6 ประการ ได้แก่

1)  การเริ่มต้น (starting)  เป็นการเริ่มต้นกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ  โดยอาจเป็นการทำงานชิ้นใหม่หรือสนใจศึกษาหาความรู้ในเรื่องใหม่  ซึ่งผู้แสวงหาสารสนเทศอาจเริ่มต้นจากการสอบถามเพื่อนร่วมงานหรือผู้รู้ การอ่านตำราพื้นฐานเรื่องนั้น ๆ  เป็นต้น

2)  การเชื่อมโยง (chaining)  เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม  โดยอาจเป็นการเชื่อมโยงย้อนหลัง (backward chaining) คือเชื่อมโยงจากรายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรมในเอกสารที่มีอยู่  หรือการเชื่อมโยงข้างหน้า (forward chaining) คือเชื่อมโยงว่ามีเอกสารใดอ้างถึงเอกสารที่มีอยู่บ้าง

3)  การสำรวจเลือกดู (browsing)  เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้าง ๆ จึงต้องสำรวจบริการเวียนสารบัญวารสารในสาขาวิชาที่สนใจ เพื่อเลือกดูบทความที่อาจตรงกับความสนใจเฉพาะได้  เป็นการเลือกดูอย่างผ่าน ๆ  ซึ่งต่างจากการค้นแบบเฉพาะเจาะจง (specific searching) ที่ค้นจากหัวข้อหรือชื่อเรื่องโดยตรง

4)  การแยกแยะ (differentiating)  เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้  โดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ  เช่น  ชื่อผู้แต่ง  ชื่อวารสาร  ฯลฯ  เป็นเกณฑ์เพื่อกรองสารสนเทศที่แสวงหาได้

5)  การตรวจตรา (monitoring)   เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่ในสาขาวิชาหรือแวดวงวิชาการที่ตนสนใจและคุ้นเคย  เช่น  การติดตามจากรายชื่อหนังสือใหม่ของสำนักพิมพ์ในสาขาวิชานั้น ๆ  การติดตามอ่านวารสารบางรายชื่อทุกฉบับที่ตีพิมพ์ การติดต่อสื่อสารกับนักวิจัยหรือนักวิชาการที่ตนรู้จัก เป็นต้น

6)  การดึงสารสนเทศออกมา (extracting)  เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานการวิจัย บทความวารสาร หนังสือ ฐานข้อมูลดัชนี หรือเอกสารประกอบการประชุม ซึ่งเป็นสารสนเทศเพียงบางส่วนในเอกสารที่สามารถนำไปใช้ได้ทันที เช่น สถิติคำกล่าวหรือคำพูดสำคัญ ผลการศึกษา ผลวิจัย ฯลฯ ผู้แสวงหาสารสนเทศจำเป็นต้องระบุเอกสารที่มีสารสนเทศที่ต้องการเสียก่อน จึงจะสามารถดึงสารสนเทศออกมาได้    

 
ลักษณะสำคัญประการหนึ่งของตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของเอลลิสที่เป็นจุดแข็ง ก็คือ มีความสอดคล้องกับตัวแบบของคนอื่น ๆ เช่น Kuhthau ที่คล้ายคลึงกันในรูปแบบของพฤติกรรม/กิจกรรมที่มีความหลากหลายที่นำไปใช้ในกระบวนการแสวงหา ค้นหาสารสนเทศ ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของเอลลิส เป็นตัวแบบที่สำคัญ เพราะว่า เป็นตัวแบบพื้นฐานของ การวิจัยเชิงทดลอง และถูกนำไปใช้ในการศึกษาหลาย ๆ สาขา และหลากหลายกลุ่มผู้ใช้ การจำแนกพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของเอลลิส ระหว่างนักสังคมศาสตร์ ได้แนะนำว่า ระบบการค้นคืนสารสนเทศน่าจะเป็นประโยชน์มากขึ้น โดยรวมถึงลักษณะของพฤติกรรม/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวแบบนี้โดยตรง

                ยกตัวอย่างตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของเอลลิส โดยยกตัวอย่างตามแบบเว็บบราวเซอร์ เช่น การเริ่มต้นจากหน้าเว็บไซต์หน้าหนึ่ง หรือ 2-3 หน้าในไซต์หนึ่ง เพื่ออ่านหรือหาข้อมูลที่สนใจอื่น ๆ ต่อไป (Starting)  จากนั้นก็ดูลิงค์หรือเชื่อมโยงต่าง ๆ ที่อยู่ในหน้าเว็บเพจหนึ่ง คือสามารถลิงค์เชื่อมโยงได้ทั้งเดินหน้าและถอยหลัง (Chaining) อ่านหน้าเว็บไซต์แบบสแกนโดยเลือกดูผ่าน ๆ เฉพาะเรื่องที่สนใจก่อน (Browsing)  ทำสัญลักษณ์เพื่อแยกแหล่งทรัพยากรที่สนใจไว้ เพื่อสามารถกลับมาเลือกใช้เพื่ออ้างอิงต่อไปได้ง่าย (Differentiating) บอกรับเป็นสมาชิกหรือรับแจ้งรายการสารสนเทศใหม่ ๆ ทางอีเมล์เพื่อติดตามข่าว (Monitoring) และค้นหาสารสนเทศจากแหล่งที่ต้องการจริง ๆ จากสารสนเทศทั้งหมด เพื่อนำออกมาใช้ (Extracting)

อ้างอิง
home.kku.ac.th/hslib/malee/412731/Theory/David_Ellis.doc


1531051541309 ฐปนัท ค่าศิริปกรณ์

guest profile guest

ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ

ความหมายของพฤติกรรมสารสนเทศ

พฤติกรรมสารสนเทศ หมายถึง พฤติกรรมต่างๆ ของบุคคลๆ หนึ่ง เพื่อจะเข้าถึงแหล่งสารสนเทศหรือสารสนเทศด้วยวิธีหรือช่องทางต่างๆ ที่จะนำไปสู่ข้อมูลที่ต้องการ เช่น ดูรายการสารคดีทางโทรทัศน์ เข้าห้องสมุด และเข้าถึงข้อมูลนั้นโดยผ่าน Interneเป็นต้น โดยเพื่อตอบสนองความต้องการสารสนเทศของตนเอง และความต้องการสารสนเทศนั้นจะนำไปสู่พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเพื่อช่วยในตัดสินใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และพฤติกรรมสารสนเทศจะก่อให้เกิดความต้องการสารสนเทศของแต่ละคนนั้นแตกต่างกันออกไป เป็นเพราะเกิดจากภาวะ หรืออุปสรรคที่ทำให้ไม่สามารถแสวงหาสารสนเทศที่ตนต้องการได้ เช่น ภาวะด้านจิตใจ ภาวะแวดล้อม เป็นต้น

ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศมีองค์ประกอบ 3 ด้านคือ          

1.  บริบทของความต้องการสารสนเทศ

2.  อุปสรรคที่ขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศ

3.  พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

 

ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ มีแนวคิดที่สำคัญดังนี้

1. พฤติกรรมสารสนเทศครอบคลุมพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง 2 ด้านคือ พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการใช้สารสนเทศ

2. พฤติกรรมสารสนเทศของผู้ใช้นั้นมีจุดผลักดันมาจากความต้องการสารสนเทศ ซึ่งในตัวแบบเรียกอย่างย่อว่า “  ความต้องการ ”

3. เมื่อเกิดความต้องการ ผู้ใช้จึงต้องแสวงหาสารสนเทศ โดยใช้ระบบหรือบริการสารสนเทศต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นระบบอย่างเป็นทางการหรือแหล่งสารสนเทศที่ไม่เป็นทางการ

4.ในกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ นอกจากระบบหรือบริการสารสนเทศแล้ว ผู้ใช้หรือผู้แสวงหาสารสนเทศยังอาจได้สารสนเทศด้วยการแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น (Information exchange) และยังสามารถส่งหรือถ่ายโอนสารสนเทศที่ได้ไปให้ผู้อื่นด้วยเช่นกัน (Information transfer)

5. ผลที่ได้จากการแสวงหาสารสนเทศจากระบบหรือบริการสารสนเทศอาจเป็นความสำเร็จหรือความล้มเหลว นั่นคือ สามารถหาสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของตนหรือหาไม่พบ หากหาไม่พบ อาจต้องย้อนกลับไปค้นหาสารสนเทศอีกครั้ง

6. หลังจากนั้น เมื่อได้สารสนเทศแล้ว จะนำสารสนเทศที่ได้ไปใช้ตามวัตถุประสงค์ ไม่ว่าจะเป็นสารสนเทศที่ได้จากระบบบริการหรือแหล่งสารสนเทศใดก็ตาม

อ้างอิง : http://mba05.50webs.com/sample_research2.doc

http://home.kku.ac.th/hslib/malee/412731/document/TheoryInformationBehavior.pdf

พวา พันธุ์เมฆา,สมพร พุทธาพิทักษ์ผล และ สายลม วุฒิสมบูรณ์ .2548. กระบวนการแสวงหา สารสนเทศของนักศึกษาบัณฑิตศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก

 

guest profile guest

ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ

ความหมายของพฤติกรรมสารสนเทศ

พฤติกรรมสารสนเทศ หมายถึง พฤติกรรมต่างๆ ของบุคคลๆ หนึ่ง เพื่อจะเข้าถึงแหล่งสารสนเทศหรือสารสนเทศด้วยวิธีหรือช่องทางต่างๆ ที่จะนำไปสู่ข้อมูลที่ต้องการ เช่น ดูรายการสารคดีทางโทรทัศน์ เข้าห้องสมุด และเข้าถึงข้อมูลนั้นโดยผ่าน Interneเป็นต้น โดยเพื่อตอบสนองความต้องการสารสนเทศของตนเอง และความต้องการสารสนเทศนั้นจะนำไปสู่พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเพื่อช่วยในตัดสินใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และพฤติกรรมสารสนเทศจะก่อให้เกิดความต้องการสารสนเทศของแต่ละคนนั้นแตกต่างกันออกไป เป็นเพราะเกิดจากภาวะ หรืออุปสรรคที่ทำให้ไม่สามารถแสวงหาสารสนเทศที่ตนต้องการได้ เช่น ภาวะด้านจิตใจ ภาวะแวดล้อม เป็นต้น

ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศมีองค์ประกอบ 3 ด้านคือ          

1.  บริบทของความต้องการสารสนเทศ

2.  อุปสรรคที่ขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศ

3.  พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

 

ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ มีแนวคิดที่สำคัญดังนี้

1. พฤติกรรมสารสนเทศครอบคลุมพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง 2 ด้านคือ พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการใช้สารสนเทศ

2. พฤติกรรมสารสนเทศของผู้ใช้นั้นมีจุดผลักดันมาจากความต้องการสารสนเทศ ซึ่งในตัวแบบเรียกอย่างย่อว่า “  ความต้องการ ”

3. เมื่อเกิดความต้องการ ผู้ใช้จึงต้องแสวงหาสารสนเทศ โดยใช้ระบบหรือบริการสารสนเทศต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นระบบอย่างเป็นทางการหรือแหล่งสารสนเทศที่ไม่เป็นทางการ

4.ในกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ นอกจากระบบหรือบริการสารสนเทศแล้ว ผู้ใช้หรือผู้แสวงหาสารสนเทศยังอาจได้สารสนเทศด้วยการแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น (Information exchange) และยังสามารถส่งหรือถ่ายโอนสารสนเทศที่ได้ไปให้ผู้อื่นด้วยเช่นกัน (Information transfer)

5. ผลที่ได้จากการแสวงหาสารสนเทศจากระบบหรือบริการสารสนเทศอาจเป็นความสำเร็จหรือความล้มเหลว นั่นคือ สามารถหาสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของตนหรือหาไม่พบ หากหาไม่พบ อาจต้องย้อนกลับไปค้นหาสารสนเทศอีกครั้ง

6. หลังจากนั้น เมื่อได้สารสนเทศแล้ว จะนำสารสนเทศที่ได้ไปใช้ตามวัตถุประสงค์ ไม่ว่าจะเป็นสารสนเทศที่ได้จากระบบบริการหรือแหล่งสารสนเทศใดก็ตาม

อ้างอิง : http://mba05.50webs.com/sample_research2.doc

http://home.kku.ac.th/hslib/malee/412731/document/TheoryInformationBehavior.pdf

พวา พันธุ์เมฆา,สมพร พุทธาพิทักษ์ผล และ สายลม วุฒิสมบูรณ์ .2548. กระบวนการแสวงหา สารสนเทศของนักศึกษาบัณฑิตศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก

 

 

guest profile guest

ตัวแบบด้านพฤติกรรมสารสนเทศ

                จากการศึกษาและวิจัยเชิงคุณภาพที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้สารสนเทศ วิลสันได้พัฒนาและปรับปรุงตัวแบบที่ใช้อธิบายพฤติกรรมสารสนเทศขึ้น ตัวแบบแรกของเขานั้นมีชื่อเรียกว่า ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ และต่อมา วิลสันได้ศึกษาวิจัยเพิ่มเติม และปรับปรุงตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศโดยลำดับ จนได้ตัวแบบที่สอง ซึ่งเรียกว่า ตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศ

1.              ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ

วิลสันเสนอตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศใน ค.ศ. 1981 ตัวแบบนี้มีพื้นฐานจากผลการศึกษาวิจัยผู้ใช้สารสนเทศนับแต่ช่วงหลังสงครามครั้งที่สองในประเทศตะวันตก และการศึกษาวิจัยของวิลสันเอง ส่วนใหญ่ผู้ใช้ที่ศึกษาเป็นกลุ่มนักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยในสถาบันการศึกษา และสถาบันวิจัย และแหล่งสารสนเทศสำคัญได้แก่ห้องสมุดนั่นเอง

ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศของวิลสันมีแนวคิดสำคัญดังนี้

1.1      พฤติกรรมสารสนเทศครอบคลุมพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวข้อง 2 ด้านคือ พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการใช้สารสนเทศ
1.2 พฤติกรรมสารสนเทศของผู้ใช้นั้นมีจุดผลักดันมาจากความต้องการสารสนเทศ (Information need) ซึ่งในตัวแบบเรียกอย่างย่อว่า ความต้องการ
1.3 เมื่อเกิดความต้องการ ผู้ใช้จึงต้องแสวงหาสารสนเทศ โดยใช้ระบบหรือบริการสารสนเทศต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นระบบอย่างเป็นทางการหรือแหล่งสารสนเทศที่ไม่เป็นทางการ
1.4 ในกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ นอกจากระบบหรือบริการสารสนเทศแล้ว ผู้ใช้หรือผู้แสวงหาสารสนเทศยังอาจได้สารสนเทศด้วยการแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น ( Information exchange)และยังสามารถส่งหรือถ่ายโอนสารสนเทศที่ได้ไปให้ผู้อื่นด้วยเช่นกัน ( Information transfer)
1.5 ผลที่ได้จากการแสวงหาสารสนเทศจากระบบหรือบริการสารสนเทศอาจเป็นความสำเร็จหรือความล้มเหลว นั่นคือ สามารถหาสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของตนหรือหาไม่พบ หากหาไม่พบ อาจต้องย้อนกลับไปค้นหาสารสนเทศอีกครั้ง
1.6 หลังจากนั้น เมื่อได้สารสนเทศแล้ว จะนำสารสนเทศที่ได้ไปใช้ตามวัตถุประสงค์ ไม่ว่าจะเป็นสารสนเทศที่ได้จากระบบ บริการหรือแหล่งสารสนเทศใดก็ตาม

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์  ประกอบด้วย  พฤติกรรม (กิจกรรม) 6 ประการ ได้แก่

1)  การเริ่มต้น (starting)  เป็นการเริ่มต้นกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ  โดยอาจเป็นการทำงานชิ้นใหม่หรือสนใจศึกษาหาความรู้ในเรื่องใหม่  ซึ่งผู้แสวงหาสารสนเทศอาจเริ่มต้นจากการสอบถามเพื่อนร่วมงานหรือผู้รู้ การอ่านตำราพื้นฐานเรื่องนั้น ๆ  เป็นต้น

2)  การเชื่อมโยง (chaining)  เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม  โดยอาจเป็นการเชื่อมโยงย้อนหลัง (backward chaining) คือเชื่อมโยงจากรายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรมในเอกสารที่มีอยู่  หรือการเชื่อมโยงข้างหน้า (forward chaining) คือเชื่อมโยงว่ามีเอกสารใดอ้างถึงเอกสารที่มีอยู่บ้าง

3)  การสำรวจเลือกดู (browsing)  เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้าง ๆ จึงต้องสำรวจบริการเวียนสารบัญวารสารในสาขาวิชาที่สนใจ เพื่อเลือกดูบทความที่อาจตรงกับความสนใจเฉพาะได้  เป็นการเลือกดูอย่างผ่าน ๆ  ซึ่งต่างจากการค้นแบบเฉพาะเจาะจง (specific searching) ที่ค้นจากหัวข้อหรือชื่อเรื่องโดยตรง

4)  การแยกแยะ (differentiating)  เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้  โดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ  เช่น  ชื่อผู้แต่ง  ชื่อวารสาร  ฯลฯ  เป็นเกณฑ์เพื่อกรองสารสนเทศที่แสวงหาได้

5)  การตรวจตรา (monitoring)   เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่ในสาขาวิชาหรือแวดวงวิชาการที่ตนสนใจและคุ้นเคย  เช่น  การติดตามจากรายชื่อหนังสือใหม่ของสำนักพิมพ์ในสาขาวิชานั้น ๆ  การติดตามอ่านวารสารบางรายชื่อทุกฉบับที่ตีพิมพ์ การติดต่อสื่อสารกับนักวิจัยหรือนักวิชาการที่ตนรู้จัก เป็นต้น

6)  การดึงสารสนเทศออกมา (extracting)  เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานการวิจัย บทความวารสาร หนังสือ ฐานข้อมูลดัชนี หรือเอกสารประกอบการประชุม ซึ่งเป็นสารสนเทศเพียงบางส่วนในเอกสารที่สามารถนำไปใช้ได้ทันที เช่น สถิติคำกล่าวหรือคำพูดสำคัญ ผลการศึกษา ผลวิจัย ฯลฯ ผู้แสวงหาสารสนเทศจำเป็นต้องระบุเอกสารที่มีสารสนเทศที่ต้องการเสียก่อน จึงจะสามารถดึงสารสนเทศออกมาได้    


อ้างอิง :  http://home.kku.ac.th/hslib/malee/412731/document/TheoryInformationBehavior.pdf

http://home.kku.ac.th/hslib/malee/412731/Theory/David_Ellis.doc

guest profile guest

ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ

พฤติกรรมสารสนเทศ หมายถึงพฤติกรรมทั้งมวลของบุคคลหนึ่งซึ่งเชื่อมโยงบุคคลผู้นั้นให้เข้าถึงแหล่งสารสนเทศต่างๆ โดยใช้ช่องทางในการเผยแพร่จากสื่อต่างๆ เช่นการดูรายการสารคดีทางโทรทัศนทั้งที่ไม่มีเจตนาจะรับสารสนเทศจากรายการนั้น (Wilson 2000: 50) และวิลสันยังได้อธิบายไว้อีกว่าพฤติกรรมสารสนเทศทั้งในเชิงที่มานั้น มีผลต่อความต้องการสารสนเทศและในเชิงพฤติกรรมคือกิจกรรมต่างๆ อันเป็นผลมาจากความต้องการนั้น ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศจึงถือเป็นกรอบแนวคิดที่ทําให้เห็นขั้นตอนของกิจกรรมต่างๆ ในการแสวงหาสารสนเทศว่าไม่ใชเฉพาะการค้นหาจากระบบสารสนเทศเท่านั้นแต่ครอบคลุมไปถึงด้านอื่นๆ อีกด้วย เช่น การแลกเปลี่ยนสารสนเทศและการใชสารสนเทศ ดังนั้นตัวแบบนี้จึงเป็นการขยายกรอบแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้ใช้ให้กว้างยิ่งขึ้น


พฤติกรรมสารสนเทศจึงเป็นคําที่มีความหมายกว้างในเชิงมหภาค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการแสวงหาและการใช้สารสนเทศโดยเน้นที่ผู้ใช้เป็นสําคัญเขาถือว่าพฤติกรรมสารสนเทศเป็นผลมาจากความ
ต้องการสารสนเทศ ซึ่งเป็นนามธรรมและสัมพันฑ์กับบริบทต่างๆ เช่น สภาวะทางอารมณ สภาวะทางพุทธิพิสัยหรือทางปัญญา ในขณะเดียวกันเมื่อเกิดความต้องการสารสนเทศขึ้นไม่ได้หมายความว่าผู้ใช้ทุกคนจะต้องแสวงหาสารสนเทศเสมอไปมนุษย์ในระดับมหภาคนี้จึงครอบคลุมกิจกรรมสําคัญ
2 กิจกรรมดังนี้

1. การค้นหาสารสนเทศที่ต้องการด้วยวิธีใดๆ ก็ตาม

2. การใช้สารสนเทศหรือการส่งต่อสารสนเทศนั้นๆ ไปยังผู้อื่นต่อไป

 

ตัวแบบพฤตกรรมสารสนเทศของวิลสันมีแนวคิดสําคัญดังนี้

1.1 พฤติกรรมสารสนเทศครอบคลุมพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวข้อง 2 ด้าน

        คือ พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และพฤติกรรมการใชสารสนเทศ

1.2 พฤติกรรมสารสนเทศของผู้ใช้นั้นมีจุดผลักดันมาจากความตองการสารสนเทศ

        (Information need) ซึ่งในตัวแบบเรียกอย่างย่อว่า ความตองการ

1.3 เมื่อเกิดความต้องการผู้ใช้จึงต้องแสวงหาสารสนเทศ โดยใชระบบหรือบริการสารสนเทศต่างๆ

      ไม่ว่าจะเป็นระบบอย่างเป็นทางการหรือแหล่งสารสนเทศที่ไม่เป็นทางการ

1.4 ในกระบวนการแสวงหาสารสนเทศนอกจากระบบหรือบริการสารสนเทศแล้วผู้ใช้หรือผู้แสวงหา                                      

       สารสนเทศยังอาจไดสารสนเทศด้วยการแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น ( Information exchange)และยัง                       

       สามารถส่งหรือถ่ายโอนสารสนเทศที่ได้ไปให้ผู้อื่นด้วยเช่นกัน ( Information transfer)

ผลที่ได้จากการแสวงหาสารสนเทศจากระบบหรือบริการสารสนเทศอาจเป็นความสําเร็จหรือความล้มเหลวนั่น คือ สามารถหาสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของตนหรือหากหาไม่พบอาจต้องย้อนกลับไปค้นหาสารสนเทศอีกครั้งหลังจากนั้นเมื่อไดสารสนเทศแล้ว จะนําสารสนเทศที่ได้ไปใช้ตามวัตถุประสงค์ไม่ว่าจะเป็นสารสนเทศที่ได้จากระบบบริการหรือแหล่งสารสนเทศใดก็ตาม


อ้างอิง :

http://docs.google.com/viewer?a=v&q=cache:EmlUMpx8-9gJ:home.kku.ac.th/hslib/malee/412731/document/TheoryInformationBehavior.pdf+%22%E0%B8%9E%E0%B8%A4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%22&hl=th&gl=th&pid=bl&srcid=ADGEESgE53y-sp1gidkqhQShOGDMfQJ41BRFizt_fgH9ehVlLODT7QYMdaXpDQtzTKlsH059rL1BfWKp-d-bPqls06TolcD3hBLu7vyqCavhbQ-RdIGVPTmbz3cSaSC06FV50RsaRBTT&sig=AHIEtbRmDijbvl2KCOW9g1y4Gs3KaAxQEA

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

guest profile guest
 

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของ David Ellis

 

 

 

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์(The information seeking behavioral model of social scientist) ซึ่งเป็นตัวแบบพื้นฐานที่เอลลิสพัฒนาขึ้นมากจากผลการวิจัยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักวิชาการด้านสังคมศาสตร์ในปี ค..1987 และ ค..1988 ซึ่งตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์ ประกอบด้วย พฤติกรรม (กิจกรรม) 6 ประการ ได้แก่

 

1)

การเริ่มต้น (starting)

 

2)

การเชื่อมโยง (chaining)

 

3)

การสำรวจเลือกดู (browsing)

 

4)

การแยกแยะ (differentiating)

 

5)

การตรวจตรา (monitoring)

 

6)

การดึงสารสนเทศออกมา (extracting)

 

 

อ้างอิง

 

พวา พันธุ์เมฆา,สมพร พุทธาพิทักษ์ผล และ สายลม วุฒิสมบูรณ์ .2548. กระบวนการแสวงหา สารสนเทศของนักศึกษาบัณฑิตศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก

 

http://www.stou.ac.th/schools/sla/master/room/upload/mis/Sailom_2548.doc

 

 

 

 

guest profile guest

พฤติกรรมสารสนเทศ

  • พฤติกรรมทั้งมวลของบุคคลหนึ่ง ซึ่งเชื่อมโยงบุคคลนั้นให้เข้าถึงแหล่งสารสนเทศต่างๆ พฤติกรรมสารสนเทศมีความหมายกว้างและเป็นการมองกิจกรรมของมนุษย์ในระดับมหภาค

การศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศ

  • ค.ศ.

 

แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมสารสนเทศ

  • ความต้องการสารสนเทศนำไปสู่พฤติกรรมสารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างไรก็ตามผู้ที่มีความต้องการสารสนเทศอาจจะไม่ได้แสวงหาสารสนเทศเสมอไป เพราะอาจจะเกิดภาวะที่ขัดขวางหรือเป็นอุปสรรคอันทำให้ไม่สามารถแสวงหาสารสนเทศที่สนองตอบความต้องการของตนได้ เช่น ภาวะจิตใจ ภาวะแวดล้อม

 

พฤติกรรมสารสนเทศ
information behavior

  • พฤติกรรมโดยรวมของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับแหล่งและช่องทางการสื่อสารสนเทศ ซึ่งประกอบด้วยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศและพฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ

 

พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
information – seeking behavior

  • การแสวงหาสารสนเทศอย่างมีวัตถุประสงค์ อันเป็นผลมาจากความต้องการ ซึ่งในระหว่างการแสวงหาสารสนเทศจะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับระบบสารสนเทศต่าง ๆ

 

พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ
Information search behavior

  • พฤติกรรมระดับจุลภาคที่ผู้ค้นหาสารสนเทศมีปฏิสัมพันธ์กับระบบสารสนเทศ โดยเฉพาะ การใช้อุปกรณ์ การใช้เม้าส์ คีบอร์ด และการใช้ความคิดสติปัญญา ความรู้ในการสืบค้นสารสนเทศ การใช้ตรรกะบูลีน การตัดสินใจเลือกสารสนเทศ

 

ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ
A model of information behavior

 

 

 

Wilson’s information behavior model

  • พฤติกรรมสารสนเทศครอบคลุม พฤติกรรมการแสวงหาและพฤติกรรมการใช้สารสนเทศ
  • พฤติกรรมสารสนเทศเกิดจากความต้องการสารสนเทศ

 

Wilson’s information behavior model

  • ผู้ใช้แสวงหาสารสนเทศโดยใช้ระบบหรือบริการสารสนเทศทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ
  • ในกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ ผู้ใช้สามารถแลกเปลี่ยน

Wilson’s information behavior model

  • ผลของการแสวงหาสารสนเทศอาจจะสำเร็จหรือล้มเหลว เมื่อหาไม่พบอาจจะย้อนไปค้นหาอีกครั้ง
  • เมื่อได้สารสนเทศก็จะนำไปใช้ตามวัตถุประสงค์

 

 

อ้างอิง siamfun.files.wordpress.com/2010/01/1information-behavior.ppt

guest profile guest

             ผู้บริโภคส่วนใหญ่ต้องการข้อมูลสารสนเทศที่มีความถูกต้องและแม่นยำ มีคุณภาพ รวดเร็ว โดยอยู่ในกรอบของความต้องการในแต่ละบุคคล ซึ่งแนวทางในการเลือกใช้ข้อมูลสารสนเทศ สามารถนำไปใช้ได้ในหลายๆด้าน โดยมีการวิเคราะห์และประเมินผลอย่างรอบคอบก่อนที่จะนำไปใช้หรือเผยแพร่

            การเติบโตของสารสนเทศได้มีจำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เราจึงสามารถนำความหลากหลายของสารสนเทศนำมาใช้งานในชีวิตประจำวันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ องค์ประกอบของสารสนเทศในปัจจุบันจึงเป็นตัวแปรสำคัญในการสร้างสรรค์สื่อในด้านต่างๆ ดังนั้นสารสนเทศที่ดีและมีคุณภาพจะต้องประกอบไปด้วยกระบวนการต่างๆที่นำหลักการความเป็นจริงไปสู่ผู้บริโภค ถ้าหากเรารับสารสนเทศที่ผิดไปจากความจริงก็จะทำให้เรารับข้อมูลจากแหล่งอื่นๆผิดพลาดเช่นกัน นวัตกรรมความรู้และความคิดจะต้องสอดคล้องกับการจัดการสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพและน่าเชื่อถือได้ แล้วทุกอย่างก็จะเป็นเรื่องง่ายในการเลือกใช้ทรัพยากรอย่างแท้จริง

กิจกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

-การเริ่มต้น Starting: the means employed by the user to begin seeking information, for example, asking some knowledgeable colleague;

-การเชื่อมโยง Chaining: following footnotes and citations in known material or 'forward' chaining from known items through citation indexes;        

-การสำรวจ Browsing: 'semi-directed or semi-structured searching' (Ellis, 1989: 187)

-การแยกแยะความแตกต่าง  Differentiating: using known differences in information sources as a way of filtering the amount of information obtained;

-การติดตามMonitoring: keeping up-to-date or current awareness searching;  

-การดึงหรือเลือกสารสนเทศออกมา Extracting: selectively identifying relevant material in an information source;

-การตรวจสอบ Verifying: checking the accuracy of information;

-การสิ้นการสืบค้น Ending: which may be defined as 'tying up loose ends' through a final search.

การแยกกิจกรรมการแสวงหาสารสนเทศของ Ellis 

  • ระดับจุลภาค micro-analysis of search behaviour (starting, chaining, extracting, verifying, ending)
  • ระดับมหาภาค macro-analysis of information behaviour generally (browsing, monitoring, differentiating)

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของ David Ellis

 

            ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์(The information seeking behavioral model of  social scientist)  ซึ่งเป็นตัวแบบพื้นฐานที่เอลลิสพัฒนาขึ้นมากจากผลการวิจัยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักวิชาการด้านสังคมศาสตร์ในปี ค.ศ.1987 และ ค.ศ.1988 ซึ่งตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของนักสังคมศาสตร์  ประกอบด้วย  พฤติกรรม (กิจกรรม) 6 ประการ ได้แก่

1)  การเริ่มต้น (starting)  เป็นการเริ่มต้นกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ  โดยอาจเป็นการทำงานชิ้นใหม่หรือสนใจศึกษาหาความรู้ในเรื่องใหม่  ซึ่งผู้แสวงหาสารสนเทศอาจเริ่มต้นจากการสอบถามเพื่อนร่วมงานหรือผู้รู้ การอ่านตำราพื้นฐานเรื่องนั้น ๆ  เป็นต้น

2)  การเชื่อมโยง (chaining)  เป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม  โดยอาจเป็นการเชื่อมโยงย้อนหลัง (backward chaining) คือเชื่อมโยงจากรายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรมในเอกสารที่มีอยู่  หรือการเชื่อมโยงข้างหน้า (forward chaining) คือเชื่อมโยงว่ามีเอกสารใดอ้างถึงเอกสารที่มีอยู่บ้าง

3)  การสำรวจเลือกดู (browsing)  เป็นการค้นหาโดยมีเรื่องที่ต้องการหรือสนใจอยู่อย่างกว้าง ๆ จึงต้องสำรวจบริการเวียนสารบัญวารสารในสาขาวิชาที่สนใจ เพื่อเลือกดูบทความที่อาจตรงกับความสนใจเฉพาะได้  เป็นการเลือกดูอย่างผ่าน ๆ  ซึ่งต่างจากการค้นแบบเฉพาะเจาะจง (specific searching) ที่ค้นจากหัวข้อหรือชื่อเรื่องโดยตรง

4)  การแยกแยะ (differentiating)  เป็นการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได้  โดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ  เช่น  ชื่อผู้แต่ง  ชื่อวารสาร  ฯลฯ  เป็นเกณฑ์เพื่อกรองสารสนเทศที่แสวงหาได้

5)  การตรวจตรา (monitoring)   เป็นการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม่ในสาขาวิชาหรือแวดวงวิชาการที่ตนสนใจและคุ้นเคย  เช่น  การติดตามจากรายชื่อหนังสือใหม่ของสำนักพิมพ์ในสาขาวิชานั้น ๆ  การติดตามอ่านวารสารบางรายชื่อทุกฉบับที่ตีพิมพ์ การติดต่อสื่อสารกับนักวิจัยหรือนักวิชาการที่ตนรู้จัก เป็นต้น

6)  การดึงสารสนเทศออกมา (extracting)  เป็นการดึงสารสนเทศที่ต้องการจากรายงานการวิจัย บทความวารสาร หนังสือ ฐานข้อมูลดัชนี หรือเอกสารประกอบการประชุม ซึ่งเป็นสารสนเทศเพียงบางส่วนในเอกสารที่สามารถนำไปใช้ได้ทันที เช่น สถิติคำกล่าวหรือคำพูดสำคัญ ผลการศึกษา ผลวิจัย ฯลฯ ผู้แสวงหาสารสนเทศจำเป็นต้องระบุเอกสารที่มีสารสนเทศที่ต้องการเสียก่อน จึงจะสามารถดึงสารสนเทศออกมาได้

อ้างอิง :

http://www.oknation.net/blog/travellers/2009/06/24/entry-1
http://www.stou.ac.th/schools/sla/master/room/upload/mis/Sailom_2548.doc

http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:aMOo3WAkHG4J:siamfun.files.wordpress.com/2010/01/1information-behavior.ppt

guest profile guest

ธอมัส ดี วิลสัน

 

