ปัจจัยของมนุษย์สำหรับการอินเตอร์เฟส

cl_km profile image cl_km
ปัจจัยของมนุษย์สำหรับการอินเตอร์เฟส
ความคิดเห็น
guest profile guest

Interface หมายถึง :อินเตอร์เฟส จุดเชื่อมระหว่างตัวการ 2 ตัวซึ่งจะต้องปฏิบัติงานร่วมกัน หรือต้องอาศัยซึ่งกันและกัน ในการทำงานในทางคอมพิวเตอร์ จุดเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์เรียกว่า user interface. ซึ่งประกอบไปด้วย ไอคอน หรือภาพกราฟฟิก (อันเล็กๆ) คำสั่ง (command), prompt (เช่น C:\> _ , A:\> _ เป็นต้น) และเครื่องมืออื่นๆ ที่สามารถทำให้ผู้ใช้ (user) และคอมพิวเตอร์มีปฏิสัมพันธ์กันได้

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (ดั้งเดิมนิยมใช้คำว่าการสื่อสารระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ : Human-Computer Interface)

    * หมายถึงกระบวนการในการสื่อสาร ทำความเข้าใจกันระหว่างมนุษย์ซึ่งเป็นผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ถูกใช้

ปัจจัยที่ทำให้มนุษย์ใช้เครื่องมือ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดคือ

  • ความสามารถของเครื่องมือ
  • ความสามารถในการใช้เครื่องมือของมนุษย์

ความสามารถในการใช้เครื่องมือของมนุษย์

ขึ้นอยู่กับปัจจัย 2 ประการคือ

  1. ความซับซ้อนของวิธีใช้เครื่องมือ
  2. ขีดความสามรถและลักษณะในการทำงานตามธรรมชาติของมนุษย์

ที่มา

1.       http://webcache.googleusercontent.com

2.       http://docs.google.com/viewer


guest profile guest

Interface หมายถึง :อินเตอร์เฟส จุดเชื่อมระหว่างตัวการ 2 ตัวซึ่งจะต้องปฏิบัติงานร่วมกัน หรือต้องอาศัยซึ่งกันและกัน ในการทำงานในทางคอมพิวเตอร์ จุดเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์เรียกว่า user interface. ซึ่งประกอบไปด้วย ไอคอน หรือภาพกราฟฟิก (อันเล็กๆ) คำสั่ง (command), prompt (เช่น C:\> _ , A:\> _ เป็นต้น) และเครื่องมืออื่นๆ ที่สามารถทำให้ผู้ใช้ (user) และคอมพิวเตอร์มีปฏิสัมพันธ์กันได้

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (ดั้งเดิมนิยมใช้คำว่าการสื่อสารระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ : Human-Computer Interface)

    * หมายถึงกระบวนการในการสื่อสาร ทำความเข้าใจกันระหว่างมนุษย์ซึ่งเป็นผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ถูกใช้

ปัจจัยที่ทำให้มนุษย์ใช้เครื่องมือ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดคือ

  • ความสามารถของเครื่องมือ
  • ความสามารถในการใช้เครื่องมือของมนุษย์

ความสามารถในการใช้เครื่องมือของมนุษย์

ขึ้นอยู่กับปัจจัย 2 ประการคือ

  1. ความซับซ้อนของวิธีใช้เครื่องมือ
  2. ขีดความสามรถและลักษณะในการทำงานตามธรรมชาติของมนุษย์

ที่มา

1.       http://webcache.googleusercontent.com

2.       http://docs.google.com/viewer


guest profile guest

1.ปัจจัยของมนุษย์สำหรับการอินเตอร์เฟส

การอินเตอร์เฟส หมายถึง

- ฟอร์มที่ใช้ติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้ ทำให้ผู้ใช้สามารถกดติดต่อสื่อสารได้ เช่นการเปิดคอมเพื่อ่าน เพื่อพิมอะไรบางอย่าง สื่อสารต่างๆ หน้าทั้งหมดที่เราเห็นนี้ หรือเว็บอื่นๆที่เราเห็นมันตรงหน้า เพื่อกด เพื่อเข้า เพื่อพิมพ์เรียกว่า สิ่งเหล่านี้ เรียกว่า"Interface" 

- การทำงานติดต่อร่วมกันระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์อื่นๆกับการโอนถ่ายข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ นอกเหนือจากจะต้องทำงานติดต่อกับ RAM, ROM แล้วยังต้องมีการติด่อกับอุปกรณ์ภายนอกที่มีการส่งข้อมูลInput, Output อีกทางหนึ่ง ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบสมบูรณ์ ในระบบต่างของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จะทำงานต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ ดังเช่น การส่งรับข้อมูลจากซีพียูไปยังส่วนอื่นๆ เป็นต้น
- จุดเชื่อมระหว่างตัวการ 2 ตัวซึ่งจะต้องปฏิบัติงานร่วมกัน หรือจะต้องอาศัยซึ่งกันและกันในการทำงานในทางด้านคอมพิวเตอร์ โดยจุดเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์เรียกว่า user interface ซึ่งจะทำให้ผู้ใช้สามารถปฎิสัมพันธ์กับคอมพิวเตอร์ได้

 

 ปัจจัยของมนุษย์สำหรับการอินเตอร์เฟส 
- สอดคล้อง/
รองรับ พฤติกรรมการค้นคว้าของผู้ใช้ เช่น สะดุดตา สะดุดใจ สะดวก สบาย รวดเร็ว
- เชื่อมโยงข้อมูลที่เป็นประโยชน์ไว้ด้วยกันทั้งหมด


ที่มา
www.guru.google.coth.
www.docstoc.com
สอบถามผู้รู้

guest profile guest

ปัจจัยของมนุษย์สำหรับการอินเตอร์เฟส

Interface (อินเตอร์เฟส) หมายถึงจุดเชื่อมระหว่างตัวการ 2 ตัวซึ่งจะต้องปฏิบัติงานร่วมกัน หรือต้องอาศัยซึ่งกันและกัน ในการทำงานในทางคอมพิวเตอร์ จุดเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์เรียกว่า user interface. ซึ่งประกอบไปด้วย ไอคอน หรือภาพกราฟฟิก (อันเล็กๆ) คำสั่ง (command), prompt (เช่น C:\> _ , A:\> _ เป็นต้น) และเครื่องมืออื่นๆ ที่สามารถทำให้ผู้ใช้ (user) และคอมพิวเตอร์มีปฏิสัมพันธ์กันได้

อินเตอร์เฟส เป็นการทำงานติดต่อร่วมกันระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์อื่นๆ กับการโอนถ่ายข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ นอกเหนือจากจะต้องทำงานติดต่อกับ RAM, ROM แล้วยังต้องมีการติดด่อกับอุปกรณ์ภายนอกที่มีการส่งข้อมูลอินพุท, เอาท์พุทอีกทางหนึ่ง ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบสมบูรณ์ ในระบบต่างของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จะทำงานต่อเนื่องเป็นลูกโซ่
หลักการทำงาน คือ การที่จะโอนย้ายข้อมูลทุกตัวนั้นจะต้องมีแหล่งที่ส่งข้อมูล และแหล่งที่รับข้อมูลสำหรับขบวนการเหล่านั้น จะมีส่วนที่สำคัญกว่า ข้อมูลนั้นเป็น แอดเดรสหรือว่าเป็นดาต้า จะส่งไปยังจุดไหน และจะส่งเมื่อไร การทำงานเหล่านี้โดยทั่วๆไป จะต้องมีสัญญาณ ในการตรวจสอบอุปกรณ์ว่าพร้อมที่จะส่ง/รับข้อมูล หรือยังก่อนเสมอ เนื่องจากจุดที่ส่งและรับ ข้อมูล จะต้องมีสัญญาณตรวจสอบความพร้อมเสมอเพื่อที่จะให้ข้อมูลที่เราใช้งานนั้นๆ เป็นระเบียบ ซึ่งจุดรับส่งคู่หนึ่งๆ อาจจะเป็นระหว่างซีพียูด้วยกัน หรือ ซีพียูกับหน่วยความจำ หรือ ซีพียูกับอุปกรณ์รอบข้าง หรือ ระหว่างอุปกรณ์รอบข้างด้วยกัน หรือ ระหว่างหน่วยความจำกับอุปกรณ์รอบข้าง ก็ได้ สำหรับข้อมูลที่โอนย้ายไปมานั้นจะอยู่ในลักษณะของเลขฐาน ขึ้นอยู่กับของระบบนั้นๆ ถ้าหากเป็นการต่อจากพอร์ตพีซีไม่ว่าจะเป็น Serial หรือ Parallel ในสัญญาณที่ส่งมาจะมีระบบแรงดันไฟฟ้า และเป็นการเชื่อมระหว่างตัวการ 2 ตัวซึ่งจะต้องปฏิบัติงานร่วมกัน ต้องอาศัยซึ่งกัน ในการทำงานในทางคอมพิวเตอร์ ต้องประกอบด้วยผู้ใช้งานเละโปรแกรมต่างๆหรือเครื่องมืออื่นๆ ที่สามารถทำให้ผู้ใช้ (user) ทำงานร่วมกันได้และสามารถตืดต่อกันภายนอกได้

ที่มา http://www.bcoms.net/webboard/detail.asp?id=29127

       http://www.kanid.com/comcab.php?cID=9

guest profile guest

uur interface

Interface

        Interface คือ การกำหนดความสามารถของ object ใน OOP ซึ่ง class ใด implement interface ก็เป็นการสัญญาว่าจะมีความสามารถตามที่ interface กำหนดไว้ พูดง่ายๆก็คือ เป็นการแยก specification ออกจาก ส่วน implementation ของ class นั่นเอง ดังนั้นการติดต่อกับ object ที่สร้างขึ้นจาก class ดังกล่าวต้องผ่าน interface เท่านั้น

      C# สนับสนุนการทำงานแบบ inerface โดยใช้ keyword interface

using System;

interface IMath{
    int
add ( int x, int y );
}

class Math : IMath
{
public int
add(int x, int y)
    {
return
x+y;
    }
}

class Test
{
public static void
Main()
    {
Math m
= new Math();
        IMath im
= new IMath;
        im
= m;
        Console
.WriteLine ("The result is " + im.add( 5 ,6 ));
    }
}

output :

The result is 11

 

interface นั้นเป็น abstract data type ซึ่งไม่สามารถ instantiate ได้ การใช้งานจะต้องสร้าง object ก่อน (เช่น Math) แล้ว ให้ reference ของ interface ชี้ไปยัง object นั้น

class หลายๆ class สามารถ implement interface เดียวกันได้ โดยแต่ละ class ก็มีส่วน implementation แตกต่างกันไป ซึ่งการเรียก method ของ interface จะขึ้นอยู่กับ ชนิดของ object ที่ interface ผูกติดอยู่ หมายความว่า interface สามารถทำ polymorphism ได้ เช่น เดียวกับกลไกของ virtual function ของ class ธรรมดานั่นเอง

using System;
interface Shape{

    void
draw();
}
class Circle : Shape
{
public void
draw()
    {
Console
.WriteLine("draw circle");
    }
}
class Triangle : Shape
{
public void
draw()
    {
Console
.WriteLine("draw shape");
    }
}
class Test
{
public static void
Main()
    {
Shape shape
;
    Circle circle
= new Circle();
    Triangle triangle
= new Triangle();
    shape
= circle;
    shape
.draw();
    shape
= triangle;
    shape
.draw();
    }
}

output :

draw circle

draw shape

polymorphism เกิดขึ้นได้เพราะเมื่อ superclass reference ชี้ไปยัง subclass object ทำให้ การตัดสินใจว่าจะ execute method code ไหน จะเกิดขึ้นตอน runtime ซึ่งเหตุการณ์แบบนี้ เรียกว่า dynamic method binding หรือ late binding นั่นเอง

method ที่ทำ polymorphism ต้องเป็น method ที่เป็น virtual , abstract หรือเป็น method ของ interface เท่านั้น


http://dotnetdev.netfirms.com/Interface.htm
user Interface
หมายถึง :
ส่วนของโปรแกรม ซึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์มีปฏิสัมพันธ์ด้วย ตัวอย่างเช่น เมื่อผู้ใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน โดยใช้พิมพ์คำสั่งลงไปด้วยแป้นพิมพ์ และโปรแกรมก็ตอบสนองผู้ใช้ด้วยการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง เราพูดได้ว่าโปรแกรมนั้นมี command – line interface และถ้าการสั่งให้โปรแกรมปฏิบัติงานนั้น ผู้ใช้สั่งโดยการเลือกตัวเลือกจากเมนูบาร์ (menu bar) โปรแกรมนั้นมี menu – driven interface ในโปรแกรมซึ่งมีภาพกราฟิก หรือ icon เพื่อให้ผู้ใช้ใช้เครื่องชี้ เช่น เม้าส์ เลือกชี้เพื่อสั่งให้โปรแกรมปฏิบัติงานโปรแกรมนั้นมี graphical user interface

http://www.kanid.com/comvocab.php?cID=21

 

guest profile guest

u
1

ur
interface


Interface

        Interface คือ การกำหนดความสามารถของ object ใน OOP ซึ่ง class ใด implement interface ก็เป็นการสัญญาว่าจะมีความสามารถตามที่ interface กำหนดไว้ พูดง่ายๆก็คือ เป็นการแยก specification ออกจาก ส่วน implementation ของ class นั่นเอง ดังนั้นการติดต่อกับ object ที่สร้างขึ้นจาก class ดังกล่าวต้องผ่าน interface เท่านั้น

      C# สนับสนุนการทำงานแบบ inerface โดยใช้ keyword interface

using System;

interface IMath{
    int
add ( int x, int y );
}

class Math : IMath
{
public int
add(int x, int y)
    {
return
x+y;
    }
}

class Test
{
public static void
Main()
    {
Math m
= new Math();
        IMath im
= new IMath;
        im
= m;
        Console
.WriteLine ("The result is " + im.add( 5 ,6 ));
    }
}

output :

The result is 11

 

interface นั้นเป็น abstract data type ซึ่งไม่สามารถ instantiate ได้ การใช้งานจะต้องสร้าง object ก่อน (เช่น Math) แล้ว ให้ reference ของ interface ชี้ไปยัง object นั้น

class หลายๆ class สามารถ implement interface เดียวกันได้ โดยแต่ละ class ก็มีส่วน implementation แตกต่างกันไป ซึ่งการเรียก method ของ interface จะขึ้นอยู่กับ ชนิดของ object ที่ interface ผูกติดอยู่ หมายความว่า interface สามารถทำ polymorphism ได้ เช่น เดียวกับกลไกของ virtual function ของ class ธรรมดานั่นเอง

using System;
interface Shape{

    void
draw();
}
class Circle : Shape
{
public void
draw()
    {
Console
.WriteLine("draw circle");
    }
}
class Triangle : Shape
{
public void
draw()
    {
Console
.WriteLine("draw shape");
    }
}
class Test
{
public static void
Main()
    {
Shape shape
;
    Circle circle
= new Circle();
    Triangle triangle
= new Triangle();
    shape
= circle;
    shape
.draw();
    shape
= triangle;
    shape
.draw();
    }
}

output :

draw circle

draw shape

polymorphism เกิดขึ้นได้เพราะเมื่อ superclass reference ชี้ไปยัง subclass object ทำให้ การตัดสินใจว่าจะ execute method code ไหน จะเกิดขึ้นตอน runtime ซึ่งเหตุการณ์แบบนี้ เรียกว่า dynamic method binding หรือ late binding นั่นเอง

method ที่ทำ polymorphism ต้องเป็น method ที่เป็น virtual , abstract หรือเป็น method ของ interface เท่านั้น


http://dotnetdev.netfirms.com/Interface.htm
user Interface
หมายถึง :
ส่วนของโปรแกรม ซึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์มีปฏิสัมพันธ์ด้วย ตัวอย่างเช่น เมื่อผู้ใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน โดยใช้พิมพ์คำสั่งลงไปด้วยแป้นพิมพ์ และโปรแกรมก็ตอบสนองผู้ใช้ด้วยการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง เราพูดได้ว่าโปรแกรมนั้นมี command – line interface และถ้าการสั่งให้โปรแกรมปฏิบัติงานนั้น ผู้ใช้สั่งโดยการเลือกตัวเลือกจากเมนูบาร์ (menu bar) โปรแกรมนั้นมี menu – driven interface ในโปรแกรมซึ่งมีภาพกราฟิก หรือ icon เพื่อให้ผู้ใช้ใช้เครื่องชี้ เช่น เม้าส์ เลือกชี้เพื่อสั่งให้โปรแกรมปฏิบัติงานโปรแกรมนั้นมี graphical user interface

http://www.kanid.com/comvocab.php?cID=21

 

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (ดั้งเดิมนิยมใช้คำว่าการสื่อสารระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ : Human-Computer Interface)

    * หมายถึงกระบวนการในการสื่อสาร ทำความเข้าใจกันระหว่างมนุษย์ซึ่งเป็นผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ถูกใช้

ปัจจัยที่ทำให้มนุษย์ใช้เครื่องมือ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดคือ

  • ความสามารถของเครื่องมือ
  • ความสามารถในการใช้เครื่องธรรมชาติของมนุษย์

      http://webcache.googleusercontent.com-[endifhttp://docs.google.com/viewer

 

guest profile guest

    อินเตอร์เฟส (Interface) หมายถึง การเชื่อมต่อ ถ้าเป็นการเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์จะเรียกการเชื่อมต่อนั้นว่า ยูสเซอร์อินเตอร์เฟส (User Interface) ซึ่งโดยปกติจะหมายถึง ส่วนของหน้าจอที่ผู้ใช้ส่ง (ติดต่อ) ให้คอมพิวเตอร์ทำงาน แต่ในการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ การเชื่อมต่อยังรวมไปถึงวัตถุ(Object) เพราะในวัตถุจะต้องมีอินเตอร์เฟส อันเป็นส่วนที่วัตถุนั้นๆ จะให้บริการหรือเป็นส่วนที่บอกว่าวัตถุนั้นๆ สามารถทำอะไรได้บ้าง ซึ่งบางครั้งเรียกว่า เมธทอด (Method
แนวความคิดเกี่ยวกับปัจจัยของมนุษย์และการออกแบบอินเตอร์เฟสที่เกี่ยวข้องกับศักยภาพของทั้งมนุษย์และคอมพิวเตอร์ระบบการให้ความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหารูปแบบการปฏิสัมพันธ์และหลักการออกแบบที่มองเห็นได้แบบจําลองการอินเตอร์เฟสสําหรับผู้ใช้ และเครื่องมือที่นํามาพัฒนาผลกระทบของเทคโนโลยีที่มีต่อมนุษย์ วางแผนในการเลือกใช้เทคโนโลยี การนํามาปฏิบัติและการใช้เทคโนโลยีเพื่อให้ผลกระทบปรากฏออกมาในเชิงบวก
อินเตอร์เฟสสําหรับผู้ใช้ หรือ หน้าตาของ Softwareที่เราใช้ เพื่อที่ผู้ใช้ สามารถใช้ Computer ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การออกแบบ User Interface มีวัตถุประสงค์หลัก ดังนี้
1. มีลักษณะเป็นหน้าต่างและคำสั่งในการทำงานคล้ายโปรแกรมทั่วๆไปที่ Run บน Windows เพราะ
ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่คุ้นเคยกับการใช้ Windows อยู่แล้วทำให้ผู้ใช้สามารถใช้โปรแกรมได้สะดวกมากขึ้น
2. การรับคำสั่งจากผู้ใช้เน้นที่การกดปุ่มที่ได้เตรียมไว้ให้ โดยปุ่มจะมีข้อความหรือรูปภาพที่สื่อความหมาย
ของคำสั่งให้ได้มากที่สุด ผู้ใช้เพียงแต่คลิกเมาส์ที่ปุ่มคำสั่งก็สามารถใช้งานโปรแกรมได้โดยไม่ต้องจดจำคำสั่ง
และพิมพ์คำสั่งเอง
3. เพื่อความสะดวกในการใช้งาน สามารถเลือกความเร็วในการแสดงจากลำดับรายการ
4. ผู้ใช้จะป้อนข้อความที่จะแสดงออกได้ที่ช่องข้อความ
5. ใช้สีสันสวยงามดึงดูดใจให้น่าใช้

การออกแบบ  User Interface

- สอดคล้อง/รองรับ พฤติกรรมการค้นคว้าของผู้ใช้   เช่น สะดุดตา สะดุดใจ สะดวก สบาย รวดเร็ว

- เชื่อมโยงข้อมูลที่เป็นประโยชน์ไว้ด้วยกันทั้งหมด

www.tiac.or.th/slg/วรนุช1.ppt
http://campus.en.kku.ac.th/project/2003/COE2003-09/conceptual.htm

1521051122157 profile 1521051122157
อินเตอร์เฟส (Interface) คือ การทำงานติดต่อร่วมกันระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์อื่นๆกับการโอนถ่ายข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ นอกเหนือจากจะต้องทำงานติดต่อกับ RAM, ROM แล้วยังต้องมีการติด่อกับอุปกรณ์ภายนอกที่มีการส่งข้อมูลInput, Output อีกทางหนึ่ง ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบสมบูรณ์ ในระบบต่างของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จะทำงานต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ ดังเช่น การส่งรับข้อมูลจากซีพียูไปยังส่วนอื่นๆ และ การเชื่อมต่อระหว่าง คอมพิวเตอร์ ที่ถ่ายโอนข้อมูลจากกันและกันได้ แต่มักนำมาใช้ในความหมายของ user interface ที่แปลว่า การติดต่อประสานระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับผู้ใช้ เช่น แป้นพิมพ์, จอภาพ ต่างก็เป็นตัวประสานกับผู้ใช้ทั้งสิ้น

ปัจจัยที่ให้มนุษย์ สร้าง อินเตอร์เฟส นั้นเพื่อช่วยให้การทำงานต่างๆของมนุษย์นั้นมีความสามารถยิ่งขึ้น สามารถป้องกันข้อมูลต่างๆได้มากยิ่งขึ้นเช่นการทำ ไอค่อน รูปต่างๆ ก่อนจะดาวโหลด ที่ผู้ใช้ต้องพิมข้อความตามรูปถึงจะเข้าถึงฐานข้อมูลนั้น

1521051122157 นาย วรพงศ์ ตฤษณามณีวงศ์
guest profile guest

interface เป็นตัวช่วยเชื่อมผู้ใช้งานให้สามารถติดต่อสื่อสารกับอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ต่างๆได้

ปัจจัยที่เกี่ยวกับมนุษย์ในการ interface
(
Human factors in interface design)

  1. Limited short-term memory  คนสามารถจำ information ได้เพียงแค่ 7 อย่างในเวลาเดียวกัน ถ้านำเสนอข้อมูลมาก ผู้ใช้อาจรับไม่ได้ทั้งหมด
  2. People make mistakes  คนทำผิดได้ ไม่เพิ่มความบีบคั้น ที่จะทำให้เกิดความผิดพลาดมากขึ้น
  3. People are different คนมีความสามารถที่แตกต่างกันผู้ออกแบบไม่ควรตัดสินจากความสามารถของตนเอง
  4. People have different interaction preferences บางคนชอบ pictures บางคนชอบ text

หลักการออกแบบ user interface
(User interface design principles)

  1. ความคุ้นเคยของผู้ใช้ (User familiarity) ควรจะอยู่บนพื้นฐานแนวคิดและคำศัพท์ของผู้ใช้ไม่ใช่คำทางคอมพิวเตอร์
  2. ความคงเส้นคงวา (Consistency) ระบบควรมีความคงเส้นคงวาในระดับที่เหมะสม Commands และ menus ควรมี format ที่ตรงกัน เหมือนกัน
  3. ความประหลาดใจน้อยสุด (Minimal surprise) ถ้าคำสั่งถูกใช้ตามแนวทางที่เป็นที่รับรู้กัน  ผู้ใช้จะสามารถคาดเดาผลการทำงานของคำสั่งนั้นได้
  4. ความสามารถในการกู้คืน (Recoverability) ระบบควรออกแบบให้มีความสามารถในการคืนกลับที่เดิมต่อการทำผิดของ user และยอมให้ user กู้คืนจาก  errors ได้
  5. การแนะนำผู้ใช้ (User guidance) ควรมีการแนะนำผู้ใช้เช่น
  6. ความแตกต่างของผู้ใช้ (User diversity) จัดการใช้งานในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ใช้แต่ละระดับ

http://deknaiwang.multiply.com/journal/item/7/Interface_design

classweb.tu.ac.th/classes/491/...cs381.../ooad07_UI_Design.ppt

guest profile guest
กห

ปัจจัยของมนุษย์สำหรับการอินเตอร์เฟส

อินเตอร์เฟส (Interface)

คือ จุดเชื่อมระหว่างตัวการ 2 ตัว  ซึ่งจะต้องปฏิบัติงานร่วมกัน  หรือต้องอาศัยซึ่งกันและกัน ในการทำงานในทางคอมพิวเตอร์  จุดเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์เรียกว่า user interface.  ซึ่งประกอบไปด้วย ไอคอน หรือภาพกราฟฟิก (อันเล็กๆ)  คำสั่ง (command),  prompt (เช่น C:> _ , A:> _ เป็นต้น)  และเครื่องมืออื่นๆ ที่สามารถทำให้ผู้ใช้ (user)  และคอมพิวเตอร์มีปฏิสัมพันธ์กันได้

อินเตอร์เฟส (Interface)  เปรียบเสมือนกันการเชื่อมกันของสิ่งสองสิ่ง ไม่ว่าจะเป็นระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ เครื่องจักรกับคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้ไฟฟ้ากับคอมพิวเตอร์ เป็นต้น 

ปัจจัยของมนุษย์ในการอินเตอร์เฟส   คือการที่จะให้มนุษย์สามารถทำงานกับระบบคอมพิวเตอร์ได้อย่างง่ายดาย  ซึ่งที่จริงแล้ว การจะสื่อสารกับคอมพิวเตอร์นั้นเป็นสิ่งที่ซับซ้อน จึงต้องสร้างการอินเตอร์เฟส  เพื่อให้มนุษย์สามารถทำงานกับคอมพิวเตอร์ได้ตามความต้องการของมนุษย์
การพัฒนาของอินเตอร์เฟส   ในสมัยก่อนจะมีการอินเตอร์เฟสกับหน้าจอและแป้นพิมพ์ซะส่วนใหญ่  แต่ในปัจจุบันมีการอินเตอร์เฟสที่ทันสมัยมากขึ้นกว่าสมัยก่อน เช่น การใช้ระบบสัมผัส  การใช้คำสั่งเสียง การใช้สัญญาณไวเลส เป็นต้น

การใช้งาน Interface   คือ การเขียนโปรแกรมเล็กๆไว้ใช้เองคนเดียว และเขียนโค้ดด้วยตนเองทั้งหมด คงไม่จำเป็นต้องใช้ interface  แต่ถ้าเขียนโปรแกรมซับซ้อนขึ้น  หรือทำงานเกี่ยวข้องกับหลายฝ่าย หลายหน่วยงาน  บางครั้งการใช้ interface ก็เป็นสิ่งจำเป็น  หรือเป็นสิ่งที่ช่วยให้เขียนโปรแกรมได้กระชับขึ้น หรือมีมาตรฐานดีขึ้น  หากเป็นซอฟท์แวร์ระบบงานขนาดใหญ่ ที่เขียนโดยนักเขียนโค้ดหลายกลุ่ม ผู้ควบคุมงานหรือผู้ออกแบบซอฟท์แวร์อาจใช้ interface เป็นเครื่องมือช่วยควบคุมการเขียนโค้ดของแต่ละฝ่ายให้ประสานกันได้

ต่อไปลองพิจารณาเหตุการณ์ต่อไปนี้  เราเขียนคลาสหลักคลาสหนึ่ง (สมมุติว่าชื่อคลาส BackUp) ทำหน้าที่เก็บสำรองข้อมูล  โดยมีจุดหนึ่งในคลาส BackUp ที่เราต้องการบีบอัดข้อมูลก่อนนำไปเก็บ  สมมุติว่าเราสร้างคลาสบริการชื่อ MakeZip  ทำหน้าที่บีบอัดข้อมูลแบบ zip เมื่อต้องการบีบข้อมูลเราจึงใช้คำสั่งดังนี้

    MakeZip myZip = new MakeZip();
    myZip.Compress(data);

 


แหล่งที่มา

http://samphan.ob.tc/-View.php?N=1

http://th.wikipedia.org/wiki/ส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้

http://thai-cs.spaces.live.com/blog/cns!4D52C1812766D2D7!397.entry

guest profile guest

ปัจจัยของมนุษย์สำหรับการอินเตอร์เฟส


Interfaces
    คือติดต่อเป็นจุดระหว่างสองระบบหรือการทำงานกลุ่มในสภาพแวดล้อมการผลิต,การติดต่อและประสานงานระหว่างจำนวนกลุ่มทำงานแผนการสื่อสารและกิจกรรมการผลิตการควบคุม ปฏิสัมพันธ์นี้สามารถมาในรูปแบบของตาราง, มนุษย์ปฏิสัมพันธ์ระบบคอมพิวเตอร์หรือสื่ออื่น ๆ ในการติดต่อสื่อสาร ติดต่อทางคือเชื่อมต่อระหว่างสองรายการของฮาร์ดแวร์

ปัจจัยของมนุษย์ในการอินเตอร์เฟส   คือการที่จะให้มนุษย์สามารถทำงานกับระบบคอมพิวเตอร์ได้อย่างง่ายดาย  ซึ่งที่จริงแล้ว การจะสื่อสารกับคอมพิวเตอร์นั้นเป็นสิ่งที่ซับซ้อน จึงต้องสร้างการอินเตอร์เฟส  เพื่อให้มนุษย์สามารถทำงานกับคอมพิวเตอร์ได้ตามความต้องการของมนุษย์การพัฒนาของอินเตอร์เฟส

Interfaces ในทางปฏิบัติชิ้นส่วนของซอฟต์แวร์เพื่อเข้าใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ (เช่นหน่วยความจำ, CPU, เก็บ, ฯลฯ ) โดยระบบคอมพิวเตอร์ของต้นแบบ ว่างของทรัพยากรเหล่านี้ไปยังโปรแกรมอื่น ๆ จะมีคนร้าย ramifications - บางครั้งสำคัญสำหรับการทำงานและความมั่นคงของ หลักการสำคัญของการออกแบบคือการห้ามการเข้าถึงทรัพยากรโดยค่าเริ่มต้นให้ใช้เฉพาะทางทั้งกำหนดจุดเข้า, interfaces

 Interfaces ซอฟต์แวร์ interfaces ใช้ช่วยให้การดำเนินการตามรูปแบบการเขียนโปรแกรมที่เรียกว่าโปรแกรม interfacesต่อแนวคิดเบื้องหลังนี้คือฐานหนึ่งตรรกะพัฒนาในความหมายอินเตอร์เฟสเดียวของวัตถุหนึ่งใช้และรหัสไม่ให้ขึ้นอยู่กับรายละเอียดภายในโปรแกรมนี้จะช่วยให้ความสามารถในภายหลังเปลี่ยนแปลงการทำงานของระบบโดยเพียงการแลกเปลี่ยนวัตถุอื่นที่ใช้กับการใช้อินเตอร์เฟสเดียวกัน

Interfaces Hardware อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ระหว่างหลายองค์ประกอบต่างๆเช่น รถ, อุปกรณ์จัดเก็บข้อมู , อื่นๆ I/Oอุปกรณ์ ฯลฯ การติดต่อกับฮาร์ดแวร์อธิบายโดยกลสัญญาณไฟฟ้าและตรรกะที่อินเตอร์เฟสและโปรโตคอลสำหรับลำดับนั้น (บางครั้งเรียกว่าการส่งสัญญาณ) อินเตอร์เฟสมาตรฐานเช่น SCSI , decouples

 

 

 

ที่มา     http://en.wikipedia.org/wiki/Interface_(computer_science)

guest profile guest

การอินเตอร์เฟสกับคอมพิวเตอร์หรือไมโครโปรเซสเซอร์

    คือ การทำงานติดต่อร่วมกันระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์อื่นๆกับการโอนถ่ายข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ นอกเหนือจากจะต้องทำงานติดต่อกับ RAM,ROM แล้วยังต้องมีการติด่อกับอุปกรณ์ภายนอกที่มีการส่งข้อมูลอินพุท,เอาท์พุทอีกทางหนึ่ง ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบสมบูรณ์ ในระบบต่างของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

จะทำงานต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ ดังเช่น การส่งรับข้อมูลจากซีพียูไปยังส่วนอื่นๆ เป็นต้น

    การที่จะโอนย้ายข้อมูลทุกตัวนั้นจะต้องมีแหล่งที่ส่งข้อมูล และแหล่งที่รับข้อมูลสำหรับขบวนการเหล่านั้น จะมีส่วนที่สำคัญว่า ข้อมูลนั้นเป็น แอดเดรสหรือว่าเป็นดาต้า จะส่งไปยังจุดไหน ตัวอย่างเช่น ส่งไปยังหน่วยความจำ หรืออุปกรณ์อินพุต/เอาท์พุต และจะส่งเมื่อไร การทำงานเหล่านี้โดยทั่วๆไป จะต้องมีสัญญาณ ในการตรวจสอบอุปกรณ์ว่าพร้อมที่จะส่ง/รับข้อมูล หรือยังก่อนเสมอ เนื่องจากจุดที่ส่งและรับ ข้อมูล จะต้องมีสัญญาณตรวจสอบความพร้อมเสมอเพื่อที่จะให้ข้อมูลที่เราใช้งานนั้นๆ เป็นระเบียบ ตัวอย่างเช่น ส่งข้อมูลจากซีพียูไปที่อุปกรณ์รอบข้าง เป็นต้น ซึ่งจุดรับส่งคู่หนึ่งๆ อาจจะเป็นระหว่างซีพียูด้วยกัน หรือ ซีพียูกับหน่วยความจำ หรือ ซีพียูกับอุปกรณ์รอบข้าง หรือ ระหว่างอุปกรณ์รอบข้างด้วยกัน หรือ ระหว่างหน่วยความจำกับอุปกรณ์รอบข้าง ก็ได้ สำหรับข้อมูลที่โอนย้ายไปมานั้นจะอยู่ในลักษณะของเลขฐานสอง ตัวอย่างเช่น -->01101100 2 ซึ่งเลขแต่ละตัวจะแทนด้วย 1 bit อาจเป็น 8 bit หรือ 16 bit ก็ขึ้นอยู่กับของระบบนั้นๆ ถ้าหากเป็นการต่อจากพอร์ตพีซีไม่ว่าจะเป็น Serial หรือ Parallel ในสัญญาณที่ส่งมาจะมีระบบแรงดันไฟฟ้า
- Serail port(RS-232) --> ~+-3 ถึง +-25 Vdc
- Parallel port(Printer port) -->~5 Vdc(TTL) ต่อ 1 bit
จะเห็นได้ว่าระดับสัญญาณแรงดันไฟฟ้าที่ยกมาให้ดูนี้ เราสามารถที่จะควบคุมและนำมาใช้กับอุปกรณ์รอบข้างหรืออุปกรณ์ภายนอกได้ ดังจะยกตัวอย่าง เช่น Parallel(Printer port) ระดับแรงดันไฟฟ้า ~5 Vdc สามารถนำ มาใช้ในการขับรีเลย์,ทรานซิเตอร์,หลอดไฟ~5 Vdc หรือ LED ให้ทำงานได้ โดยการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ไปควบคุมที่พอร์ต Printer เป็นต้น
ดังนั้นการที่จะนำพีซีมาประยุกต์ใช้งานให้เกิดประสิทธิผลกับชีวิตประจำวันนั้นเป็นไปได้หลายวิธี อีกทั้งฮาร์ดแวร์ต่างๆของพีซีที่มีอยู่กับเครื่องสามารถใช้ ให้เกิดประโยนช์ได้ในหลายๆด้าน เพราะฉะนั้นผมจะกล่าวสิ่งที่ควรจะต้องรู้ต่อไปของการใช้พีซีติดต่ออุปกรณ์(PC Interface Hardware) ก็คือการเชื่อมต่ออุปกรณ์กับพอร์ตต่อพวงของพีซีชนิดต่างๆและระบบของการติดต่อสื่อสารของพีซี ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้

การเชื่อมติดต่ออุปกรณ์เข้ากับคอมพิวเตอร์

1.Connecter ที่อยู่ภายนอก ส่วนใหญ่จะอยู่ข้างหลังเครื่องคอมพิวเตอร์

- พอร์ตต่อคีย์บอร์ด หรือ อาจเรียกกันว่า PS/2,mini-DIN

- พอร์ตต่อเมาส์ หรือ อาจเรียกกันว่า PS/2,mini-DIN

- พอร์ตต่อจอภาพ

- พอร์ตต่ออนุกรม อาจเรียก Serial Port ,Com port(Com1,Com2) ใช้ในระบบติดต่อสื่อสาร RS-232   

- พอร์ตต่อขนาน อาจเรียก Parallel Port,Printer port(LPT1,LPT2) ส่วนใหญ่จะใช้พ่วงต่อกับเครื่องพิมพ์(Printer)   

- พอร์ตต่อจอยสติก ส่วนมากที่เห็นจะอยู่ที่เซาว์การ์ดเป็นส่วนใหญ่

- พอร์ตต่อโมเด็ม ตัวคอนเน็กเตอร์จะเป็นประเภทเดีวยกับสายสัญญาณโทรศัพท์

- พอร์ตUSE(Universal Serial Bus) เป็นพอร์ตรุ่นใหม่ที่สามารถพ่วงอุปกรณ์ได้มากเริ่มว่างตลาดเช่น เมาร์,คีย์บอร์ด,โมเด็ม,กล้องดิจิตอล เป็นต้น

- พอร์ตเชื่อมต่อระบบเครือข่าย จะมากับการ์ดแลด์ เรียก พอร์ตRJ-45

- พอร์ต SCSI(Small Computer System Interface) มักใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ที่ต้องการความเร็วสูง อาจจะได้ยินมาจากชนิดของฮาร์ดดิส

2. Connecter ที่อยู่ภายนอก ส่วนใหญ่จะอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์

- EIDE(Enhanced Intergrated Drive Electronics) สายเชื่อมต่อกับฮาด์รดิส

- SCSI(Small Computer System Interface) โดยมากจะมากับกาด์รที่เป็นแบบสกัซซี

- ฟลอปปี้ไดรฟ์ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะมีไว้ต่อฟลอปปี้ไดรฟ์

- คอนเน็กเตอร์อนุกรม มี 10 เข็มอยู่ที่แผงวงจรเมนบอร์ด

- คอนเน็กเตอร์ขนาน มี 26 เข็มอยู่ที่แผงวงจรเมนบอร์ด         ถ้าต้องการขยาย พอร์ตขนาน ก็สามารถนำ Card I/O 8255           มาเสียบเข้าไปใน Slot ซึ่งเป็นประเภท Card PCI สำหรับ IC I/O 8255 จะมีพอร์ตเพิ่มขึ้นมาได้ 3 พอร์ตต่อ 1 ชุด IC 8255

 

ระบบที่ใช้ติดต่อสื่อสารข้อมูลของคอมพิวเตอร์

-USB(Universal Serial Port) รวมถึง Firewire(IEEE-1348) เป็นระบบใช้ติดต่อสื่อสารข้อมูลแบบใหม่ ที่มีความเร็วสูง อีกทั้งเฉลียวฉลาดมากขึ้น ระหว่างเครื่องคอม พิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ภายนอก(Hardware) ซึ่ง USB ได้ถูกนำเข้ามาแทน การติดต่อแบบ RS-232 และ Centronics Printer Ports ดังจะเห็นได้จากอุปกรณ์ โมเด็ม หรืออุปกรณ์ตัวอื่นๆ เป็นต้น
-->Firewire มันได้ถูกออกแบบเพื่อรองรับการสื่อสารสำหรับข้อมูลที่เป็น สัญญาณภาพ,เสียง,วีดีโอ รวมถึง ขนานด บล็อคของที่มีขนาดใหญ่
- Microwire,SPI,I2C Interface การติดต่อสื่อสารเป็นแบบ Synchonous Serial เหมาะสำหรับใช้ในระยะสั้นๆ ซึ่ง Microtroller ส่วนใหญ่แล้วจะ ติดต่อแบบนี้
- Ethernet หลายท่านคงจะรู้จักกัน เพราะใช้ติดต่อสื่อสารในระบบเครือข่ายหรือที่เรียก ระบบแลนด์ ที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อกันไปมาเยอะๆนั้นแหละ มันเป็นระบบ ที่มีความเร็วสูง และ ความจุ แต่ละอุปกรณ์(Hardware)และโปรแกรม(Software) ซึ่งจะมีความซับซ้อน อีกทั้งราคาสูงกว่าระบบการติดต่อสื่อสารแบบอื่นๆในที่นำมากล่าวทั้งหมดนี้
- Centronics Parallel Printer Port Interface สามารถส่งข้อมูลได้หลายบิตสำหรับการส่งหนึ่งครั้ง ซึ่งมีความเร็วสูงสุด มักจะนิยมใช้สำหรับการติดต่อสื่อสาร ระหว่างพีซีกับเครื่องพิมพ์(Printer), เครื่องแสกนเนอร์,เครื่องเก็บข้อมูลแบบภายนอก (Data Acquisition Devices) เป็นต้น
- IrDA(Interface Data Association) เป็นการสื่อสารข้อมูลแบบไร้สาย โดยใช้แสงอินฟราเรด ซึ่งใช้ได้ในระยะทางสั้นๆในที่สายเคเบิลไม่สามารถติดตั้งได้/เข้าไปไม่ถึง ที่เห็น ในชีวิตประจำวัน เช่น รีโมททีวีหรือวีดีโอ,เมาส์หรือคีย์บอร์ดอินฟราเรด เป็นต้น
- MIDI(Musical Instrument Digital Interface)ใช้สำหรับการสื่อสารแบบอนาล็อกในเครื่องมือด้านเครื่องเสียง,เครื่องมือด้านดนตรี(ซินติไซเซอร์/เปอร์คัตชั่น/กีตาร์แอฟเฟ็ก),เครื่องมือควบคุมเสียงในโรง ภาพยนต์(มิกเซอร์/อีเควอไรเซอร์/แอฟเฟ็กต่างๆ) ซึ่งมันจะใช้กระแสไฟประมาณ 5 mA ที่ความเร็ว 31.5 kbps

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์เป็นการศึกษา และแปลพฤติกรรมมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบอินเตอร์เฟส การวิเคราะห์กิจกรรม เทคนิคการสังเกต การออกแบบสอบถามและการวัดผล การศึกษามนุษย์เพื่อนำมาประยุกต์ในการออกแบบ การวิเคราะห์งานและเทคนิคการออกแบบและการประยุกต์ใช้ในขบวนการออกแบบอินเตอร์เฟส การศึกษาเกี่ยวกับการเรียนรู้ การจดจำละการเรียกความรู้ของมนุษย์ การศึกษาการออกแบบที่ดีอันจะมีผลให้ผู้ใช้ผลิตภัณฑ์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การเปรียบเทียบและการวัดประสิทธิภาพของอินเตอร์เฟสที่แตกต่างกัน ผู้สอนจะทบทวนคณิตศาสตร์พื้นฐานที่จำเป็นในสาขางานวิจัยนี้ รวมทั้งยกตัวอย่างการนำมาประยุกต์ใช้ วิชานี้จะเน้นเนื้อหาอยู่ที่วิธีหลัก ๆ สี่วิธีคือ วิธีการศึกษาโดยการทดลองทดสอบ โดยการศึกษาการจดจำเรียนรู้ของมนุษย์ โดยการศึกษาทำนายประสิทธิผลของมนุษย์ และโดยการเลียนแบบการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ ที่ได้รับการยอมรับและนำมาใช้กัน

guest profile guest

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์เป็นการศึกษา และแปลพฤติกรรมมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบอินเตอร์เฟส การวิเคราะห์กิจกรรม เทคนิคการสังเกต การออกแบบสอบถามและการวัดผล การศึกษามนุษย์เพื่อนำมาประยุกต์ในการออกแบบ การวิเคราะห์งานและเทคนิคการออกแบบและการประยุกต์ใช้ในขบวนการออกแบบอินเตอร์เฟส การศึกษาเกี่ยวกับการเรียนรู้ การจดจำละการเรียกความรู้ของมนุษย์ การศึกษาการออกแบบที่ดีอันจะมีผลให้ผู้ใช้ผลิตภัณฑ์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การเปรียบเทียบและการวัดประสิทธิภาพของอินเตอร์เฟสที่แตกต่างกัน ผู้สอนจะทบทวนคณิตศาสตร์พื้นฐานที่จำเป็นในสาขางานวิจัยนี้ รวมทั้งยกตัวอย่างการนำมาประยุกต์ใช้ วิชานี้จะเน้นเนื้อหาอยู่ที่วิธีหลัก ๆ สี่วิธีคือ วิธีการศึกษาโดยการทดลองทดสอบ โดยการศึกษาการจดจำเรียนรู้ของมนุษย์ โดยการศึกษาทำนายประสิทธิผลของมนุษย์ และโดยการเลียนแบบการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ ที่ได้รับการยอมรับและนำมาใช้กัน


อินเตอร์เฟส (Interface)
คือ จุดเชื่อมระหว่างตัวการ 2 ตัว ซึ่งจะต้องปฏิบัติงานร่วมกัน หรือต้องอาศัยซึ่งกันและกัน ในการทำงานในทางคอมพิวเตอร์ จุดเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์เรียกว่า user interface. ซึ่งประกอบไปด้วย ไอคอน หรือภาพกราฟฟิก (อันเล็กๆ) คำสั่ง (command), prompt (เช่น C:> _ , A:> _ เป็นต้น) และเครื่องมืออื่นๆ ที่สามารถทำให้ผู้ใช้ (user) และคอมพิวเตอร์มีปฏิสัมพันธ์กันได้

อินเตอร์เฟส (Interface)  เปรียบเสมือนกันการเชื่อมกันของสิ่งสองสิ่ง ไม่ว่าจะเป็นระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ เครื่องจักรกับคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้ไฟฟ้ากับคอมพิวเตอร์ เป็นต้น 
<!--[endif]-->


ปัจจัยของมนุษย์ในการอินเตอร์เฟส   คือการที่จะให้มนุษย์สามารถทำงานกับระบบคอมพิวเตอร์ได้อย่างง่ายดาย  ซึ่งที่จริงแล้ว การจะสื่อสารกับคอมพิวเตอร์นั้นเป็นสิ่งที่ซับซ้อน จึงต้องสร้างการอินเตอร์เฟส  เพื่อให้มนุษย์สามารถทำงานกับคอมพิวเตอร์ได้ตามความต้องการของมนุษย์
การพัฒนาของอินเตอร์เฟส ในสมัยก่อนจะมีการอินเตอร์เฟสกับหน้าจอและแป้นพิมพ์ซะส่วนใหญ่ แต่ในปัจจุบันมีการอินเตอร์เฟสที่ทันสมัยมากขึ้นกว่าสมัยก่อน เช่น การใช้ระบบสัมผัส การใช้คำสั่งเสียง การใช้สัญญาณไวเลส เป็นต้น


 











guest profile guest

การอินเตอร์เฟส คือ การทำงานติดต่อร่วมกันระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์อื่นๆกับการโอนถ่ายข้อมูล ระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ นอกเหนือจากจะต้องทำงานติดต่อกับ RAM, ROM แล้วยัง ต้องมีการติดต่อกับอุปกรณ์ภายนอกที่มีการส่งข้อมูลInput, Output อีกทางหนึ่ง ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบสมบูรณ์ ในระบบต่างของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จะทำงานต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ ดังเช่น การส่งรับข้อมูลจากซีพียูไปยังส่วนอื่นๆ เป็นต้น


ปัจจัยของมนุษย์สำหรับการอินเตอร์เฟส
แนวความ คิดเกี่ยวกับปัจจัยของมนุษย์ และการออกแบบอินเตอร์เฟส ที่เกี่ยวข้องกับศักยภาพของทั้งมนุษย์และคอมพิวเตอร์ ระบบการให้ความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา รูปแบบการปฏิสัมพันธ์ และหลักการออกแบบที่มองเห็นได้ แบบจำลองการอินเตอร์เฟสสำหรับผู้ใช้ และเครื่องมือที่นำมาพัฒนา ผลกระทบของเทคโนโลยีที่มีต่อมนุษย์ วางแผนในการเลือกใช้เทคโนโลยี การนำมาปฏิบัติ และการใช้เทคโนโลยีเพื่อให้ผลกระทบปรากฏออกมาในเชิงบวก

ปัจจัยของมนุษย์
1.จิต ใจอารมฌ์
2.การเห็นสีและอารมฌ์
3.ธรรมชาติความเข้าใจของคน
4.สมอง ความนึกคิด
5.ระบบสมอง
6.เรื่องของสายตาในการมองและอ่าน
7.พฤติกรรมของคน
8.สิ่งสำคัญ
9.ความผิดพลาด

 

User คือ ผู้ใช้
- Interface
[ N ] พื้นที่ ร่วมของสองสิ่ง
[ Related ]อินเตอร์เฟส, จุด ที่สองสิ่งสัมผัสกัน

เช่น มีกล่องสี่เหลี่ยมสองใบ เราเอามาวางแนบติดกัน ส่วนที่แนบติดกันของ ทั้งสองกล่อง เราเรียกตรงนั้นว่า Interface

 

    ปัจจัยของมนุษย์ในการอินเตอร์เฟส   คือการที่จะให้ มนุษย์สามารถทำงานกับระบบคอมพิวเตอร์ได้อย่างง่ายดาย  ซึ่งที่จริงแล้ว การจะสื่อสารกับคอมพิวเตอร์นั้นเป็นสิ่งที่ซับซ้อน จึงต้องสร้างการอินเตอร์เฟส  เพื่อให้มนุษย์สามารถ ทำงานกับคอมพิวเตอร์ได้ตามความต้องการของมนุษย์
    การพัฒนาของอินเตอร์เฟส   ใน สมัยก่อนจะมีการอินเตอร์เฟสกับหน้าจอและแป้นพิมพ์ซะส่วนใหญ่  แต่ในปัจจุบันมีการอินเตอร์เฟสที่ทันสมัยมากขึ้นกว่าสมัยก่อน เช่น การใช้ระบบสัมผัส  การใช้คำสั่งเสียง การใช้สัญญาณไวเลส เป็นต้น

 

ความสำคัญ
การ ออกอะไรให้ผู้ใช้งาน จะประสบความสำเร็จดีหรือไม่
สิ่งที่ขาดไม่ได้ คือ
User Interface Design & HCI
เป็น เรื่องที่สำคัญมาก

 

ปัจจัยของมนุษย์ในการ ออกแบบอินเตอร์เฟสมี 3 ระดับ

1. ความจำมนุษย์ มี 3 ระดับ

1.       ความจำระยะสั้น เรียนกว่า working memory.....คือความจำในขณะทำงาน เช่น คนกำลังกดปุ่มแล้วไปหน้าโน้นหน้านี้ ว่าไปหน้าไหน คนก็จะจำได้..ความจำชนิดนี้ ถ้าในระหว่างทำงานแล้วโดนคนมากวน อาจจะทำให้ลืมได้

2.       ความจำระยะกลาง เช่น เมื่อ 2 ปีที่ แล้วเคยเรียนที่ไหน

3.       ความจำยะระยาว เช่น เราเป็นลูกใคร เกิดที่ไหน

2. ธรรมชาติการเรียนรู้ของ มนุษย์

1.       มนุษย์จะเรียนรู้จากประสบการณ์ของตนเองและผู้อื่น

2.       เวลามนุษย์เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ

o        เรียนรู้โดยการลองผิดลองถูก แล้วเก็บเป็นฐานข้อมูลเอาไปใช้ครั้งต่อไป.........เช่น ปล่อยให้คนเดินไปที่ต่างๆแบบที่เขาไม่เคยไป ให้ไปถึงจุดหมายหนึ่ง โดยมีทางเลี้ยวหลายทาง....เขาก็จะเดินเลี้ยวซ้าย เลี้ยวขวา ลองผิดถูกจนไปถึงจุดหมาย....ครั้งต่อไปเขาก็จะใช้ความรู้ของคราวที่แล้ว ตรงไหนเลี้ยวผิดก็ไม่ไป....

o        จะเรียนรู้โดยการเอาความรู้ที่มีอยู่เดิมแล้ว(ฐานข้อมูล) มาเรียนรู้สิ่งใหม่.....เช่น คนเมื่อนึกถึงเรื่องเก่าๆที่ตนเคยเข้าใจมาแล้ว เอามาเทียบ จะทำให้ เรียนรู้และเข้าใจได้เร็วขึ้น......

3. มนุษย์ชอบให้สนองความต้อง การ ... 
    สังเกต ได้จากเรื่องพื้นฐาน
- เวลาคนเราปวดท้องเข้าห้องน้ำ ตอนนี้เป็นทุกข์
สิ่งที่คนเราต้อง การคือ ห้องน้ำ คนเราจะมองหาห้องน้ำ เพื่อสนองความต้องการ พอเจอห้องน้ำปั๊บก็จะเข้าทันที....
แต่ ถ้าเจอห้องน้ำปั๊บ แต่ห้ามเข้า ห้องน้ำเสีย แบบนี้จะสนองความต้องการเขาไม่ได้..แบบนี้คนไม่ชอบ...
- เด็กๆร้องไห้อยากได้ของเล่น....พอผู้ใหญ่ สนองความต้องการเด็กโดยการซื้อของเล่นให้ เขาจะดีใจและหยุดร้องไห้

4. ความฉลาดในการทำงาน ในเชิงวิทยาศาสตร์
    อะไรที่ออกแรงน้อย ใช้เวลาน้อย แล้วผลมากๆ นั่นเรียกว่า ทำงานได้ฉลาด
- มี พลังงานขนาดกระป๋อง coke สามารถแปลงให้เป็นพลังงาน แสงได้ขนาดเท่าดวงดาว แบบนี้เรียกว่าฉลาด
- 2คนเดินทาง 500 กิโลเมตร
คนแรกใช้เวลาเดินทาง 5 วัน
คนที่2ใช้เวลาเดินทาง 1 วันเดินไปทางลัด ...แบบนี้ฉลาด
-จะเทียบกับเรื่องธุรกิจก็ได้ เช่น มีเงิน 100 บาท เอาไปลงทุนใช้เวลา 10 วันแล้วได้ กำไรกลับมา 1 ล้านบาทแล้วไม่ผิดศิลธรรม....แบบนี้ เรียกว่าฉลาด

5. การออกแบบ ควรสังเกตุและทำความเข้าใจทั้งระบบ
    ทั้งฝั่งมนุษย์ สังเกตว่าเขามีพฤติกรรมอย่างไรในขณะทำงานหรือบังงคับระบบอย่างไร
และ ฝั่งcomputer เรียนรู้ คุณสมบัติต่างๆพอเราแล้วนำความรู้มาพัฒนา ออกแบบให้คนสามารถใช้ระบบได้ดีกว่าเดิม

6. คำนึงถึงความปลอดภัย
    การออกแบบระบบควรคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ใช้...เช่น การใช้สีอย่าให้สีแสบตาเกินไปหรือเป็นสีที่มองเห็นได้ยากจะทำให้คนปวดตา

7. การออกแบบให้คำนึงถึง วัฒนธรรม
    นอกจากออกแบบระบบให้ สามารถใช้งานได้ง่าย เรียนรู้ได้ง่ายและปลอดภัยแล้ว
ก็ยังมีอีกข้อที่ต้องคำนึงคือ วัฒนธรรม
- ยกตัวอย่างที่มองเห็นได้ง่ายที่สุด เช่น ข่าวมีว่า ฝรั่งออกแบบรองเท้า แต่เอารูปผู้นำทางศาสนาไปแปะไว้ตรงรองเท้า....การออกแบบรองเท้าถูกต้องทุก ประการ แต่มาผิดตรงที่ขัดกับวัฒนธรรม

8.ความถูกต้องและถูกใจ
ความถูกต้อง คือ ออกแบบตามหลักการต่างๆทางเทคนิค HCI
ความถูกใจ คือ ออกแบบให้ถูกใจผู้ใช้
ถ้า2อย่างนี้ไปด้วยกันได้จะเป็น ผลดี แต่ให้คำนึงถึงความถูกต้องมาก่อน
บางที2สิ่งนี้ไม่สามารถทำได้ แต่ก็พยายามให้ผสมกันให้ได้

ตัวอย่าง

1.       เวลาเราออกแบบสร้างบ้านให้คน....เราต้องออกแบบบ้าน ให้ถูกกับหลักการออกแบบ ถ้าออกแบบบ้านผิดหลักแล้วบ้านจะถล่มพังเสียหาย อีกส่วนหนึ่ง คือต้องออกแบบให้ตรงความต้องการ ของเจ้าของบ้าน

2.       ออกแบบ เว็ปให้บริษัทต่างๆ.....เราต้องออกแบบเว็ปให้ถูกต้องตามหลักการออกแบบทาง เทคนิคต่างๆ...อีกส่วนคือ ออกแบบให้ถูกใจเจ้าของบริษัท...เขาต้องการให้ใช้สีอะไร ชอบสีอะไรเรา ตามใจเขา เอาอะไรวางไว้ตรงไหน เราก็ตามใจเขา ถ้าตรงไหนตามเขาใจแล้วผิดหลักเราก็อธิบายให้เขาทราบ...

3.       ออกแบบเว็ป แบบเว็ปสาธารณะ เช่นงานของเรา..เราควรออกแบบถูกต้องตามหลักการ และให้ถูกใจผู้ใช้......มีผู้ใช้มีจำนวณมากอาจจะไม่ถูกใจบางคนหรือทุกคน แต่เราอาศัยอัตตราการเฉลี่ยเอา...

ที่มา : http://www.moodle.rmutt.ac.th/course/info.php?id=64
        
http://samphan.ob.tc/-View.php?N=1

http://board.palungjit.com/f34/user-interface-design-and-human-computer-interaction

j
www.spu.ac.th/~surasak.mu/images/cse322.../CSE322_Quiz6_Solution.doc

 

 
guest profile guest
      แนวความคิดเกี่ยวกับปัจจัยของมนุษย์ และการออกแบบอินเตอร์เฟส ที่เกี่ยวข้องกับศักยภาพของทั้งมนุษย์และคอมพิวเตอร์ ระบบการให้ความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา รูปแบบการปฏิสัมพันธ์ และหลักการออกแบบที่มองเห็นได้ แบบจำลองการอินเตอร์เฟสสำหรับผู้ใช้ และเครื่องมือที่นำมาพัฒนา ผลกระทบของเทคโนโลยีที่มีต่อมนุษย์ วางแผนในการเลือกใช้เทคโนโลยี การนำมาปฏิบัติ และการใช้เทคโนโลยีเพื่อให้ผลกระทบปรากฎออกมาในเชิงบวก

การเชื่อมต่อ (Interface)
       อินเตอร์เฟส (Interface) หมายถึง การเชื่อมต่อ ถ้าเป็นการเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ จะเรียกการเชื่อมต่อนั้นว่า ยูสเซอร์อินเตอร์เฟส (User Interface) แต่ในการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ การเชื่อมต่อยังรวมไปถึงวัตถุ (Object) เพราะในวัตถุจะต้องมีอินเตอร์เฟส อันเป็นส่วนที่วัตถุนั้น ๆ จะให้บริการหรือเป็นส่วนที่บอกว่าวัตถุนั้น ๆ สามารถทำอะไรได้บ้าง ซึ่งบางครั้งเรียกว่า เมธทอด (Method)
       ข้อดีของการมีอินเตอร์เฟส ก็คือ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายในวัตถุจะไม่กระทบต่ออินเตอร์เฟส ดังนั้น ภายในวัตถุผู้เขียนคำสั่งสามารถดัดแปลง แก้ไข หรือเพิ่มเติมได้ตลอดเวลา นอกจากนี้ ภายในวัตถุยังสามารถเก็บค่าต่าง ๆได้อีกด้วย

อินเตอร์เฟส คือ การทำงานติดต่อร่วมกันระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์อื่นๆ กับการโอนถ่ายข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ นอกเหนือจากจะต้องทำงานติดต่อกับ RAM, ROM แล้วยังต้องมีการติดด่อกับอุปกรณ์ภายนอกที่มีการส่งข้อมูลอินพุท, เอาท์พุทอีกทางหนึ่ง ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบสมบูรณ์ ในระบบต่างของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จะทำงานต่อเนื่องเป็นลูกโซ่

หลัก การทำงาน คือ การที่จะโอนย้ายข้อมูลทุกตัวนั้นจะต้องมีแหล่งที่ส่งข้อมูล และแหล่งที่รับข้อมูลสำหรับขบวนการเหล่านั้น จะมีส่วนที่สำคัญกว่า ข้อมูลนั้นเป็น แอดเดรสหรือว่าเป็นดาต้า จะส่งไปยังจุดไหน และจะส่งเมื่อไร การทำงานเหล่านี้โดยทั่วๆไป จะต้องมีสัญญาณ ในการตรวจสอบอุปกรณ์ว่าพร้อมที่จะส่ง/รับข้อมูล หรือยังก่อนเสมอ เนื่องจากจุดที่ส่งและรับ ข้อมูล จะต้องมีสัญญาณตรวจสอบความพร้อมเสมอเพื่อที่จะให้ข้อมูลที่เราใช้งานนั้นๆ เป็นระเบียบ ซึ่งจุดรับส่งคู่หนึ่งๆ อาจจะเป็นระหว่างซีพียูด้วยกัน หรือ ซีพียูกับหน่วยความจำ หรือ ซีพียูกับอุปกรณ์รอบข้าง หรือ ระหว่างอุปกรณ์รอบข้างด้วยกัน หรือ ระหว่างหน่วยความจำกับอุปกรณ์รอบข้าง ก็ได้ สำหรับข้อมูลที่โอนย้ายไปมานั้นจะอยู่ในลักษณะของเลขฐาน ขึ้นอยู่กับของระบบนั้นๆ ถ้าหากเป็นการต่อจากพอร์ตพีซีไม่ว่าจะเป็น Serial หรือ Parallel ในสัญญาณที่ส่งมาจะมีระบบแรงดันไฟฟ้า


การอินเตอร์เฟสกับคอมพิวเตอร์หรือไมโครโปรเซสเซอร์

    คือ การทำงานติดต่อร่วมกันระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์อื่นๆกับการโอนถ่ายข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ นอกเหนือจากจะต้องทำงานติดต่อกับ RAM,ROM แล้วยังต้องมีการติด่อกับอุปกรณ์ภายนอกที่มีการส่งข้อมูลอินพุท,เอาท์พุทอีกทางหนึ่ง ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบสมบูรณ์ ในระบบต่างของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

โครงสร้างของ Interface Card

Interface ที่ใช้ในการทดลองจะประกอบด้วย Hardware 2 ส่วน คือ

1.      Adapter Card ที่ใช้เสียบ Slot IBM PC

ประกอบด้วยส่วนของวงจร Decoder , Buffer เพื่อใช้ในการเปลี่ยนสัญญาณบน Bus ของ IBM PC ให้เป็นสัญญาณที่ใช้ในการติดต่อกับอุปกรณ์ภายนอกตามต้องการ ซึ่งสัญญาณเหล่านี้ประกอบด้วย

1)      Data Bus : DB7-DB0 เป็น bidirectional ที่มีวงจร Buffer มีขนาด 8 bit โดย DB0 เป็น LSB หน้าที่ของบัสนี้เป็นทางผ่านของข้อมูลที่จะรับหรือส่งระหว่าง IBM PC กับ Adapter Card

2)      Control Bus ประกอบด้วยสัญญาณ IOR , IOW , RESET และสัญญาณในการเลือก Port No. ต่าง ๆ

3)      Address Bus เป็น unidirectional ใช้ A0 และ A1 เพื่อเป็น Address ให้กับ 8255

2.      Interface Board

Board นี้ประกอบด้วยวงจร Buffer และวงจร Driver เพื่อติดต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการทดลอง Interface กับ IBM PC



http://www.moodle.rmutt.ac.th/course/category.php?id=29
http://www.thaiio.com/Hardware-cgi/hardware.cgi?0007
http://samphan.ob.tc/-View.php?N=1
http://kampol.htc.ac.th/web1/subject/interface/sheet/Interface_Card.htm
http://itd.htc.ac.th/st_it50/it5012/P_2/Object%20Oriented%20Programming%201/B1.htm

guest profile guest

การออกแบบ User Interface มีวัตถุประสงค์หลัก ดังนี้

          1. มีลักษณะเป็นหน้าต่างและคำสั่งในการทำงานคล้ายโปรแกรมทั่วๆไปที่ Run บน Windows เพราะผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่คุ้นเคยกับการใช้ Windows อยู่แล้วทำให้ผู้ใช้สามารถใช้โปรแกรมได้สะดวกมากขึ้น

          2. การรับคำสั่งจากผู้ใช้เน้นที่การกดปุ่มที่ได้เตรียมไว้ให้ โดยปุ่มจะมีข้อความหรือรูปภาพที่สื่อความหมายของคำสั่งให้ได้มากที่สุด ผู้ใช้เพียงแต่คลิกเมาส์ที่ปุ่มคำสั่งก็สามารถใช้งานโปรแกรมได้โดยไม่ต้องจดจำคำสั่งและพิมพ์คำสั่งเอง

          3. เพื่อความสะดวกในการใช้งาน สามารถเลือกความเร็วในการแสดงจากลำดับรายการ

          4. ผู้ใช้จะป้อนข้อความที่จะแสดงออกได้ที่ช่องข้อความ

          5. ใช้สีสันสวยงามดึงดูดใจให้น่าใช้


การออกแบบ  User Interface

- สอดคล้อง/รองรับ พฤติกรรมการค้นคว้าของผู้ใช้   เช่น สะดุดตา สะดุดใจ สะดวก สบาย รวดเร็ว

- เชื่อมโยงข้อมูลที่เป็นประโยชน์ไว้ด้วยกันทั้งหมด


ที่มา :
http://campus.en.kku.ac.th/project/2003/COE2003-09/conceptual.htm  
www.tiac.or.th/slg/วรนุช1.ppt
  
guest profile guest

ปัจจัยของมนุษย์ในการอินเตอร์เฟส   คือการที่จะให้มนุษย์สามารถทำงานกับระบบคอมพิวเตอร์ได้อย่างง่ายดาย  ซึ่งที่จริงแล้ว การจะสื่อสารกับคอมพิวเตอร์นั้นเป็นสิ่งที่ซับซ้อน จึงต้องสร้างการอินเตอร์เฟส  เพื่อให้มนุษย์สามารถทำงานกับคอมพิวเตอร์ได้ตามความต้องการของมนุษย์
การพัฒนาของอินเตอร์เฟส   ในสมัยก่อนจะมีการอินเตอร์เฟสกับหน้าจอและแป้นพิมพ์ซะส่วนใหญ่  แต่ในปัจจุบันมีการอินเตอร์เฟสที่ทันสมัยมากขึ้นกว่าสมัยก่อน เช่น การใช้ระบบสัมผัส  การใช้คำสั่งเสียง การใช้สัญญาณไวเลส เป็นต้น

การใช้งาน Interface   คือ การเขียนโปรแกรมเล็กๆไว้ใช้เองคนเดียว และเขียนโค้ดด้วยตนเองทั้งหมด คงไม่จำเป็นต้องใช้ interface  แต่ถ้าเขียนโปรแกรมซับซ้อนขึ้น  หรือทำงานเกี่ยวข้องกับหลายฝ่าย หลายหน่วยงาน  บางครั้งการใช้ interface ก็เป็นสิ่งจำเป็น  หรือเป็นสิ่งที่ช่วยให้เขียนโปรแกรมได้กระชับขึ้น หรือมีมาตรฐานดีขึ้น  หากเป็นซอฟท์แวร์ระบบงานขนาดใหญ่ ที่เขียนโดยนักเขียนโค้ดหลายกลุ่ม ผู้ควบคุมงานหรือผู้ออกแบบซอฟท์แวร์อาจใช้ interface เป็นเครื่องมือช่วยควบคุมการเขียนโค้ดของแต่ละฝ่ายให้ประสานกันได้


guest profile guest

    อินเตอร์เฟส (Interface) คือ การทำงานติดต่อร่วมกันระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์อื่นๆกับการโอนถ่ายข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ นอกเหนือจากจะต้องทำงานติดต่อกับ RAM, ROM แล้วยังต้องมีการติดต่อกับอุปกรณ์ภายนอกที่มีการส่งข้อมูลInput, Output อีกทางหนึ่ง ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบสมบูรณ์ ในระบบต่างของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จะทำงานต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ ดังเช่น การส่งรับข้อมูลจากซีพียูไปยังส่วนอื่นๆ และ การเชื่อมต่อระหว่าง คอมพิวเตอร์ ที่ถ่ายโอนข้อมูลจากกันและกันได้ แต่มักนำมาใช้ในความหมายของ user interface ที่แปลว่า การติดต่อประสานระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับผู้ใช้ เช่น แป้นพิมพ์, จอภาพ ต่างก็เป็นตัวประสานกับผู้ใช้ทั้งสิ้น 
    อินเตอร์เฟส (Interface)  เปรียบเสมือนกันการเชื่อมกันของสิ่งสองสิ่ง ไม่ว่าจะเป็นระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ เครื่องจักรกับคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้ไฟฟ้ากับคอมพิวเตอร์ เป็นต้น 

 

  แนวความคิดเกี่ยวกับปัจจัยของมนุษย์ และการออกแบบอินเตอร์เฟส ที่เกี่ยวข้องกับศักยภาพของทั้งมนุษย์และคอมพิวเตอร์ ระบบการให้ความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา รูปแบบการปฏิสัมพันธ์ และหลักการออกแบบที่มองเห็นได้ แบบจำลองการอินเตอร์เฟสสำหรับผู้ใช้ และเครื่องมือที่นำมาพัฒนา ผลกระทบของเทคโนโลยีที่มีต่อมนุษย์ วางแผนในการเลือกใช้เทคโนโลยี การนำมาปฏิบัติ และการใช้เทคโนโลยีเพื่อให้ผลกระทบปรากฏออกมาในเชิงบวก

 

ปัจจัยของมนุษย์สำหรับการอินเตอร์เฟส

          สิ่งที่มีไว้ให้ผู้ใช้ใช้ในการกระทำ กับระบบหรือสิ่งของต่างๆ ซึ่งอาจจะเป็นคอมพิวเตอร์ เครื่องจักรเครื่องกล อุปกรณ์ใช้ไฟฟ้า ใดๆ หรือระบบที่มีความซับซ้อนอื่นๆ เพื่อให้สิ่งๆนั้นทำงานตามความต้องการของผู้ใช้

Limited short-term memory มนุษย์ไม่สามารถจดจำอะไรได้เยอะๆ จึงต้อง จำกัดส่วนตอบสนองให้สั้นๆ

 People make mistakes คนย่อมต้องมีข้อผิดพลาด

People are different คนมีความแตกต่างกันไปทั้งร่างกายและจิตใจ

 People have different interaction preferences คนมีความแตกต่างด้านการตอบสนอง

 ที่มา :

 

 

 

 

1. http://samphan.ob.tc/-View.php?N=1
2. http://www.moodle.rmutt.ac.th/course/info.php?id=64

 

guest profile guest

การอินเตอร์เฟส คือ การทำงานติดต่อร่วมกันระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์อื่น ๆ กับการโอนถ่ายข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ นอกเหนือจากจะต้องทำงานติดต่อกับ RAM, ROM  แล้วยังต้องมีการติดต่อกับอุปกรณ์ภายนอกที่มีการส่งข้อมูล Input, Output  อีกทางหนึ่ง ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบสมบูรณ์ ในระบบต่างของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จะทำงานต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ ดังเช่น การส่งรับข้อมูลจากซีพียูไปยังส่วนอื่นๆ เป็นต้น

Interface คือ การกำหนดความสามารถของ object ใน OOP ซึ่ง class ใด implement interface ก็เป็นการสัญญาว่าจะมีความสามารถตามที่ interface กำหนดไว้ พูดง่ายๆก็คือ เป็นการแยก specification ออกจาก ส่วน implementation ของ class นั่นเอง ดังนั้นการติดต่อกับ object ที่สร้างขึ้นจาก class ดังกล่าวต้องผ่าน interface เท่านั้น

Interface คือ การเชื่อมต่อซึ่งก็หมายความถึงส่วนที่ติดต่อกับโลกภายนอกนั่นเอง ในส่วนของ interface นี้แบ่งออกเป็นสองส่วนในโลกของการเขียนโปรแกรมซึ่งได้แก่
Property
Method
Property จริงๆ แล้วก็คือตัวแปร ส่วน Method ก็คือ function มันต่างจากตัวแปรหรือ function ธรรมดาก็ตรงที่ถ้าเป็น function หรือตัวแปรธรรมดานั้น มันใช้งานภายในobject เท่านั้น ซึ่งก็มี modifier เป็น private ส่วน Method/Property เป็น function และตัวแปรที่ภายนอกเรียกใช้ได้ มันเลยมี modifier เป็น public

อินเตอร์เฟส จุดเชื่อมระหว่างตัวการ 2 ตัวซึ่งจะต้องปฏิบัติงานร่วมกัน หรือต้องอาศัยซึ่งกันและกัน ในการทำงานในทางคอมพิวเตอร์ จุดเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์เรียกว่า user interface. ซึ่งประกอบไปด้วย ไอคอน หรือภาพกราฟฟิก (อันเล็ก ๆ ) คำสั่ง (command), prompt (เช่น C:> _ , A:> _ เป็นต้น) และเครื่องมืออื่น ๆ ที่สามารถทำให้ผู้ใช้ (user) และคอมพิวเตอร์มีปฏิสัมพันธ์กันได้

หลักการทำงาน คือ การที่จะโอนย้ายข้อมูลทุกตัวนั้นจะต้องมีแหล่งที่ส่งข้อมูล และแหล่งที่รับข้อมูลสำหรับขบวนการเหล่านั้น จะมีส่วนที่สำคัญกว่า ข้อมูลนั้นเป็น แอดเดรสหรือว่าเป็นดาต้า จะส่งไปยังจุดไหน และจะส่งเมื่อไร การทำงานเหล่านี้โดยทั่ว ๆ ไป จะต้องมีสัญญาณ ในการตรวจสอบอุปกรณ์ว่าพร้อมที่จะส่ง/รับข้อมูล หรือยังก่อนเสมอ เนื่องจากจุดที่ส่งและรับ ข้อมูล จะต้องมีสัญญาณตรวจสอบความพร้อมเสมอเพื่อที่จะให้ข้อมูลที่เราใช้งานนั้นๆ เป็นระเบียบ ซึ่งจุดรับส่งคู่หนึ่งๆ อาจจะเป็นระหว่างซีพียูด้วยกัน หรือ ซีพียูกับหน่วยความจำ หรือ ซีพียูกับอุปกรณ์รอบข้าง หรือ ระหว่างอุปกรณ์รอบข้างด้วยกัน หรือ ระหว่างหน่วยความจำกับอุปกรณ์รอบข้าง ก็ได้ สำหรับข้อมูลที่โอนย้ายไปมานั้นจะอยู่ในลักษณะของเลขฐาน ขึ้นอยู่กับของระบบนั้นๆ ถ้าหากเป็นการต่อจากพอร์ตพีซีไม่ว่าจะเป็น Serial หรือ Parallel ในสัญญาณที่ส่งมาจะมีระบบแรงดันไฟฟ้า

ชนิดของ ฮาร์ดดิสก์ แบ่งตามอินเตอร์เฟสที่ต่อใช้งาน

ปัจจุบันนี้ ฮาร์ดดิสก์ที่มีใช้งานทั่วไป จะมีระบบการต่อใช้งานแบ่งออกเป็น 2 แบบใหญ่ ๆ คือ EIDE (Enhanced Integrated Drive Electronics) กับ SCSI (Small Computer System Interface) ซึ่งฮาร์ดดิสก์ทั่ว ๆ ไปที่ใช้งานกันตาม เครื่องคอมพิวเตอร์ตามบ้าน มักจะเป็นการต่อแบบ EIDE ทั้งนั้น ส่วนระบบ SCSI จะมีความเร็วของการรับส่ง ข้อมูลที่เร็วกว่า แต่ราคาของฮาร์ดดิสก์จะแพงกว่ามาก จึงนิยมใช้กันในเครื่อง Server เท่านั้น

EIDE หรือ Enhance IDE เป็นระบบของ ฮาร์ดดิสก์อินเตอร์เฟสที่ใช้กันมากในปัจจุบันนี้ การต่อไดร์ฟฮาร์ดดิสก์แบบ IDE จะต่อผ่าน สายแพรและคอนเน็คเตอร์จำนวน 40 ขาที่มีอยู่บนเมนบอร์ด ชื่อเรียกอย่างเป็นทางการของการต่อแบบนี้คือ AT Attachment หรือ ATA ต่อมาได้มีการพัฒนาไปเป็นแบบย่อยอื่น ๆ เช่น ATA-2, ATAPI, EIDE, Fast ATA ตลอดจน ATA-33 และ ATA-66 ในปัจจุบัน ซึ่งถ้าหากเป็นแบบ ATA-66 แล้วสายแพรสำหรับรับส่งสัญญาณ จะต้องเป็นสายแพรแบบที่รองรับการทำงานนั้นด้วย จะเป็นสายแพรที่มีสายข้างใน 80 เส้นแทนครับ ส่วนใหญ่แล้วใน 1 คอนเน็คเตอร์ จะสามารถต่อฮาร์ดดิสก์ได้ 2 ตัวและบนเมนบอร์ด จะมีคอนเน็คเตอร์ให้ 2 ชุด ดังนั้น เราสามารถต่อฮาร์ดดิสก์หรืออุปกรณ์อื่น ๆ เช่นซีดีรอมไดร์ฟ ได้สูงสุด 4 ตัวต่อคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง

วิธีการรับส่งข้อมูลของฮาร์ดดิสก์แบบ EIDE ยังแบ่งออกเป็นหลาย ๆ แบบ ในสมัยเริ่มต้น จะเป็นแบบ PIO (Programmed Input Output) ซึ่งเป็นการรับส่งข้อมูลโดยผ่านซีพียู คือรับข้อมูลจากฮาร์ดดิสก์ เข้ามายังซีพียู หรือส่งข้อมูลจากซีพียูไปยัง ฮาร์ดดิสก์ การรับส่งข้อมูลแบบ PIO นี้ยังมีการทำงานแยกออกไปหลายโหมด โดยจะมีความเร็วในกรรับส่งข้อมูลต่าง ๆ กันไป ดังตารางต่อไปนี้

PIO mode

อัตราการรับส่งข้อมูล (MB./sec)

อินเตอร์เฟส

0

3.3

ATA

1

5.2

ATA

2

8.3

ATA

3

11.1

ATA-2

4

16.6

ATA-2

การรับส่งข้อมูลระหว่าง ฮาร์ดดิสก์ กับเครื่องคอมพิวเตอร์อีกแบบหนึ่ง เรียกว่า DMA (Direct Memory Access) คือทำการ รับส่งข้อมูลระหว่างฮาร์ดดิสก์ กับหน่วยความจำโดยไม่ผ่านซีพียู ซึ่งจะกินเวลาในการทำงานของซีพียูน้อยลง แต่ได้อัตราการรับส่ง ข้อมูลพอ ๆ กับ PIO mode 4 และยังแยกการทำงานเป็นหลายโหมดเช่นเดียวกันการรับส่งข้อมูลทาง PIO โดยมีอัตราการรับส่ง ข้อมูลดังตารางต่อไปนี้

 

DMA mode

อัตราการรับส่งข้อมูล (MB./sec)

อินเตอร์เฟส

Single Word

0

2.1

ATA

1

4.2

ATA

2

8.3

ATA

Multi Word

0

4.2

ATA

1

13.3

ATA-2

2

16.6

ATA-2

ฮาร์ดดิสก์ตัวหนึ่งอาจเลือกใช้การรับส่งข้อมูลได้หลายแบบ ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลักคือ ฮาร์ดดิสก์ที่ใช้นั้นสนับสนุนการทำงานแบบใดบ้าง ชิปเซ็ตและ BIOS ของเมนบอร์ดต้องสนับสนุนการทำงานในแบบต่าง ๆ และอย่างสุดท้านคือ ระบบปฏิบัติการบางตัว จะมีความสามารถเปลี่ยนหรือเลือกวิธีการรับส่งข้อมูลในแบบต่าง ๆ ได้ เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในการทำงาน เช่น Windows NT, Windows 98 หรือ UNIX เป็นต้น

ถัดจาก EIDE ในปัจจุบันก็มีการพัฒนามาตราฐานการอินเตอร์เฟส ที่มีความเร็วสูงยิ่งขึ้นไปอีก คือแบบ Ultra DMA/2 หรือเรียกว่า ATA-33 (บางทีเรียก ATA-4) ซึ่งเพิ่มความเร็วขึ้นไป 2 เท่าเป็น 33 MHz และแบบ Ultra DMA/4 หรือ ATA-66 (หรือ ATA-5) ซึ่งกำลังเป็นมาตราฐานอยู่ในปัจจุบัน โดยมีรายละเอียดดังนี้

DMA mode

อัตราการรับส่งข้อมูล (MB./sec)

อินเตอร์เฟส

Ultra DMA/2
(UDMA2 หรือ UDMA/33)

33.3

ATA-33 (ATA-4)

Ultra DMA/4
(UDMA4 หรือ UDMA/66)

66.6

ATA-66 (ATA-5)

นอกจากนี้ ปัจจุบันเริ่มจะเห็น ATA-100 กันบ้างแล้วในฮาร์ดดิสก์รุ่นใหม่ ๆ บางยี่ห้อ

SCSI เป็นอินเตอร์เฟสที่แตกต่างจากอินเตอร์เฟสแบบอื่น ๆ มาก ความจริงแล้ว SCSI ไม่ได้เป็น อินเตอร์เฟสสำหรับ ฮาร์ดดิสก์ โดยเฉพาะ ข้อแตกต่างที่สำคัญที่สุดได้แก่ อุปกรณ์ที่จะนำมาต่อกับอินเตอร์เฟสแบบนี้ จะต้องเป็นอุปกรณ์ที่มีความฉลาดหรือ Intelligent พอสมควร (มักจะต้องมีซีพียู หรือหน่วยความจำของตนเองในระดับหนึ่ง) โดยทั่วไป การ์ดแบบ SCSI จะสามารถต่อ อุปกรณ์ได้ 7 ตัว แต่การ์ด SCSI บางรุ่นอาจต่ออุปกรณ์ได้ถึง 14 ตัว (SCSI-2) ในทางทฤษฎีแล้ว เราสามารถนำอุปกรณ์หลายชนิด มาต่อเข้าด้วยกันผ่าน SCSI ได้เช่น ฮาร์ดดิสก์ เทปไดร์ฟ ออปติคัลดิสก์ เลเซอร์พรินเตอร์ หรือแม้กระทั่งเมาส์ ถ้าอุปกรณ์เหล่านั้น มีอินเตอร์เฟสที่เหมาะสม มาดูความเร็วของการรับส่งข้อมูลของ SCSI แบบต่าง ๆ กันดีกว่า

 

SCSI

Fast

Wide

Fast

Wide

Ultra

Ultra
Wide

Ultra 2

Ultra 3
(Ultra160)

บัสข้อมูล (บิต)

8

8

19

16

32

16

32

16

32

ความถี่ (MHz)

5

10

5

10

10

20

20

40

40

รับส่งข้อมูล (MB/s)

5

10

10

20

40

40

80

80

160

คอนเน็คเตอร์

SCSI-1

SCSI-2

SCSI-2

SCSI-2

SCSI-2

SCSI-3

SCSI-3

SCSI-3

SCSI-3

ประสิทธิภาพของฮาร์ดดิสก์ขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง

ความเร็วในการทำงานของฮาร์ดดิสก์ ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่างเช่น ความเร็งในการหมุน กลไกภายใน ความจุข้อมูล ชนิดของ คอนโทรลเลอร์ ขนาดของบัฟเฟอร์ และระบบการเชื่อต่อที่ใช้เป็นต้น ฮาร์ดดิสก์ที่มีกลไกที่เคลื่อนที่เร็วที่สุดเพียงอย่างเดียว อาจจะไม่ใช่ฮาร์ดดิสก์ที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดก็ได้

ความเร็วในการหมุนของฮาร์ดดิสก์

ความเร็วในการหมุนของดิสก์ เป็นสิ่งที่มีผลกับความเร็วในการอ่านและบันทึกข้อมูลมากทีเดียว ฮาร์ดดิสก์ทั่วไป ถ้าเป็นรุ่นธรรมดา จะหมุนอยู่ที่ประมาณ 5,400 รอบต่อนาที (rpm) ส่วนรุ่นที่เร็วหน่อยก็จะเพิ่มเป็น 7,200 รอบต่อนาที ซึ่งถือเป็นมาตราฐาน อยู่ในขณะนี้ และถ้าเป็นรุ่นใหญ่หรือพวก SCSI ในปัจจุบันก็อาจถึง 10,000 รอบหรือมากกว่านั้น ฮาร์ดดิสก์ที่หมุนเร็ว ก็จะสามารถ อ่านข้อมูลในแต่ละเซ็คเตอร์ได้เร็วกว่าตามไปด้วย ทำให้ความเร็วการรับส่งข้อมูลภายใน มีค่าสูงกว่า ฮาร์ดดิสกที่หมุนมากรอบกว่า ก็อาจมีเสียงดัง ร้อน และสึกหรอมากกว่า แต่โดยรวมทั่วไปแล้ว หากราคาไม่เป็นข้อจำกัด ก็ควรเลือกฮาร์ดดิสก์ที่หมุนเร็ว ๆ ไว้ก่อน

อินเตอร์เฟสของฮาร์ดดิสก์

ดังที่อธิบายแล้วว่า ฮาร์ดดิสก์อินเตอร์เฟสที่นิยมใช้งานกันมากที่สุดสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันได้แก่ แบบ ATA-33 และ ATA-66 ซึ่งมีอัตราการรับส่งข้อมูลที่สูงกว่าแบบเก่า หากต้องการอัตราการรับส่งข้อมูลที่เร็วกว่านี้ ก็ต้องเลือกอินเตอร์เฟสแบบ SCSI ซึ่งจะมีข้อดีคือ มีความเร็วสูงกว่าแบบ EIDE มากและยังสามารถต่ออุปกรณ์ต่าง ๆ ได้ถึง 7 ตัวด้วยกัน โดยที่ราคาก็ยังคงจะ แพงกว่าแบบ EIDE ด้วย จะเหมาะสำหรับงานที่ต้องใช้ความเร็วสูงเช่น Server ของระบบ LAN เป็นต้น

ประเด็นสำคัญของการต่อฮาร์ดดิสก์แบบ IDE ก็คือ แต่ละสายที่ต่อออกมานั้น ตามปกติจะต่อได้ 2 ไดร์ฟ โดยฮาร์ดดิสก์ ที่อยู่บนสาย คนละเส้นจะทำงานพร้อมกันได้ แต่ถ้าอยู่บนสายเส้นเดียวกันจะต้องทำทีละตัว คือไม่ทำงานกับ Master ก็ Slave ตัวเดียวเท่านั้น ในเวลาหนึ่ง ๆ และหากเป็นอุปกรณ์ที่ทำการรับส่งข้อมูลคนละแบบบนสายเดียวกัน เช่นการต่อฮาร์ดดิสก์แบบ UltraDMA/66 ร่วมกับซีดีรอมแบบ PIO mode 4 อุปกรณ์ทุกตัวบนสายเส้นนั้น ก็จะต้องทำตามแบบที่ช้ากว่า ดังนั้น จึงไม่ควรต่อฮาร์ดดิสก์ที่เร็ว ๆ ไว้กับซีดีรอมบนสายเส้นเดียวกัน เพราะจะทำให้ฮาร์ดดิสก์ช้าลงตามไปด้วย

ที่มา  :    http://www.com-th.net/articles/?hdd

http://samphan.ob.tc/-View.php?N=1

http://google.co.th

 

guest profile guest
    ปัจจัยของมนุษย์สำหรับการ
อินเตอร์เฟส

การอินเตอร์เฟส (Interface)  
ปรียบเสมือนกับการเชื่อมกันของสิ่งสองสิ่ง ไม่ว่าจะเป็นระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ เครื่องจักรกับคอมพิวเตอร์ และยังเป็นการทำงานร่วมกัน

ระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์อื่นๆกับการโอนถ่ายข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ นอกเหนือจากจะต้องทำงานติดต่อกับ RAM, ROM แล้วยังต้องมีการติด่อกับอุปกรณ์ภายนอกที่มีการส่งข้อมูลInput, Output อีกทางหนึ่ง ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบสมบูรณ์ 

ปัจจัยของมนุษย์ในการอินเตอร์เฟส  
คือการที่จะให้มนุษย์สามารถทำงานกับระบบคอมพิวเตอร์ได้อย่างง่าย สะดวก รวดเร็ว
การจะสื่อสารกับคอมพิวเตอร์นั้นเป็นสิ่งที่ซับซ้อน จึงต้องสร้างการอินเตอร์เฟส เพื่อให้มนุษย์สามารถทำงานกับคอมพิวเตอร์ได้ตามความต้องการของมนุษย์การพัฒนาของอินเตอร์เฟส
ในสมัยก่อนจะมีการอินเตอร์เฟสกับหน้าจอและแป้นพิมพ์ซะส่วนใหญ่ แต่ในปัจจุบันมีการอินเตอร์เฟสที่ทันสมัยมากขึ้นกว่าสมัยก่อน เช่น การใช้ระบบสัมผัส การใช้คำสั่งเสียง การใช้สัญญาณไวเลส เป็นต้น

ใช้งาน Interface   คือ การเขียนโปรแกรมเล็กๆไว้ใช้เองคนเดียว และเขียนโค้ดด้วยตนเองทั้งหมด คงไม่จำเป็นต้องใช้ interface  แต่ถ้าเขียนโปรแกรมซับซ้อนขึ้น  หรือทำงานเกี่ยวข้องกับหลายฝ่าย หลายหน่วยงาน  บางครั้งการใช้ interface ก็เป็นสิ่งจำเป็น  หรือเป็นสิ่งที่ช่วยให้เขียนโปรแกรมได้กระชับขึ้น หรือมีมาตรฐานดีขึ้น  

 

 การออกแบบอินเตอร์เฟส
คือการวางแผนสร้างสรรค์รูปแบบ โดยวางแผนจัดสัดส่วนประกอบของการออกแบบให้สัมพันธ์กับประโยชน์ใช้สอย

การออกแบบที่ดีนั้นควรจะคำนึงถึงปัจจัยต่อไปนี้

1.
รูปแบบที่สร้างสรรค์
2.สัมพันธ์กับประโยชน์ใช้สอย
3.สอดคล้องกับการผลิต
4.
มีความงามที่น่าสนใจ
5.เหมาะสมกับวัสดุ
6.การถ่ายทอดความคิดออกมาเป็นโครงสร้างระเบียบแบบแผนต่างๆทางทัศนะสัญลักษณ์
7.เป็นการออกแบบเพื่อให้อ่าน เช่น ออกแบบหนังสือ นิตยสารโฆษณา หีบห่อ แผ่นพับ ป้ายภาพยนตร์

 

8.การใช้ความคิดและสามัญสำนึกในการทำงานที่ได้วางแผนไว้ให้ได้ตามความคาดหมายอย่างสมบูรณ์

ความสำคัญของการออกแบบ
1.
การออกแบบที่ดีต้องทำให้ข้อมูลที่กระจัดกระจายมีระเบียบมากขึ้น
2.
ช่วยให้ระบบการถ่ายทอดข้อมูลเป็นไปอย่างรวดเร็วและชัดเจน
3.
ช่วยสร้างสรรค์งานสัญลักษณ์ทางสังคมเพื่อสื่อความหมายร่วมกัน
4.
ช่วยพัฒนาระบบการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
5.
ช่วยให้เกิดจินตภาพ เกิดมีแนวคิดสิ่งใหม่อยู่เสมอ
6.
ส่งเสริมให้เกิดค่านิยมทางความงาม

 

guest profile guest
    ปัจจัยของมนุษย์สำหรับการ
อินเตอร์เฟส

การอินเตอร์เฟส (Interface)  
ปรียบเสมือนกับการเชื่อมกันของสิ่งสองสิ่ง ไม่ว่าจะเป็นระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ เครื่องจักรกับคอมพิวเตอร์ และยังเป็นการทำงานร่วมกัน

 

ระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์อื่นๆกับการโอนถ่ายข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ นอกเหนือจากจะต้องทำงานติดต่อกับ RAM, ROM แล้วยังต้องมีการติด่อกับอุปกรณ์ภายนอกที่มีการส่งข้อมูลInput, Output อีกทางหนึ่ง ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบสมบูรณ์ 

ปัจจัยของมนุษย์ในการอินเตอร์เฟส  
คือการที่จะให้มนุษย์สามารถทำงานกับระบบคอมพิวเตอร์ได้อย่างง่าย สะดวก รวดเร็ว
การจะสื่อสารกับคอมพิวเตอร์นั้นเป็นสิ่งที่ซับซ้อน จึงต้องสร้างการอินเตอร์เฟส เพื่อให้มนุษย์สามารถทำงานกับคอมพิวเตอร์ได้ตามความต้องการของมนุษย์การพัฒนาของอินเตอร์เฟส
ในสมัยก่อนจะมีการอินเตอร์เฟสกับหน้าจอและแป้นพิมพ์ซะส่วนใหญ่ แต่ในปัจจุบันมีการอินเตอร์เฟสที่ทันสมัยมากขึ้นกว่าสมัยก่อน เช่น การใช้ระบบสัมผัส การใช้คำสั่งเสียง การใช้สัญญาณไวเลส เป็นต้น

ใช้งาน Interface   คือ การเขียนโปรแกรมเล็กๆไว้ใช้เองคนเดียว และเขียนโค้ดด้วยตนเองทั้งหมด คงไม่จำเป็นต้องใช้ interface  แต่ถ้าเขียนโปรแกรมซับซ้อนขึ้น  หรือทำงานเกี่ยวข้องกับหลายฝ่าย หลายหน่วยงาน  บางครั้งการใช้ interface ก็เป็นสิ่งจำเป็น  หรือเป็นสิ่งที่ช่วยให้เขียนโปรแกรมได้กระชับขึ้น หรือมีมาตรฐานดีขึ้น  

 

 

 การออกแบบอินเตอร์เฟส
คือการวางแผนสร้างสรรค์รูปแบบ โดยวางแผนจัดสัดส่วนประกอบของการออกแบบให้สัมพันธ์กับประโยชน์ใช้สอย

การออกแบบที่ดีนั้นควรจะคำนึงถึงปัจจัยต่อไปนี้

1.
รูปแบบที่สร้างสรรค์
2.สัมพันธ์กับประโยชน์ใช้สอย
3.สอดคล้องกับการผลิต
4.
มีความงามที่น่าสนใจ
5.เหมาะสมกับวัสดุ
6.การถ่ายทอดความคิดออกมาเป็นโครงสร้างระเบียบแบบแผนต่างๆทางทัศนะสัญลักษณ์
7.เป็นการออกแบบเพื่อให้อ่าน เช่น ออกแบบหนังสือ นิตยสารโฆษณา หีบห่อ แผ่นพับ ป้ายภาพยนตร์

 

8.การใช้ความคิดและสามัญสำนึกในการทำงานที่ได้วางแผนไว้ให้ได้ตามความคาดหมายอย่างสมบูรณ์

ความสำคัญของการออกแบบ
1.
การออกแบบที่ดีต้องทำให้ข้อมูลที่กระจัดกระจายมีระเบียบมากขึ้น
2.
ช่วยให้ระบบการถ่ายทอดข้อมูลเป็นไปอย่างรวดเร็วและชัดเจน
3.
ช่วยสร้างสรรค์งานสัญลักษณ์ทางสังคมเพื่อสื่อความหมายร่วมกัน
4.
ช่วยพัฒนาระบบการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
5.
ช่วยให้เกิดจินตภาพ เกิดมีแนวคิดสิ่งใหม่อยู่เสมอ
6.
ส่งเสริมให้เกิดค่านิยมทางความงาม

 

 ที่มา :
http://samphan.ob.tc/-View.php?N=1

 

 

 

 

 

guest profile guest

อินเตอร์เฟส (Interface) หมายถึง การเชื่อมต่อ ถ้าเป็นการเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ จะเรียกการเชื่อมต่อนั้นว่า ยูสเซอร์อินเตอร์เฟส (User Interface) แต่ในการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ การเชื่อมต่อยังรวมไปถึงวัตถุ (Object) เพราะในวัตถุจะต้องมีอินเตอร์เฟส อันเป็นส่วนที่วัตถุนั้น ๆ จะให้บริการหรือเป็นส่วนที่บอกว่าวัตถุนั้น ๆ สามารถทำอะไรได้บ้าง ซึ่งบางครั้งเรียกว่า เมธทอด (Method)
ข้อดีของการมีอินเตอร์เฟส ก็คือ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายในวัตถุจะไม่กระทบต่ออินเตอร์เฟส ดังนั้น ภายในวัตถุผู้เขียนคำสั่งสามารถดัดแปลง แก้ไข หรือเพิ่มเติมได้ตลอดเวลา นอกจากนี้ ภายในวัตถุยังสามารถเก็บค่าต่าง ๆได้อีกด้วย

Database interface จะเป็นการใช้ภาษาธรรมชาติ มาสั่งงานเรียกใช้ฐานข้อมูล แทนที่จะใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ทั่ว ๆ ไป ซึ่งจะเป็นลักษณะของการถามหาข้อมูลด้วยภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวันจากภาษาธรรมชาติที่ใช้ ก็จะมีการแปลตีความ และสร้างเป็นคำสั่งเพื่อเรียกใช้ฐานข้อมูล ในปัจจุบันซอฟต์แวร์สำเร็จรูปต่าง ๆ ก็เริ่มมีลักษณะของ NL interface มากขึ้น และมีแนวโน้มว่า ในอนาคตจะเป็นลักษณะของ NL interface เสียส่วนใหญ่ด้วย เพื่อสะดวกกับการใช้งาน

machine translation จะเป็นการใช้คอมพิวเตอร์มาเพื่อการแปลภาษาระหว่างภาษาของมนุษย์ เช่น การแปลภาษาระหว่างภาษาไทยกับภาษาอังกฤษ เป็นต้น การแปลภาษาจัดเป็นเรื่องสำคัญสำหรับงานสำนักงานในอนาคตมาก เพราะการติดต่อการค้าระหว่างประเทศ การแลกเปลี่ยนสื่อสารข้อมูลเป็นเครือข่ายใหญ่ระหว่างประเทศ และข้อสำคัญคือการรวมข่ายงานของภาษาธรรมชาติ ทั้งในแง่ของการอินเตอร์เฟสด้วยเสียง ด้วย database interface และ text editing เข้าด้วยกัน ถ้ามีระบบการแปลภาษาอยู่พร้อมแล้ว การแปลภาษาจากภาษาอื่นมาเป็นภาษาไทย หรือจากภาษาไทยไปสู่ภาษาอื่น จะช่วยอำนวยความสะดวกและเร่งการติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลให้เป็นไปอย่างรวดเร็ว เรื่องการแปลภาษานี้ยังมีข้อเสียอยู่บ้าง ตรงที่เราไม่สามารถแปลเอกสารทุกสิ่งทุกอย่างได้ เราจะต้องตีกรอบของการแปลนี้แคบอยู่เฉพาเรื่อง เช่น การแปลเอกสารทางเทคโนโลยี เป็นต้น ทั้งนี้เพราะการแปลภาษา ต้องมีการเก็บคำศัพท์พร้อมวิธีการใช้คำนั้นภายในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ไว้ ซึ่งถ้าต้องการให้ความถูกต้องแม่นยำของการแปลสูงมาก ๆ แล้ว พจนานุกรมทางอิเล็กทรอนิกส์เก็บคำนี้ต้องมีขนาดใหญ่มากจริง ๆ ดังนั้นจึงต้องมีการแปลเฉพาะสาขาในระยะนี้ แต่ถ้าเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์ขยายไปอีก การแปลมากสาขาก็อาจเป็นไปได้ในอนาคต

อ้างอิง google

guest profile guest

Interface คือ การกำหนดความสามารถของ object ใน OOP ซึ่ง class ใด implement interface ก็เป็นการสัญญาว่าจะมีความสามารถตามที่ interface กำหนดไว้ พูดง่ายๆก็คือ เป็นการแยก specification ออกจาก ส่วน implementation ของ class นั่นเอง ดังนั้นการติดต่อกับ object ที่สร้างขึ้นจาก class ดังกล่าวต้องผ่าน interface เท่านั้นอินเตอร์เฟส จุดเชื่อมระหว่างตัวการ 2 ตัวซึ่งจะต้องปฏิบัติงานร่วมกัน หรือต้องอาศัยซึ่งกันและกัน ในการทำงานในทางคอมพิวเตอร์ จุดเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์เรียกว่า user interface. ซึ่งประกอบไปด้วย ไอคอน หรือภาพกราฟฟิก (อันเล็กๆ) คำสั่ง (command), prompt (เช่น C:> _ , A:> _ เป็นต้น) และเครื่องมืออื่นๆ ที่สามารถทำให้ผู้ใช้ (user) และคอมพิวเตอร์มีปฏิสัมพันธ์กันได้

interface ตัวประสานหมายถึง การเชื่อมต่อระหว่าง คอมพิวเตอร์ ที่ถ่ายโอนข้อมูลจากกันและกันได้ แต่มักนำมาใช้ในความหมายของ user interface ที่แปลว่า การติดต่อประสานระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับผู้ใช้ เช่น แป้นพิมพ์, จอภาพ ต่างก็เป็นตัวประสานกับผู้ใช้ทั้งสิ้น
หลักการทำงาน คือ การที่จะโอนย้ายข้อมูลทุกตัวนั้นจะต้องมีแหล่งที่ส่งข้อมูล และแหล่งที่รับข้อมูลสำหรับขบวนการเหล่านั้น จะมีส่วนที่สำคัญกว่า ข้อมูลนั้นเป็น แอดเดรสหรือว่าเป็นดาต้า จะส่งไปยังจุดไหน และจะส่งเมื่อไร การทำงานเหล่านี้โดยทั่วๆไป จะต้องมีสัญญาณ ในการตรวจสอบอุปกรณ์ว่าพร้อมที่จะส่ง/รับข้อมูล หรือยังก่อนเสมอ เนื่องจากจุดที่ส่งและรับ ข้อมูล จะต้องมีสัญญาณตรวจสอบความพร้อมเสมอเพื่อที่จะให้ข้อมูลที่เราใช้งานนั้นๆ เป็นระเบียบ ซึ่งจุดรับส่งคู่หนึ่งๆ อาจจะเป็นระหว่างซีพียูด้วยกัน หรือ ซีพียูกับหน่วยความจำ หรือ ซีพียูกับอุปกรณ์รอบข้าง หรือ ระหว่างอุปกรณ์รอบข้างด้วยกัน หรือ ระหว่างหน่วยความจำกับอุปกรณ์รอบข้าง ก็ได้ สำหรับข้อมูลที่โอนย้ายไปมานั้นจะอยู่ในลักษณะของเลขฐาน ขึ้นอยู่กับของระบบนั้นๆ ถ้าหากเป็นการต่อจากพอร์ตพีซีไม่ว่าจะเป็น Serial หรือ Parallel ในสัญญาณที่ส่งมาจะมีระบบแรงดันไฟฟ้า


อ้างอิง google
guest profile guest

Interface คือ การกำหนดความสามารถของ object ใน OOP ซึ่ง class ใด implement interface ก็เป็นการสัญญาว่าจะมีความสามารถตามที่ interface กำหนดไว้ พูดง่ายๆก็คือ เป็นการแยก specification ออกจาก ส่วน implementation ของ class นั่นเอง ดังนั้นการติดต่อกับ object ที่สร้างขึ้นจาก class ดังกล่าวต้องผ่าน interface เท่านั้นอินเตอร์เฟส จุดเชื่อมระหว่างตัวการ 2 ตัวซึ่งจะต้องปฏิบัติงานร่วมกัน หรือต้องอาศัยซึ่งกันและกัน ในการทำงานในทางคอมพิวเตอร์ จุดเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์เรียกว่า user interface. ซึ่งประกอบไปด้วย ไอคอน หรือภาพกราฟฟิก (อันเล็กๆ) คำสั่ง (command), prompt (เช่น C:> _ , A:> _ เป็นต้น) และเครื่องมืออื่นๆ ที่สามารถทำให้ผู้ใช้ (user) และคอมพิวเตอร์มีปฏิสัมพันธ์กันได้

interface ตัวประสานหมายถึง การเชื่อมต่อระหว่าง คอมพิวเตอร์ ที่ถ่ายโอนข้อมูลจากกันและกันได้ แต่มักนำมาใช้ในความหมายของ user interface ที่แปลว่า การติดต่อประสานระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับผู้ใช้ เช่น แป้นพิมพ์, จอภาพ ต่างก็เป็นตัวประสานกับผู้ใช้ทั้งสิ้น
หลักการทำงาน คือ การที่จะโอนย้ายข้อมูลทุกตัวนั้นจะต้องมีแหล่งที่ส่งข้อมูล และแหล่งที่รับข้อมูลสำหรับขบวนการเหล่านั้น จะมีส่วนที่สำคัญกว่า ข้อมูลนั้นเป็น แอดเดรสหรือว่าเป็นดาต้า จะส่งไปยังจุดไหน และจะส่งเมื่อไร การทำงานเหล่านี้โดยทั่วๆไป จะต้องมีสัญญาณ ในการตรวจสอบอุปกรณ์ว่าพร้อมที่จะส่ง/รับข้อมูล หรือยังก่อนเสมอ เนื่องจากจุดที่ส่งและรับ ข้อมูล จะต้องมีสัญญาณตรวจสอบความพร้อมเสมอเพื่อที่จะให้ข้อมูลที่เราใช้งานนั้นๆ เป็นระเบียบ ซึ่งจุดรับส่งคู่หนึ่งๆ อาจจะเป็นระหว่างซีพียูด้วยกัน หรือ ซีพียูกับหน่วยความจำ หรือ ซีพียูกับอุปกรณ์รอบข้าง หรือ ระหว่างอุปกรณ์รอบข้างด้วยกัน หรือ ระหว่างหน่วยความจำกับอุปกรณ์รอบข้าง ก็ได้ สำหรับข้อมูลที่โอนย้ายไปมานั้นจะอยู่ในลักษณะของเลขฐาน ขึ้นอยู่กับของระบบนั้นๆ ถ้าหากเป็นการต่อจากพอร์ตพีซีไม่ว่าจะเป็น Serial หรือ Parallel ในสัญญาณที่ส่งมาจะมีระบบแรงดันไฟฟ้า


อ้างอิง google
guest profile guest

การอินเตอร์เฟส คือ การทำงานติดต่อเชื่อมโยงร่วมกันระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์อื่นๆ กับการโอนถ่ายข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ นอกเหนือจากจะต้องทำงานติดต่อกับ RAM, ROM แล้วยังต้องมีการติดด่อกับอุปกรณ์ภายนอกที่มีการส่งข้อมูลอินพุท, เอาท์พุทอีกทางหนึ่ง ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบสมบูรณ์ ในระบบต่างของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จะทำงานต่อเนื่องเป็นลูกโซ่

คุณลักษณะของอินเตอร์เฟสประกอบด้วยข้อกำหนด 4 ประการ คือ
1. ข้อกำหนดทางกลไก
2.
ข้อกำหนดทางไฟฟ้า
3.
ข้อกำหนดด้านฟังก์ชั่นการทำงาน
4.
ข้อกำหนดด้านขั้นตอนการทำงาน
ข้อกำหนดทางกลไก
เป็นส่วนทางกายภาพของปลั๊ก EIA-232 ที่ใช้เชื่อมต่อ
ข้อกำหนดทางไฟฟ้า
เป็นข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับรายละเอียดของสัญญาณไฟฟ้า
ข้อกำหนดด้านฟังก์ชั่นการทำงาน
ถือเป็นสิ่งสำคัญท่สุดเลยจะแสดงถึงหัวเข็มและตำแหน่งของหัวเข็ม จะมีการกำหนดหน้าที่เฉพาะของตน
ข้อกำหนดด้านขั้นตอนการทำงาน
เป็นรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการติดต่อสื่อสารและขั้นตอนการทำงาน
หลักการทำงาน คือ การที่จะโอนย้ายข้อมูลทุกข้อมูลและจะต้องมีแหล่งที่จะส่งและรับข้อมูล กระบวนการเหล่านั้น จะมีส่วนที่สำคัญกว่า ข้อมูลนั้นเป็น แอดเดรสหรือว่าเป็นดาต้า จะส่งไปยังจุดใด และจะส่งเมื่อไร การทำงานเหล่านี้โดยทั่วๆไป จะต้องมีสัญญาณ
แนวความคิดเกี่ยวกับปัจจัยของมนุษย์ และการออกแบบอินเตอร์เฟส ที่เกี่ยวข้องกับศักยภาพของทั้งมนุษย์และคอมพิวเตอร์ ระบบการให้ความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา รูปแบบการปฏิสัมพันธ์ และหลักการออกแบบที่มองเห็นได้ แบบจำลองการอินเตอร์เฟสสำหรับผู้ใช้ และเครื่องมือที่นำมาพัฒนา ผลกระทบของเทคโนโลยีที่มีต่อมนุษย์ วางแผนในการเลือกใช้เทคโนโลยี การนำมาปฏิบัติ และการใช้เทคโนโลยีเพื่อให้ผลกระทบปรากฎออกมาในเชิงบวก
ที่มา
www.google.co.th
www.moodle.rmutt.ac.th
หนังสือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
โดย โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์

guest profile guest

อธิบายถึงการติดต่อปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์ ในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ แนวความคิด รวมถึงการสื่อสารทั้งหมด คำสั่งที่จำเป็นในการป้อนอินพุทสู่ระบบและแสดงเอ้าท์พุทในรูปของจอภาพหรือรายงาน

HCI system (Human-Computer Interface หรือ Human-Computer Interaction) และรวมถึง HMI system (Human-Machine Interface) คือ ระบบที่มีคนร่วมทำงานอยู่ในลูปการทำงานของคอมพิวเตอร์ อาจจะอยู่ในส่วนใดส่วนหนึ่งของระบบ ซึ่งประกอบด้วย อินพุต, การประมวลผล และ เอาท์พุต เช่น ทำหน้าที่ป้อนอินพุต หรือรับเอาท์พุต เป็นต้น

ความเป็นมาของ HCI เกิดขึ้นในช่วงปี 1970-1979 เริ่มต้นจากการใช้งาน PLC (Programable Logic Control) เป็นอินเตอร์เฟสสำหรับให้ผู้ใช้งานmonitoring กระบวนการทำงานต่างๆ หลักการออกแบบของ HCI หรือ HMI คือ ออกแบบระบบเพื่อทำให้มนุษย์สามารถใช้งานได้อย่างมีคุณภาพมากที่สุด (เต็มประสิทธิภาพ) หรือเป็นธรรมชาติมากที่สุด

จากเว็บไซต์ http://en.wikipedia.org ได้อธิบายเป้าหมายของ HCI ว่า เพื่อออกแบบระบบที่คอมพิวเตอร์มีความรู้ความเข้าใจในสิ่ง/งานที่มนุษย์ต้องการ ได้ใกล้เคียงกับงานที่มนุษย์ต้องการทำให้สำเร็จมากที่สุด โดย HCI สนใจเกี่ยวกับเรื่อง กระบวนการและวิธีที่ใช้ในการออกแบบอินเตอร์เฟส (เพื่อให้ได้อินเตอร์เฟสที่เหมาะสมตามความต้องการมากที่สุด หรือสามารถทำงานได้มีประสิทธิภาพสูงที่สุด), เทคนิคการ evaluate และ เปรียบเทียบระหว่างอินเตอร์เฟสต่างๆ รวมถึง การพัฒนาให้เกิดอินเตอร์เฟสและอินเตอร์แอคชั่นใหม่ๆ เป็นต้น


จากภาพคือ องค์ประกอบโดยรวมของระบบ HCI มีระบบคอมพิวเตอร์อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เป็นองค์กรสังคม หรือองค์กรการทำงาน โดยมี application ถูกพัฒนาบน application area เพื่อให้ทำงานตามที่ต้องการ และจะต้องนำไปสู่การตอบสนองงานที่เหมาะสมต่อการใช้งานและความต้องการ

ในการออกแบบระบบ เมื่อมีมนุษย์อยู่ในลูปการทำงานจะมีปัจจัยทางด้านสังคมมาเกี่ยวข้อง เพิ่มจากระบบที่เป็นอัตโนมัติหรือหุ่นยนต์เท่านั้น ทำให้ต้องคำนึงถึงความสามารถการประมวลผลข้อมูล/การติดต่อสื่อสารของมนุษย์ รวมถึงพฤติกรรมและลักษณะทางกายภาพของผู้ใช้ด้วย ส่วนด้านคอมพิวเตอร์ มีหลายเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อรองรับการทำงานร่วมกันระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์ เช่น อุปกรณ์อินพุต เอาท์พุตที่ทำหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างมนุษย์และเครื่องจักร ซึ่งจะต้องรู้เทคนิคต่างๆของคอมพิวเตอร์ เช่น Computer graphic, dialogue, architecture เป็นต้น

ในการ Evaluate ระบบต้องคำนึงเพิ่มเติมถึงเรื่องของ usability คือ ต้องสนใจว่าระบบสามารถใช้งานได้หรือไม่ เช่น การ operate ระบบสามารถทำได้ง่ายและมีประสิทธิภาพหรือไม่ และต้องสนใจ evaluation ด้านผู้ใช้ด้วย เช่น ความพึงพอใจของผู้ใช้, ประโยชน์ที่ได้จากการใช้ระบบ หรือ ผลกระทบภายหลังการใช้ระบบต่อผู้ใช้ นอกเหนือจาก เรื่องของ system performance

 

ตัวอย่าง HCI device

Datagrove: อุปกรณ์ใช้ตรวจจับการเคลื่อนไหว และ โค้งงอของมือ ตัวอย่างประยุกต์ใช้งาน ได้แก่ การตรวจจับท่าทางภาษาใบ้ของมือและสร้างเสียงแทนคำนั้นๆ เพื่อใช้กับผู้พิการ

Head-mounted display: อุปกรณ์ที่ทำการสร้างภาพ 3 มิติ (stereoscopic) ทำให้ผู้ใช้รู้สึกเสมือนอยู่จริงในสถานที่ตามที่เห็น

Exoskeleton devices:

3-D audio software: โปรแกรมในการสร้างเสียงแบบ 3 มิติ

Opital tracking software: โปรแกรมสร้างภาพกราฟฟิค เพื่อจำลองการเคลื่อนไหวของคน โดยใช้กล้องตรวจจับการเคลื่อนไหวของร่างกาย

 

VR (Virtual Reality) Systems:

Immersive Virtual Reality: ระบบจริงเสมือนที่เฉพาะผู้ที่ใส่ Head-mounted display เท่านั้น จึงจะเห็นภาพกราฟฟิค

Projected Reality: ระบบจริงเสมือนที่ทำการฉายภาพคนกับภาพกราฟฟิครวมกัน ต่างกับ Immersive VR คือ ไม่ต้องสวมใส่ Head-mounted display ก็สามารถเห็นภาพกราฟฟิครวมกับภาพคนได้

Augmented Reality: ความจริงเสริม คือการซ้อนทับภาพกราฟฟิคลงบนภาพจริง

Telepresence: การควบคุมระยะไกลเสมือนว่าอยู่ที่นั่น เช่น Telepresence Surgery คือการผ่าตัดซึ่งควบคุมหุ่นยนต์ผ่าตัดในระยะไกล และดูภาพจากกล้องที่ฟีดแบคกลับมา

guest profile guest

ปัจจัยของมนุษย์สำหรับการอินเตอร์เฟส

ประสิทธิภาพของปัจจัยมนุษย์

มนุษย์ปัจจัยที่มีต้นกำเนิดในการปฏิวัติอุตสาหกรรมและกลายเป็นวินัยเต็มที่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นที่ยอมรับว่าการออกแบบห้องนักบินเครื่องบินต้องพิจารณา interface มนุษย์เพื่อควบคุมและแสดง วิศวกรออกแบบโดยเน้นเทคโนโลยีในขณะที่นักจิตวิทยาอุตสาหกรรมทำงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการอินเตอร์เฟส ในบางกรณีงานออกแบบปัจจัยที่มีผลต่อกำไรบรรทัดด้านล่างหรือสามารถเรื่อง ชีวิตและความตายเช่นคุณไม่ต้องการให้กดปุ่มผิดหรือผิดพลาดเมตรสำหรับ กิโลเมตรในยานอวกาศ บริษัท มาทราบว่าประสบความสำเร็จผลิตภัณฑ์ขึ้นอยู่กับปัจจัยมนุษย์ที่ดีออกแบบ

 มนุษย์ปัจจัยที่มักใช้สลับกันกับ User Interface Design หรือ Human - Computer Interface มีจำนวนมากทับซ้อนในสาขาวิชาเหล่านี้ แต่มนุษย์ปัจจัยหมายถึงการออกแบบฮาร์ดแวร์ขณะ HCI หมายถึงซอฟต์แวร์ออกแบบ งานวิศวกรรมในสาขาวิชาจิตวิทยาและทับซ้อนถือเป็นมากกว่าความแตกต่าง

ปัจจัยที่ดีที่สุดของมนุษย์ต้องใช้วิธีการออกแบบระบบประมวลผลการออกแบบ แต่เพื่อให้ประสิทธิภาพสูงสุด, การทดสอบการใช้งานต้อง นี้การทดสอบเชิงประจักษ์อนุญาตให้ผู้หลงเชื่อเพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่ทำงานเป็นสิ่งที่คาดและไม่ทำงาน หลังจากซ่อมแซมทำให้สามารถทำผลิตภัณฑ์ที่ถือว่ามีผู้ใช้เพิ่มประสิทธิภาพการออกแบบ

วันนี้ทุกองค์กรขนาดใหญ่และทหารผลิตวิศวกรออกแบบด้วยทีมนักจิตวิทยาวิศวกรรมเพื่อให้การใช้งานสูงสุด บางอุตสาหกรรมที่สำคัญอาศัยปัจจัยมนุษย์เพื่อพิจารณาออกแบบที่ : High Tech, เครื่องบิน, รถยนต์, ทหาร, สินค้าอุปโภคบริโภคและ บริษัท อื่น ๆ ที่ต้องการขอบในตลาด

มนุษย์ปัจจัย Expert Services

Usernomics สามารถช่วยให้ บริษัท ของคุณกับปัจจัยที่มีผลงานการออกแบบ เราสามารถช่วยทำให้ผลิตภัณฑ์ของคุณใช้งานมีประสิทธิภาพและยอมรับของ การออกแบบผลิตภัณฑ์ของคุณจะได้รับประโยชน์จากระบบของผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง ปัจจัยมนุษย์แนวทาง culminating ในผู้เชี่ยวชาญด้านการทดลองใช้งานทดสอบ

นักจิตวิทยาและผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมของปัจจัยมนุษย์ออกแบบทั้งฮาร์ดแวร์และ ความเชี่ยวชาญของพวกเขาครอบคลุมหลากหลายผลิตภัณฑ์รวมทั้งบนเว็บและซอฟต์แวร์ สินค้าอุปโภคบริโภคระบบการสื่อสารและยานพาหนะเช่นรถยนต์และเครื่องบิน

Internet Links Internet Links

เป็นบริการเพื่อชุมชนมืออาชีพของเราเรายินดีที่จะทำให้คุณเป็นสถานที่เริ่มต้นที่ดีสำหรับตำแหน่งข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยมนุษย์

เรื่องต่างๆใน HCI ที่เราจะใช้งาน

 

1. ความจำมนุษย์ มี 3 ระดับ

<!--[if !supportLists]-->1.      ความ จำระยะสั้น เรียนกว่า working memory.....คือความจำในขณะทำงาน เช่น คนกำลังกดปุ่มแล้วไปหน้าโน้นหน้านี้ ว่าไปหน้าไหน คนก็จะจำได้..ความจำชนิดนี้ ถ้าในระหว่างทำงานแล้วโดนคนมากวน อาจจะทำให้ลืมได้<!--[endif]-->

<!--[if !supportLists]-->2.      ความจำระยะกลาง เช่น เมื่อ 2 ปีที่แล้วเคยเรียนที่ไหน<!--[endif]-->

<!--[if !supportLists]-->3.      ความจำยะระยาว เช่น เราเป็นลูกใคร เกิดที่ไหน<!--[endif]-->

 

<!--[if !supportLists]-->  ความสำคัญของ User Interface Design & HCI<!--[endif]-->

<!--[if !supportLists]-->1)      User Interface Design<!--[endif]-->

User Interface คือ สิ่งที่ผู้ใช้สัมผัสหรือกระทำการควบคุมในการทำงาน

ตัวอย่าง
User Interface ที่เกี่ยวกับ computer
User = ผู้ใช้
Interface = mouse , keyboard, จอภาพ, ปุ่มต่าง, Icons, graphic ต่างๆที่ผู้ใช้ ใช้ควบคุมให้ software ทำงาน

User Interface + Design
คือ การออกแบบ Interface ให้กับผู้ใช้
เช่นการออกแบบ รูปปุ่ม Icons ต่างๆให้ผู้ใช้กดเพื่อให้ software ทำงาน

2) Human Computer Interaction (HCI)
คือ ปฏิกิริยาระหว่างมนุษย์ กับ Computer

ที่มา  http://google.co.th/

          http://en.wikipedia.org

guest profile guest
การอินเตอร์เฟส
คือ การทำงานติดต่อร่วมกันระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์อื่นๆกับการโอนถ่ายข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ นอกเหนือจากจะต้องทำงานติดต่อกับ RAM, ROM แล้วยังต้องมีการติด่อกับอุปกรณ์ภายนอกที่มีการส่งข้อมูลInput, Output อีกทางหนึ่ง ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบสมบูรณ์ ในระบบต่างของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จะทำงานต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ ดังเช่น การส่งรับข้อมูลจากซีพียูไปยังส่วนอื่นๆ เป็นต้น
อินเตอร์เฟส จุดเชื่อมระหว่างตัวการ 2 ตัวซึ่งจะต้องปฏิบัติงานร่วมกัน หรือต้องอาศัยซึ่งกันและกัน ในการทำงานในทางคอมพิวเตอร์ จุดเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์เรียกว่า user interface. ซึ่งประกอบไปด้วย ไอคอน หรือภาพกราฟฟิก (อันเล็กๆ) คำสั่ง (command), prompt (เช่น C:> _ , A:> _ เป็นต้น) และเครื่องมืออื่นๆ ที่สามารถทำให้ผู้ใช้ (user) และคอมพิวเตอร์มีปฏิสัมพันธ์กันได้  การทำงานติดต่อร่วมกันระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์อื่นๆกับการโอนถ่ายข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ นอกเหนือจากจะต้องทำงานติดต่อกับ RAM, ROM แล้วยังต้องมีการติด่อกับอุปกรณ์ภายนอกที่มีการส่งข้อมูลอินพุท, เอาท์พุทอีกทางหนึ่ง ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบสมบูรณ์ ในระบบต่างของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จะทำงานต่อเนื่องเป็นลูกโซ่

หลักการทำงาน คือ การที่จะโอนย้ายข้อมูลทุกตัวนั้นจะต้องมีแหล่งที่ส่งข้อมูล และแหล่งที่รับข้อมูลสำหรับขบวนการเหล่านั้น จะมีส่วนที่สำคัญกว่า ข้อมูลนั้นเป็น แอดเดรสหรือว่าเป็นดาต้า จะส่งไปยังจุดไหน และจะส่งเมื่อไร การทำงานเหล่านี้โดยทั่วๆไป จะต้องมีสัญญาณ ในการตรวจสอบอุปกรณ์ว่าพร้อมที่จะส่ง/รับข้อมูล หรือยังก่อนเสมอ เนื่องจากจุดที่ส่งและรับ ข้อมูล จะต้องมีสัญญาณตรวจสอบความพร้อมเสมอเพื่อที่จะให้ข้อมูลที่เราใช้งานนั้นๆ เป็นระเบียบ ซึ่งจุดรับส่งคู่หนึ่งๆ อาจจะเป็นระหว่างซีพียูด้วยกัน หรือ ซีพียูกับหน่วยความจำ หรือ ซีพียูกับอุปกรณ์รอบข้าง หรือ ระหว่างอุปกรณ์รอบข้างด้วยกัน หรือ ระหว่างหน่วยความจำกับอุปกรณ์รอบข้าง ก็ได้ สำหรับข้อมูลที่โอนย้ายไปมานั้นจะอยู่ในลักษณะของเลขฐาน ขึ้นอยู่กับของระบบนั้นๆ ถ้าหากเป็นการต่อจากพอร์ตพีซีไม่ว่าจะเป็น Serial หรือ Parallel ในสัญญาณที่ส่งมาจะมีระบบแรงดันไฟฟ้า


http://samphan.ob.tc/-View.php?N=1

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน

13 ปีที่ผ่านมา