กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค นนทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์

attorney285 profile image attorney285

กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค นนทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์




ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ https://www.attorney285.co.th/p/1960

กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค นนทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์
ผู้แต่ง : นนทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 1 : มีนาคม 2560
จำนวนหน้า: 354 หน้า
ขนาด : 18.5 x 26 ซม.
รูปแบบ : ปกอ่อน
 
กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในเชิงสารบัญญัติ กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคเฉพาะเรื่อง องคาพยพของกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค และการบังคับใช้
 
สารบัญ
 
 บทนำ.
(๑)แนวความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค
(๒)ความเป็นมา และพัฒนาการเกี่ยวกับการคุ้ครองผู้บริโภคในประเทศไทย
(๓)ขอบเขต และลักษณะของกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค
(๓.๑)ขอบเขตของกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค
(๓.๑.๑) ในเชิงเนื้อหา
(๓.๑.๒) ในเชิงรูปแบบ
 
ส่วนที่หนึ่ง: กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองภู้บริโภคในเชิงสารบัญญัติ
ความนำ: 
 
บทที่ ๑กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคเป็นการทั่วไป
 ๑.๑ เหตุผลความจำเป็น และขอบเขตการใช้บังคับของพระราชบัญญัติ
 ๑.๑.๑ เหตุผลความจำเป็นของพระราชบัญญัติ
 ๑.๑.๒ ขอบเขตการใช้บังคับของพระราชบัญญัติ
 (๑) หลัก
 (๒) ข้อยกเว้น
 ๑.๒ กลไกลและมาตรการเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคตามพระราชบัญญัติ
๑.๒.๑ กลไกลในเชิงสารบัญญัติ:กลไกลเชิงป้องกัน
๑.๒.๑.๑ การรับรองและคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้บริโภค
 (๑) สิทธิที่จะได้รับข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ
 (Right to Informations)
 (๒) สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าและบริการ
(Right to Freedom of Choice)
 (๓) สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าและบริการ
(Right to Safety)
 (๔) สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา
 (Right to Fairness for Contract )
 (๕) สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย
 (Right to be heard and Right to Remedy)
๑.๒.๑.๒ การกำหนดให้มีองค์กรของรัฐเพื่อทำหน้าที่เกี่ยวกับการให้ความคุ้มครองแก่ผู้บริโภค
 (๑) องค์กรของรัฐที่ปฎิบัติหน้าที่ในระดับนโยบายและการควบคุมกำกับ
 (๒) องค์กรของรัฐที่ปฎิบัติหน้าที่ในระดับปฏิบัติการ
๑.๒.๑.๓ การกำหนดหน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้ประกอบธุระกิจ
 (๑) หน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้ประกอบธุระกิจ ในด้านการโฆษณา
 (๒) หน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้ประกอบธุระกิจ ในด้านฉลาก
 (๓) หน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้ประกอบธุระกิจ ในด้านสัญญา
 (๔) หน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้ประกอบธุระกิจ ในด้านความปลอดภัยของสินค้าและบริการ
๑.๒.๒ กลไกลในเชิงวิธีสบัญญัติ: กลไกลการแก้ไข้เยียวยาความเสียหาย
 ๑.๒.๒.๑ กรณีหน่วยงานของรัฐฟ้องและดำเนินคดีแทนผู้บริโภคที่ได้รับความเสียหาย
 (๑) เงื่อนไขเกี่ยวกับการดำเนินคดีโดยคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคแทนผู้บริโภคที่ได้รับความเสียหาย
 (๒) ผลทางกฎหมายของการดำเนินคดีโดยคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
 ๑.๒.๒.๒ กรณีองค์กรเอกชนฟ้องและดำเนินคดีแทนผู้บริโภคที่ได้รับความเสียหาย
 (๑) เงื่อนไขของสมาคมและมูลนิธิที่จะสามารถฟ้องคดีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผู้บริโภค
 (๒) การใช้สิทธิและอำนาจฟ้องคดีของสมาคมและมูลนิธิ
 
 บทที่ ๒ กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคเฉพาะเรื่อง
 ๒.๑ กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคเกี่ยวกับสินค้าเฉพาะอย่าง
๒.๑.๑ กฎหมายเกี่ยวกับอาหาร และกฎหมายเกี่ยวกับยา
๒.๑.๑.๑ เจตนารมณ์และโครงสร้างของกฎหมายเกี่ยวกับอาหาร และกฎหมายเกี่ยวกับยา
(๑) เจตนารมฌ์ของกฎหมายเกี่ยวกับอาหาร และกฎหมายเกี่ยวกับยา
(๒) โครงสร้างของกฏหมายเกี่ยวกับอาหารและกฎหมายเกี่ยวกับยา
๒.๑.๑.๒ การคุ้มครองผู้บริโภคเกี่ยวกับอาหารและยา
๒.๑.๒ กฎหมายเกี่ยวกับสินค้าที่ไม่ปลอดภัย (Product Iiability Law)
๒.๑.๒.๑ ความรับผิดชอบของผู้ประกอบการเพื่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
 (๑) ความรับผิดของผู้ประกอบการ
 (๒) เหตุหลุตพ้นความรับผิดชอบขอผู้ประกอบการ
๒.๑.๒.๒ ขอบเขตความรับผิดชอบของผู้ประกอบการ
 (ขออเขตความเสียหายที่ได้รับความคุ้มครอง)
 (๑) ความเสียหายพื้นฐาน
 (๒) ความเสียหายต่อยอด
 ๒.๒ กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคเกี่ยวกับข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
๒.๒.๑ ลักษณะและผลแห่งข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
(๑) ลักษณะของข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
(๒) ผลแห่งข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
๒.๒.๒ ขอบเขตของการใช้บังคับของข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
 (๑) เหตุผลความจำเป็น
 (๒) ขอบเขตของการใช้บังคับที่เคร่งครัด
๒.๓ กฎหมายเกี่ยวกับการขายสินค้าและให้บริการในรูปแบบใหม่ๆ
 ๒.๓.๑ ลักษณะของการขายตรงและตลาดแบบตรง และผลกระทบที่เกิดขึ้น
 ๒.๓.๑.๑ ลักษณะของการขายตรงและตลาดแบบตรง
 ๒.๓.๑.๒ ผลกระทบ หรือความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการขายตรงและตลาดแบบตรง
 (๑) ผลกระทบต่อความเป็นอิสระของผู้บริโภคในการเลือกซื้อสินค้าและบริการ
 (๒) ความเสี่ยงต่อผู้บริโภคที่จะได้รับสินค้าหรือบริการตามที่ตนเลือกซื้อได้อย่างแท้จริง
 (๓) ความเสี่ยงของผู้บริโภคต่อการแสวงหาประโยชน์อันมิชอบและไม่สุจริจของบุคคลจากการขายตรง
 และการตลาดแบบตรง 
 ๒.๓.๒ มารตการคุ้มครองผู้บริโภคตามพระราชบัญญัติ
๓.๒.๒.๑ กรณีมิใช่การประกอบธุระกิจขายตรงและตลาดแบบตรงตามกฎหมาย
๓.๒.๒.๒ กรณีการประกอบธุระกิจขายตรงและตลาดแบบตรงตามกฎหมาย
 (๑) การกำหนดหน้าที่แก่ผู้ประกอบธุระกิจแบบขายตรง และผู้ประกอบธุระกิจแบบตลาดตรง
 (๒) การคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคที่สั่งซื้อสินค้าและบริการจากการขายตรงหรืแตลาดแบบตรง
 (๓) การกำหนดให้มีองค์กรกำกับดูแลและปฎิบัติตามพระราชบัญญัตเป็นการเฉพาะ
 
 
ส่วนที่สอง: กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในเชิงวิธีสัญญัติ
ความนำ
 
 
บทที่ ๑ กฎหมายว่าด้วยวีธีพิจารณาคดีผู้บริโภค
๑.๑ ขอบเขตการใช้บังคับของระบบวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค
๑.๑.๑ ลักษณะของคดีผู้บริโภค
(๑) เงื่อนไขเชิงรูปแบบ
(๒) เงื่อนไขเชิงเนื้อหา
๑.๑.๒ กรณีมีปัญหาตีความเกี่ยวกับคดีผูบริโภค
๑.๒ ระบบวิธีพิจารณาคดีที่เอื้อต่อการใช้สิทธิเรียกร้องของผู้บริโภค
 ๑.๒.๑ ชั้นการฟ้องคดี
 (๑) การฟ้องคดีด้วยวาจา
 (๒) การฟ้องคดีต่อศาลที่ผู้บริโภคมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตศาล
 (๓) การยกเว้นการใช้บังคับหลักกฎหมายเกี่ยวกับแบบของสัญญาหรือหลักฐานเป็นหนังสือ
 (๔) การยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียมให้แก่ผู้บริโภค
 (๕) กำหนดอายุความเป็นพิเศษ
 ๑.๒.๒ ชั้นการดำเนินกระบวนการพิจารณาคดี
 (๑) ขอบเขตของข้อตกลงในสัญญาของผู้ประกอบธุระกิจ
 (๒) ภาระการพิสูจน์
 (๓) การใช้ระบบไต่สวนในการดำเนินกระบวนการพิจารณาคดี
 ๑.๒.๓ ชั้นการชี้ขาดตัดสินคดี
 (๑) การแก้ไขคำข้อบังคับให้ถูกต้องหรือเหมาะสมยิ่งขึ้น
 (๒) การสงวนสิทธิของศาลในการแก้ไขคำพิพากษาในอนาคต
 (๓) การทำคำพิพากษาให้ผู้ประกอบธุระกิจปฏิบัติตามในเรื่องเฉพาะเจาะจง
 (๔) การนำผลแห่งคดีไปใช้บังคับแก่ข้อพิพาทในอนาคตที่มีข้อเท็จจริงแบบเดียวกัน
 
 
บทที่ ๒ กฎหมายว่าด้วยการดำเนินคดีแบบกลุ่ม (Class actions)
๒.๑ ขอบเขตการใช้บังคับของการดำเนินคดีแบบกลุ่มในคดีเรียกร้องสิทธิตามกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค
 ๒.๑.๑ เงื่อนไขเชิงรูปแบบ
 (๑) คดีที่มีผู้บริโภคเป็นผู้เสียหายจำนวนมากซึ่งรมกันเป็นกลุ่มบุคคล
 (๒) คดีที่ผู้บริโภคเป็นผู้เสียหายหนึ่งคน (หรือหลายคน) เป็นโจทก์ฟ้องและดำเนินคดีแทนผู้เสียหายคนอื่นๆ
 (๓) คดีโจทก์ฟ้องและดำเนินคดีเพื่อประโยชน์ของตนเอง และเพื่อประโยชน์ของผู้เสียหายทุกคนในกลุ่มบุคคล 
 ๒.๑.๒ เงื่อนไขเชิงเนื้อหา 
 (๑) การละเมิดสิทธิของผู้บริโภคกรณีผูประกอบธุระกิจประพฤติผิดสัญญาเกี่ยวกับการบริโภคสินค้าแลบริการ
 (๒) การละเมิดสิทธิของผู้บริโภคกรณีผู้ประกอบการธุระกิจกระทำละเมิดเกี่ยวกับการบริโภคสินค้าและบริการ
 (๓) การละเมิดสิทธิของผู้บริโภคกรณีผู้ประกอบธุระกิจไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด
 ๒.๒ การคุ้มครองผู้บริโภคโดยการดำเนินคดีแบบแบ่งกลุ่ม
๒.๒.๑ การดำเนินคดีแบบแบ่งกลุ่มกับการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น
 (๑) กระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการดำเนินคดีแบบกลุ่ม
 (๒) กระบวนพิจารณาที่สามารถเชื่อมต่อกับระบบวิธีพิจารณาคดีที่มีกฎหมายอื่นกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ
๒.๒.๒ การดำเนินคดีแบบกลุ่มกับข้อจำกัดบางประการในการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค
(๑) ข้อจำกัดของการนำระบบวิธีพิจรณาคดีผู้บริโภคมาใช้บังคับในคดีแบบกลุ่มเนื่องจากขัดหรือแย้งโดยชัดแจ้ง
กับลักษฌะเฉพาะของการดำเนินคดีแบบกลุ่ม
(๒) ข้อจำกัดอันอื่นมาจาก "ความแตกต่างหลากหลาย"ของความเสียหายที่สมาชิกในกลุ่มบุคคลได้รับอันเนื่องมาจากหรือเกี่ยว กับการบริโภคสินค้าหรือบริการ
 
 
ส่วนที่สาม: องคพยพของกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค และการใช้บังคับ 
ความนำ: 
 
บทที่ ๑ องคพยพของกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค และการใช้บังคับ
๑.๑ผู้บริโภค
๑.๑.๑ นิยาม และลักษณะขิงผู้บริโภค
๑.๑.๑.๑ นิยามผูบริโภค
(๑) นิยามผู้บริโภคตามกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครอง
(๒) ความหมายผู้บริโภคตามคำวินิจฉัยหรือการตีความขององค์กรณ์รัฐหรือองค์กรตุลาการ
๑.๑.๑.๒ ลักษณะของผู้บริโภคตามกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค
(๑) ลักษณะของผู้บริโภคตามบริบทของกฎหมายไทย
(๒) ลักษณะของผู้บริโภคตามหลักสากลของประเทศต่างๆ
 ๑.๑.๒ สิทธิ และหน้าที่ของผผู้บริโภค
 ๑.๑.๒.๑ สิทธิของผู้บริโภค
(๑) สิทธิตามสัญญา
(๒) หน้าที่ตามกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค
๑.๑.๒.๒ หน้าที่ของผู้บริโภค 
(๑) หน้าที่ตามสัญญา
(๒) หน้าที่ตามกฎหมายเกี่ยวกับการการคุ้มครองผู้บริโภค
 ๑.๒ ผู้ประกอบธุระกิจ 
๑.๒.๑ นิยามลักษณะของผู้ประกอบธุระกิจ
๑.๒.๑.๑ นิยามของผู้ประกอบธุรกิจตามกฏหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค
(๑) "ผู้ประกอบธุรกิจ" ตามประราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522
(๒) "ผู้ประกอบธุรกิจ" ตามกฏหมายอื่นๆ เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคเฉพาะเรื่อง
๑.๒.๑.๒ ลักษณะของผู้ประกอบธุรกิจตามกฏหมายเกียวกับการคุ้มครองผู้บริโภค
 (๑) ผู้ประกอบธุรกิจตามกฏหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค
 (๒) การคุ้มครองประกอบธุรกิจขนาดเล็กในความเกี่ยวพันกับผู้ประกอบธุรกิจขนาดใหญ่
๑.๒.๒ หน้าที่ และสิทธิของผู้ประกอบธุรกิจ
๑.๒.๒.๑ หน้าที่ของผู้ประกอบธุรกิจ
 (๑) หน้าที่พื้นฐาน
 (๒) หน้าที่เฉพาะ
๑.๒.๒.๒ สิทธิของผู้ประกอบธุรกิจ
 (๑) สิทธิตามสัญญา
 (๒) สิทธิตามกฏหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค
 ๑.๓ สินค้าเเละบริการ
 ๑.๓.๑ สินค้า
 ๑. สินค้า
 ๒. ลักษณะของสินค้า
 ๑.๓.๒ บริการ 
๑.บริการประเภทต่างๆ
๒.ลักษณะของบริการ

ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "https://www.attorney285.co.th/category/59
*** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 

**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 

วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  http://www.attorney285.co.th/how2order 

*** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 



อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 


บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)

กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค นนทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์

ความคิดเห็น

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน