พิชิตข้อสอบ นักการข่าวปฏิบัติการ(ด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์) [สำนักข่าวกรองแห่งชาติ] ฉบับล่าสุด59

mukti profile image mukti
1. ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติฉบับแรกเริ่มใช้เมื่อปีใด
ก. พ.ศ. 2515 ข. พ.ศ. 2517
ค. พ.ศ. 2519 ง. พ.ศ. 2521

2. ใครเป็นผู้ลงมติให้วางระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.2552
ก. นายสมชาย วงษ์สวัสดิ์
ข. พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร
ค. นายชัย ชิดชอบ
ง. นายอภิสิทธ์ เวชชาชีวะ

3. ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ประกาศใช้ใน
ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่เท่าใด
ก. 13 มีนาคม พ.ศ. 2552
ข. 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
ค. 23 มีนาคม พ.ศ. 2552
ง. 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
“ที่สงวน”ตามความหมายของระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.2552 หมายถึงที่ใด
ก. สิ่งปลูกสร้างสำหรับป้องกันประเทศ
ข. ชุมทางรถไฟ
ค. สิ่งอื่นๆ ที่ กรช. กำหนด
ง. ถูกทุกข้อ

4. องค์การรักษาความปลอดภัยตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.2552 คือข้อใด
ก. สำนักข่าวกรองแห่งชาติ
ข. กองบัญชาการกองทัพไทย
ค. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ง. ถูกทุกข้อ

5. สำนักข่าวกรองแห่งชาติ สังกัดหน่วยงานใด
ก. สำนักนายกรัฐมนตรี
ข. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ค. กระทรวงกลาโหม
ง. ตำรวจสันติบาล

6. ชั้นของความลับทางราชการแบ่งออกเป็นกี่ชั้น
ก. 2 ชั้น
ข. 3 ชั้น
ค. 4 ชั้น
ง. 5 ชั้น

7. การทำลายเพื่อทำให้เสียหายต่อทรัพย์สินหรือรบกวนขัดขวางหน่วงเหนี่ยวระบบการปฏิบัติการ รวมถึงการประทุษร้ายต่อบุคคลเพื่อให้เกิดความปั่นป่วน เรียกว่า
ก. การรักษาความปลอดภัย
ข. การจารกรรม
ค. การก่อวินาศกรรม
ง. การบ่อนทำลาย

8. ข้อใดไม่ใช่คณะกรรมการนโยบายรรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ
ก. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ข. ปลัดกระทรวงกลาโหม
ค. ปลัดกระทรวงการคลัง
ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด

9. “กรช.”คือหน่วยงานในข้อใด
ก. กรรมการรักษาความสงบแห่งชาติ
ข. คณะกรรมการนโยบายรรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ
ค. กรมรักษาดินแดนภายในชาติ
ง. ไม่มีข้อถูก
ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2554 ฉบับที่ 2 ประกาศในราชจานุเบกษาเมื่อใด
ก. 13 มีนาคม พ.ศ. 2554 ข. 13 สิงหาคม พ.ศ. 2554
ค. 17 มิถุนายน พ.ศ. 2554 ง. 23 มิถุนายน พ.ศ. 2554

10. ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2554 ให้แก้ไขเรื่องใดในฉบับที่ 1 พ.ศ.2552
ก. สำนักข่าวกรองแห่งชาติ ข. หน้าที่ของ กรช.
ค. ระดับชั้นของความลับ ง. คณะกรรมการนโยบายรรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ
 
11. ที่เป็นความต้องการของทางราชการได้ถูกครอบครองหรือได้ทราบโดยบุคคลที่ไม่มีอำนาจหน้าที่เรียกว่า
ก. การบ่อนทำลาย ข. การรั่วไหล
ค. การรั่วถึง ง. ที่สงวน

12. ความมุ่งหมายของระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ ข้อใดไม่ใช่
ก. เพื่อพิทักษ์รักษาและป้องกันสิ่งที่เป็นความลับทางราชการ
ข. ป้องกันการจารกรรมทั้งจากบุคคลภายในและภายนอกราชการ
ค. ป้องกันรักษาไว้ซึ่งข้อมูลทางธุรกิจการค้าของบริษัท
ง. พิทักษ์รักษาและป้องกันการก่อวินาศกรรมแก่บุคคล สิ่งของ

13. อะไรคือหลักการรักษาความปลอดภัย
ก. การมอบหมายให้ข้าราชการปฏิบัติงานเกี่ยวกับความลับของทางราชการ ต้องจำกัดให้ทราบเท่าที่จำเป็น
ข. การรักษาความปลอดภัยที่ดีนั้นจะต้องมีจุดอ่อนน้อยที่สุด
ค. ต้องมีการสอดส่องและตรวจสอบมาตรการที่วางไว้เป็นประจำ
ง. ถูกทุกข้อ

14. ประเภทของการรักษาความปลอดภัย มีกี่ประเภท
ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท
ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท

 
 
******แนวข้อสอบความเหมาะสมกับตำแหน่ง เลือกตามตำแหน่งที่สอบ*******
สนใจสอบถาม/ติดต่อสั่งซื้อ :
โทร       :  080 450 5746
Line ID  : muktit
E-mail    : vijjadh@gmail.com

Facebook  :  https://www.facebook.com/ebookkhosob
 
 
 
แนวข้อสอบพ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารทางราชการ

1.กฎหมายใดที่เกี่ยวข้องกับ พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
ตอบ ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517

2.ลักษณะสำคัญของข้อมูลข่าวสารที่สำคัญตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
ตอบ 1) ข้อมูลข่าวสารของทางราชการที่ต้องเปิดเผย โดยลงการพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (ม.7)
2) ข้อมูลข่าวสารของทางราชการที่ไม่ต้องเปิดเผยแต่ต้องจัดไว้เพื่อให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้
3) ข้อมูลข่าวสารที่ต้องเปิดเผยเมื่อมีคำขอของประชาชน
4) ข้อมูลข่าวสารของราชการที่หน่วยงานของรัฐ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ อาจมีคำสั่งมิให้เปิดเผยด้วยเหตุผลเกี่ยวกับประโยชน์สาธารณะ ประโยชน์ของเอกชน และการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงานของรัฐ (ม.15)

3.ผู้รักษาการตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 ซึ่งมีอำนาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ คือ
ตอบ นายกรัฐมนตรี (ม.5)

4.หน่วยงานของรัฐที่อยู่ในบังคับของ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 (ม.4)
ตอบ 1)ราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
2)รัฐวิสาหกิจ
3)ส่วนราชการที่สังกัดรัฐสภา
4)องค์กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ เช่น สภาทนายความ

5.ข้อใดเป็นหลักการสำคัญของ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
ตอบ 1)ถือเป็นสิทธิ ของประชาชนในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการ ส่วนข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผยถือว่าเป็นข้อยกเว้น
2)การให้ความคุ้มครองสิทธิของบุคคล ผู้ซึ่งมีข้อมูลข่าวสารบุคคลของเขาอยู่ในความควบคุมดูและของทางราชการ

6.ข้อใดเป็น ข้อจำกัดสิทธิ ในการรับรู้ข่าวสารของทางราชการ (ข้อมูลข่าวสารของทางราชการที่ไม่ต้องเปิดเผย)
ตอบ 1)ข้อมูลข่าวสารของราชการที่อาจก่อความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
2)ข้อมูลข่าวสารที่หากเปิดเผยจะกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ
3)ข้อมูลข่าวสารที่หากเปิดเผยจะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต หรือความปลอดภัยของบุคคลหนึ่งบุคคลใด
4)ข้อมูลข่าวสารที่มีผู้ให้มาโดยไม่ประสงค์ให้ทางราชการนำไปเปิดเผยต่อผู้อิ่น

7.ข้อใดเป็นคณะกรรมการตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
ตอบ 1)คณะ กก.ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ 2)คณะอนุ กก.วินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
8.การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารในลักษณะใดที่คนในชาติ (พลเมือง) มีสิทธิดีกว่าคนต่างด้าว
ตอบ ข้อมูลข่าวสารของราชการที่ไม่ต้องเปิดเผย แต่ต้องจัดไว้เพื่อให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้