(Thomas D.Wilson) เป็นอดีตศาสตราจารย์ด้านสารสนเทศศาสตร์ ณ

 

มหาวิทยาลัยเชฟฟิลด์ ประเทศอังกฤษ เขาสนใจด้านพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศและการศึกษา

ผู้ใช้สารสนเทศ และได้ทำการวิจัยเชิงคุณภาพจำนวนมาก โดยงานวิจัยล้วนมีผู้ใช้เป็นศูนย์กลางและ

เน้นกระบวนการในการแสวงหาและการใช้สารสนเทศในด้านต่างๆ เช่น นักศึกษาและการใช้

ห้องสมุด การแสวงหาสารสนเทศด้านสุขภาพ เป็นต้น

1.

 

ความหมายของพฤติกรรมสารสนเทศ

 

ในที่นี้จะเรียกพฤติกรรมทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศว่า

 

พฤติกรรมสารสนเทศ

 

(information behaviour)

 

พฤติกรรมสารสนเทศ หมายถึงพฤติกรรมทั้งมวลของบุคคลหนึ่ง ซึ่ง

 

เชื่อมโยงบุคคลผู้นั้นให้เข้าถึงแหล่งสารสนเทศต่างๆ โดยใช้ช่องทางในการเผยแพร่จากสื่อต่างๆ เช่น

การดูรายการสารคดีทางโทรทัศน์ ทั้งที่ไม่มีเจตนาจะรับสารสนเทศจากรายการนั้น เป็นต้น

 

(Wilson

 

2000: 50)

 

ดังนั้น พฤติกรรมสารสนเทศจึงเป็นคำที่มีความหมายกว้าง และเป็นการมองกิจกรรมของ

 

มนุษย์ในระดับมหภาคโดยครอบคลุมกิจกรรมสำคัญ

 

2 กิจกรรม คือ การค้นหาสารสนเทศที่ต้องการ

 

ด้วยวิธีใดๆ ก็ตาม และการใช้สารสนเทศหรือการส่งต่อสารสนเทศนั้นๆ ไปยังผู้อื่นต่อไป

แนวคิดเรื่อง

 

พฤติกรรมสารสนเทศนั้นเริ่มกล่าวถึงใน ค.. 1948 เมื่อมีการนำเสนอผล

 

การศึกษาพฤติกรรมของนักวิทยาศาสตร์และนักเทคโนโลยีในการแสวงหาและใช้สารสนเทศจาก

มุมมองของสถาบันบริการสารสนเทศและผู้ให้บริการสารสนเทศ แม้ว่าในการระยะแรก อาจยังมิ

เมีการใช้ศัพท์คำนี้ แต่นับได้ว่าเป็นจุดเริ่มของความสนใจศึกษาด้านดังกล่าว

นับแต่นั้นเป็นต้นมา มีการศึกษาและวิจัยวิธีและลักษณะการค้นหาและการใช้สารสนเทศ

ของผู้ใช้จำนวนมาก โดยในระยะแรก มุ่งเน้นผู้ใช้เฉพาะกลุ่ม เช่น นักวิทยาศาสตร์ นักเคมี เป็นต้น

เพื่อหาแนวทางในการจัดบริการด้านต่างๆ ให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ใช้มากที่สุด ในระยะหลัง มีการใช้

วิธีวิจัยเชิงคุณภาพอย่างแพร่หลายขึ้น และนำแนวคิดและทฤษฎีของศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น

จิตวิทยา สังคมวิทยา และนิเทศศาสตร์ มาเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย

วิลสันศึกษาความต้องการสารสนเทศ และพฤติกรรมอันเกิดจากความต้องการสารสนเทศ

ของบุคคล โดยมีฐานแนวคิดว่า

 

ความต้องการสารสนเทศของแต่ละบุคคลนั้นนำไปสู่พฤติกรรม

 

ต่างกัน

 

หรืออีกนัยหนึ่ง เขาไม่เห็นด้วยกับนักวิจัยด้านสารสนเทศศาสตร์จำนวนหนึ่งที่ว่า ผู้มีความ

 

ต้องการสารสนเทศต้องแสงหาสารสนเทศเสมอ ในทางกลับกัน เขาเชื่อว่า ความต้องการสารสนเทศ

ไม่จำเป็นต้องทำให้ผู้ใช้แสวงหาสารสนเทศเสมอไป เพราะอาจเกิดภาวะที่ขัดขวางหรือเป็นอุปสรรค

อันทำให้ไม่สามารถแสวงหาสารสนเทศที่สนองตอบความต้องการสารสนเทศของตนได้ เช่น ภาวะ

ด้านจิตใจ ภาวะแวดล้อม เป็นต้น


อ้างอิง http://home.kku.ac.th/hslib/malee/412731/document/TheoryInformationBehavior.pdf

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน

cl_km Icon ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ 41 อ่าน 8,766 13 ปีที่ผ่านมา
13 ปีที่ผ่านมา