9.นิติบุคคลต่างด้าวตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 คือใคร
ตอบ 1)นิติบุคคลที่มีทุนเกินกว่า 50% เป็นของคนต่างด้าว
2)นิติบุคคลที่มีสมาชิกเกินกว่า 50% เป็นของคนต่างด้าว
3)นิติบุคคลที่มีผู้แทนนิติบุคคลเกินกว่า 50% เป็นของคนต่างด้าว
4)นิติบุคคลมีวัตถุประสงค์เป็นไปเพื่อประโยชน์ของคนต่างด้าว

10.โครงสร้างและการจัดองค์กร อำนาจหน้าที่ ภารกิจกรมการปกครอง จัดเป็นข้อมูลข่าวสารของทางราชการประเภทใด
ตอบ ข้อมูลข่าวสารที่ต้องเปิดเผย โดยการลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา

11. ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ ที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ต้องส่งมอบให้หอจดหมายเหตุแห่งชาติ เมื่อมีอายุครบ กี่ปี
ตอบ 75 ปี

12.สัญญาสัมปทาน เป็นข้อมูลข่าวสารประเภทใด
ตอบ จัดให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้

13.องค์ประกอบของ คณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร ตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 (ไม่รวมฝ่ายเลขานุการ) มีจำนวนกี่คน
ตอบ 23 คน (มาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง คือไม่น้อยกว่า 12 คน)
 
14.อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
ตอบ 1)สอดส่องดูแล และให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐและหน่วยงานของรัฐในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ
2)ให้คำปรึกษาแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ เกี่ยวกับการปฏิบัติตาม พ.ร.บ.ตามที่ได้รับคำขอ
3)เสนอแนะในการตรา พ.ร.ฎ. และออกกฎกระทรวง หรือระเบียบของคณะรัฐมนตรีตามพระราชบัญญัติ
4)พิจารณาและให้ความเห็นเรื่องร้องเรียน กรณีหน่วยงานของรัฐไม่จัดพิมพ์ข้อมูลข่าวสารที่ต้องเปิดเผย ไม่จัดข้อมูลข่าวสารไว้ให้ประชาชนตรวจดูได้ หรือไม่จัดหาข้อมูลข่าวสารที่ประชาชนร้องขอ และเรื่องร้องเรียนในกรณีที่มีการฝ่าฝืน ให้ปฏิบัติตาม พ.ร.บ.หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า หรือไม่อำนวยความสะดวกโดยไม่มีเหตุอันสมควร

13.องค์ประกอบของ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 (ไม่รวมฝ่ายเลขานุการ) มีจำนวนกี่คน
ตอบ ไม่น้อยกว่า 3 คน อาจมีคณะหนึ่งหรือหลายคณะตามความจำเป็น ซึ่งคณะรัฐมนตรีจะได้แต่งตั้งตามข้อเสนอของคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร

14.อำนาจหน้าที่ที่สำคัญของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
ตอบ 1)พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ (ตาม ม.14)
2) พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่กระทบกระเทือนต่อประโยชน์สาธารณะ ประโยชน์ของเอกชน และการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงานของรัฐ (ตาม ม. 15)
3) พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งไม่รับฟังคำคัดค้านของผู้ซึ่ง หากมีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของทางราชการ จึงจะกระทบประโยชน์ได้เสียของเขา (ตาม ม.17)
4) พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่ง ไม่แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ของบุคคล ซึ่งเห็นว่าข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับตนไม่ถูกต้องตามที่เป็นจริง

15.สิทธิที่สำคัญของบุคคลซึ่งข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับตน อยู่ในความควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ
ตอบ 1) สิทธิที่จะได้รับรู้ถึงข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับตน
2) สิทธิที่จะได้ตรวจดู หรือได้สำเนาข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับตน เมื่อมีคำขอเป็นหนังสือไปยังหน่วยงานของรัฐ
3) สิทธิที่จะยื่นคำขอเป็นหนังสือ ต่อหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ควบคุมดูแลให้แก้ไขเปลี่ยนแปลง หรือลบข้อมูลข่าวสารที่ไม่ถูกต้องตามความเป็นจริง
4) สิทธิที่จะยื่นคำอุทธรณ์ไปยังคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร เมื่อหน่วยงานของรัฐไม่แก้ไขเปลี่ยนแปลง หรือลบข้อมูลข่าวสารที่ไม่ถูกต้องตามที่เป็นจริง เมื่อได้มีคำขอเช่นว่านั้น

16.การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลของหน่วยงานของรัฐ ข้อใดไม่ต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลนั้น
ตอบ 1)การใช้ข้อมูลตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ
2)การใช้ข้อมูลเพื่อการฟ้องคดี
3)การใช้ข้อมูลเพื่อการสำมะโนประชากร
4)การใช้ข้อมูลเพื่อการวิจัย โดยไม่ระบุชื่อเจ้าของข้อมูล

17. ข้อมูลข่าวสารฯ คืออะไร
ตอบ ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ หมายความว่า ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ

18. หน่วยงานของรัฐ คืออะไร
ตอบ หน่วยงานของรัฐ หมายความว่า ราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ศาลเฉพาะในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี องค์กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หน่วยงานอิสระของรัฐ และหน่วยงานอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
-ราชการส่วนกลาง มี 15 กระทรวง 173 กรม 11
-ส่วนภูมิภาค มี 75 จังหวัด 795 อำเภอ 81 กิ่งอำเภอ
-ส่วนท้องถิ่น 75 อบจ. 1129 เทศบาล 6,745 อบต. 1 พัทยา 1 กทม.
-รัฐวิสาหกิจ 58 แห่ง
-ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา คือ สนง.เลขาธิการวุฒิสภา สนง.เลขานุการสภาผู้แทนราษฎร
-องค์กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ เช่น สภาทนายความ แพทยสภา เนติบัณฑิตสภา ฯลฯ
-หน่วยงานอิสระของรัฐ 11 หน่วย

19. เจ้าหน้าที่ของรัฐ คืออะไร
ตอบ ผู้ซึ่งปฏิบัติงานให้แก่หน่วยงานของรัฐ
 
แนวข้อสอบ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเสริมสร้างความสมานฉันท์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเสริมสร้างความสมานฉันท์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกาศใช้เมื่อใด

ก. ๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ค. ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐

ข. ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ง. ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐

ตอบ ค. ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเสริมสร้างความสมานฉันท์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ มีผลบังคับใช้เมื่อใด

ก. วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ข. หลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา 30 วัน

ค. หลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา 120 วัน

ง. หลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา 180 วัน

ตอบ ก. วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับความหมายของ

ก. การส่งเสริมกระบวนการยุติธรรมทางเลือก

ข. การสร้างสันติวัฒนธรรมให้เกิดขึ้นภายใต้หลักการและแนวทางการมีส่วนร่วมสันติวิธีและความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์

ค. การดำเนินการใดๆที่นำไปสู่การป้องกันแก้ไขและจัดการกับปัญหาข้อพิพาทและความขัดแย้งในด้านใดด้านหนึ่งที่สืบเนื่องจากกฎหมายและนโยบายสาธารณะ

ง. การส่งเสริมแนวทางในการป้องกันแก้ไขและจัดการกับปัญหาข้อพิพาทและความขัดแย้งด้วยสันติวิธีในรูปแบบต่างๆ

ตอบ ค. การดำเนินการใดๆที่นำไปสู่การป้องกันแก้ไขและจัดการกับปัญหาข้อพิพาทและความขัดแย้งในด้านใดด้านหนึ่งที่สืบเนื่องจากกฎหมายและนโยบายสาธารณะ

“การเสริมสร้างความสมานฉันท์” หมายความว่าการดำเนินการใดๆที่นำไปสู่การป้องกันแก้ไขและจัดการกับปัญหาข้อพิพาทและความขัดแย้งในด้านต่างๆทั้งในระดับบุคคลและที่สืบเนื่องจากกฎหมายและนโยบายสาธารณะโดยรวมถึงการส่งเสริมแนวทางในการป้องกันแก้ไขและจัดการกับปัญหาข้อพิพาทและความขัดแย้งด้วยสันติวิธีในรูปแบบต่างๆ การส่งเสริมกระบวนการยุติธรรมทางเลือก และการสร้างสันติวัฒนธรรมให้เกิดขึ้นภายใต้หลักการและแนวทางการมีส่วนร่วมสันติวิธีและความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์

ข้อใดถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับ “กระบวนการยุติธรรมทางเลือก”

ก. กระบวนการจัดการกับปัญหาข้อพิพาทโดยไม่อาศัยคนกลางมาช่วยเหลือ

ข. กระบวนการจัดการกับความขัดแย้งที่อาศัยบุคคลผู้เป็นกลางมาช่วยเหลือ

ค. กระบวนการจัดการกับปัญหาข้อพิพาทและความขัดแย้งโดยอาศัยศาลเป็นกลางมาช่วยเหลือ

ง. กระบวนการจัดการกับปัญหาข้อพิพาทและความขัดแย้งที่อาศัยบุคคลผู้เป็นกลางมาช่วยเหลือ กำกับหรืออำนวยกระบวนการเพื่อให้คู่พิพาทได้เจรจาตกลงในปัญหาที่เกิดขึ้นร่วมกันแทนการฟ้องร้องต่อศาล

ตอบ ง. กระบวนการจัดการกับปัญหาข้อพิพาทและความขัดแย้งที่อาศัยบุคคลผู้เป็นกลางมาช่วยเหลือ กำกับหรืออำนวยกระบวนการเพื่อให้คู่พิพาทได้เจรจาตกลงในปัญหาที่เกิดขึ้นร่วมกันแทนการฟ้องร้องต่อศาล

“การสร้างสันติวัฒนธรรม” หมายความว่า

ก. ประเพณีหรือวิถีชีวิตที่ปฏิเสธความรุนแรงทุกชนิด โดยเน้นความเอื้ออาทร

ข. ประเพณีหรือวิถีชีวิตที่ปฏิเสธความรุนแรงทุกชนิด โดยเน้นความเสมอภาคเท่าเทียมกัน

ค. ประเพณีหรือวิถีชีวิตที่ปฏิเสธความรุนแรงทุกชนิด โดยเน้นความคิดเชิงบวก

ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
“การสร้างสันติวัฒนธรรม” หมายความว่า แบบแผน ประเพณีหรือวิถีชีวิตที่ปฏิเสธความรุนแรงทุกชนิด โดยเน้นความเอื้ออาทร ความเสมอภาคเท่าเทียมกัน ความคิดเชิงบวก การสานเสวนาหรือหันหน้ามาพูดคุยกัน และตระหนักถึงคุณค่าศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เพื่อให้เกิดความสมานฉันท์

“ยุติธรรมชุมชน” หมายความว่า

ก. ยุทธวิธีส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันแก้ไขและจัดการกับปัญหาข้อพิพาทและความขัดแย้ง

ข. ปรัชญาในการอำนวยความยุติธรรมที่ต้องการให้ทุกฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้อง

ค. ประเพณีหรือวิถีชีวิตที่ปฏิเสธความรุนแรงทุกชนิด

ง. ไม่มีข้อถูก

ตอบ ก. ยุทธวิธีส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันแก้ไขและจัดการกับปัญหาข้อพิพาทและความขัดแย้ง

“ยุติธรรมชุมชน” หมายความว่า ยุทธศาสตร์และยุทธวิธีส่งเสริมสนับสนุนหรือกระตุ้นให้ประชาชนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมหรือเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐในการป้องกันแก้ไขและจัดการกับปัญหาข้อพิพาทและความขัดแย้ง เยียวยาความเสียหายให้กับผู้ได้รับผลกระทบและมีส่วนร่วมในการสร้างความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นในชุมชน

“ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์” หมายความว่า

ก. ปรัชญาในกา

พิชิตข้อสอบ นักการข่าวปฏิบัติการ(ด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์) [สำนักข่าวกรองแห่งชาติ] ฉบับล่าสุด59

ความคิดเห็น

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน