อธิบายความหมายของการจัดเก็บและการค้นคืน

cl_km profile image cl_km
อธิบายความหมายของการจัดเก็บและการค้นคืน
ความคิดเห็น
guest profile guest
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ
สารสนเทศ คือ ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ที่ได้ถูกบันทึก ประมวลผล และนำออกเผยแพร่เป็นประโยชน์ต่อส่วนบุคคลและสังคม ก่อนนำออกเผยแพร่นั้นสถาบันบริการสารสนเทศ จะมีกระบวนการในการจัดเก็บสารสนเทศ (information storage) ซึ่งเป็นกระบวนการในการคัดเลือกสารสนเทศ ทั้งจากแหล่งภายใน และภายนอกสถาบันรนำมาวิเคราะห์จัดหมวดหมู่ควบคุมโครงสร้าง จัดทำสื่อการจัดเก็บไม่ว่าจะเป็นด้วยแรงมนุษย์หรือด้วยเครื่องจักร สำหรับการค้นหาและค้นคืนสารสนเทศ (information retrieval) ซึ่งเป็นกระบวนการในการค้นสารสนเทศสำหรับผู้ใช้โดยมีเป้าหมายเพื่อชี้หรือระบุหรือดึงสารสนเทศเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้ออกมาจากที่จัดเก็บ เมื่อผู้ใช้ได้แหล่งสารสนเทศที่ต้องการขั้นตอนต่อไปคือ การถ่ายโอนสารสนเทศ (information transfer) หมายถึง การที่สารสนเทศที่ค้นพบ ได้รับการเปิดเผยหรือส่งต่อไปยังบุคคลอื่นที่ต้องการ
สถาบันบริการสารสนเทศมีบทบาทที่สำคัญในการเป็นตัวกลางระหว่างทรัพยากรสารสนเทศและผู้ใช้ ซึ่งสถาบันฯ จำเป็นต้องมีการจัดหาและจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศในรูปแบบสิ่งพิมพ์และอื่น ๆ จากแหล่งต่าง ๆ และต้องสอดคล้องตามนโยบายและเกณฑ์มาตรฐานในการจัดตั้งสถาบันฯ โดยมีการจัดหมวดหมู่และทำรายการ ตามหลักวิชาการจัดทำโครงสร้างระบบการจัดเก็บและควบคุมเพื่อการค้นหา ค้นคืน ในลักษณะบรรณานุกรม ไม่ว่าจะเป็นบัตรรายการหรือ OPAC ซึ่งสามารถให้สมาชิกใช้ประโยชน์ได้ทุกระดับ อีกทั้งยังมีการทำดรรชนี ทั้งในรูปแบบศัพท์ควบคุมและรูปแบบศัพท์อิสระ เพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นหา ค้นคืนสารสนเทศสิ่งหนึ่งที่มักจัดทำร่วมกันกับดรรชนีคือสาระสังเขป เป็นตัวแทนของเนื้อหาสาระจากต้นฉบับ ซึ่งทั้งหมดทั้งสิ้นของกระบวนการจัดหมวดหมู่และทำรายการนี้จะจบลงด้วยการจัดทำฐานข้อมูล เพื่อให้บริการค้นคืนสารสนเทศ ตามขอบเขตหน้าที่และวัตถุประสงค์ของสถาบัน สำหรับบริการพื้นฐานก็จะมี บริการยืม-คืน บริการการอ่าน บริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า ฯ นอกจากนี้ยังมีบริการส่งเสริมการใช้ เช่น บริการสารสนเทศทันสมัย บริการเลือกสรรสารสนเทศเฉพาะบุคคล ฯลฯ เป็นต้น การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ เป็นงานหลักที่เชื่อมโยงระบบบริการต่าง ๆ และระบบงานของสถาบัน ในส่วนความสำคัญต่อผู้ใช้ อาจกล่าวได้ว่า การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ขจัดปัญหาต่าง ๆ ในการเข้าถึงสารสนเทศ เปิดโอกาสให้ผู้ใช้เข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภททั้งภายในและภายนอกสถาบัน มีเครื่องมืออำนวยความสะดวกในการเข้าถึง เกิดความรวดเร็วในการเข้าถึงสารสนเทศตรงกับความต้องการเพื่อตอบสนองความต้องการในการใช้สารสนเทศในภารกิจต่าง ๆ ด้วยตนเอง
พัฒนาการของการจัดเก็บและการค้นค้นสารสนเทศ
ก่อนทศวรรษ 1960 การจัดเก็บและการค้นคืน เข้ามามีบทบาทตั้งแต่เริ่มมีการบันทึกลงกระดาษ และเมื่อมีเครื่องพิมพ์ในศตวรรษที่ 15 ทำให้หนังสือมีจำนวนมากขึ้น เป็นจุดเริ่มต้นความคิดและแนวทางการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศที่ผลิตออกมามากมาย จึงส่งผลให้เกิดความคิดในการควบคุมทางบรรณานุกรม ในระยะแรกนั้นใช้ประโยชน์ได้เฉพาะกลุ่ม บัตรรายการที่จัดทำไม่สมบูรณ์แบบ ไม่ทันสมัย จนทำให้เกิดมาตรฐานในการจัดหมวดหมู่ขึ้นโดยวิเคราะห์เนื้อหา ระบบที่นิยมและรู้จักกันดีดือ DC และ LC และใช้กันมาจนถึงปัจจุบัน สำหรับการทำดรรชนีและสาระสังเขป ในยุคแรกนั้นเริ่มต้นในยุโรป จัดทำเพื่อใช้ในศาสนกิจ และพัฒนาไปศาสตร์อื่น ๆ จนในศตรวรรษที่ 20 จึงมีการสำรวจการบริการสาระสังเขปและดรรชนีของโลก มีการใช้เครื่องจักรในการให้บริการ และมาตรฐานในการจัดทำ เทคโนโลยีระยะแรกนั้น เริ่มจากการใช้เทคโนโลยีไมโครกราฟิกซึ่งเป็นเทคโนโลยีการถ่ายภาพย่อส่วนสารสนเทศจากต้นฉบับ ซึ่งมีขนาดเล็กมาก จนไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า และการค้นคืนสารสนเทศที่ต้องการบนไมโครฟอร์มให้ได้อย่างสะดวกและรวดเร็วด้วยเทคนิควิธีการต่าง ๆ สำหรับเทคโนโลยีในการค้นคืนสารสนเทศนั้นเริ่มต้นจากแนวคิดจากบทความของ ชื่อ “As we May Think” ซึ่งกล่าวถึงการใช้อุปกรณ์เมมเมกซ์ (Memex) ในการจัดเก็บและค้นคืนจนเกิดความพยายามวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีด้านการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศโดยคอมพิวเตอร์ ระบบแรกนั้นคือการทำดรรชนี KWIC-KWOC และต่อมาหอสมุดรัฐสภาอเมริกันได้เริ่มต้นสร้างระเบียนข้อมูล MARC โดยบรรจุรายละเอียดของบัตรรายการลงในแถบแม่เหล็ก
ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 NASA ต้องการใช้ข้อมูลจำนวนมากจึงให้เงินสนับสนุนการวิจัยที่สามารถนำมาใช้ในการจัดเก็บและค้นคืน และการวิจัยของกลุ่มวิจัยแครนฟิลด์เป็นการพัฒนาต้นแบบระบบค้นคืนอัตโนมัติ ในช่วงนี้มีการพัฒนากลุ่มความร่วมมือในการใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน เช่น OCLC, RLIN และช่วงทศวรรษนี้ ได้เริ่มมีบริการค้นคืนสารสนเทศเชิงพาณิชย์ และเริ่มมีการบริการออนไลน์ เช่น DIALOG, ORBIT และปลายทศวรรษ 1980 เทคโนโลยี ซีดี-รอมถูกใช้อย่างกว้างขวาง จนกระทั่งทศวรรษ 1990 มีการใช้เทคโนโลยีเว็บซึ่งให้บริการบนอินเทอร์เน็ต เป็นแหล่งให้บริการค้นคืนที่มีปริมาณมากขึ้นอย่างไม่หยุดยั้งจนถึงปัจจุบัน
guest profile guest

ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ
สารสนเทศ คือ ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ที่ได้ถูกบันทึก ประมวลผล และนำออกเผยแพร่เป็นประโยชน์ต่อส่วนบุคคลและสังคม ก่อนนำออกเผยแพร่นั้นสถาบันบริการสารสนเทศ จะมีกระบวนการในการจัดเก็บสารสนเทศ (information storage) ซึ่งเป็นกระบวนการในการคัดเลือกสารสนเทศ ทั้งจากแหล่งภายใน และภายนอกสถาบันนำมาวิเคราะห์จัดหมวดหมู่ควบคุมโครงสร้าง จัดทำสื่อการจัดเก็บไม่ว่าจะเป็นด้วยแรงมนุษย์หรือด้วยเครื่องจักร สำหรับการค้นหาและค้นคืนสารสนเทศ (information retrieval) ซึ่งเป็นกระบวนการในการค้นสารสนเทศสำหรับผู้ใช้โดยมีเป้าหมายเพื่อชี้หรือระบุหรือดึงสารสนเทศเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้ออกมาจากที่จัดเก็บ เมื่อผู้ใช้ได้แหล่งสารสนเทศที่ต้องการขั้นตอนต่อไปคือ การถ่ายโอนสารสนเทศ (information transfer) หมายถึง การที่สารสนเทศที่ค้นพบ ได้รับการเปิดเผยหรือส่งต่อไปยังบุคคลอื่นที่ต้องการ
โดยมีการจัดหมวดหมู่และทำรายการ ตามหลักวิชาการจัดทำโครงสร้างระบบการจัดเก็บและควบคุมเพื่อการค้นหา ค้นคืน ในลักษณะบรรณานุกรม ไม่ว่าจะเป็นบัตรรายการหรือ OPAC ซึ่งสามารถให้สมาชิกใช้ประโยชน์ได้ทุกระดับ อีกทั้งยังมีการทำดรรชนี ทั้งในรูปแบบศัพท์ควบคุมและรูปแบบศัพท์อิสระ เพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นหา ค้นคืนสารสนเทศสิ่งหนึ่งที่มักจัดทำร่วมกันกับดรรชนีคือสาระสังเขป เป็นตัวแทนของเนื้อหาสาระจากต้นฉบับ ซึ่งทั้งหมดทั้งสิ้นของกระบวนการจัดหมวดหมู่และทำรายการนี้จะจบลงด้วยการจัดทำฐานข้อมูล เพื่อให้บริการค้นคืนสารสนเทศ ตามขอบเขตหน้าที่และวัตถุประสงค์ของสถาบัน สำหรับบริการพื้นฐานก็จะมี บริการยืม-คืน บริการการอ่าน บริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า ฯ นอกจากนี้ยังมีบริการส่งเสริมการใช้ เช่น บริการสารสนเทศทันสมัย บริการเลือกสรรสารสนเทศเฉพาะบุคคล ฯลฯ เป็นต้น การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ เป็นงานหลักที่เชื่อมโยงระบบบริการต่าง ๆ และระบบงานของสถาบัน ในส่วนความสำคัญต่อผู้ใช้ อาจกล่าวได้ว่า การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ขจัดปัญหาต่าง ๆ ในการเข้าถึงสารสนเทศ เปิดโอกาสให้ผู้ใช้เข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภททั้งภายในและภายนอกสถาบัน มีเครื่องมืออำนวยความสะดวกในการเข้าถึง เกิดความรวดเร็วในการเข้าถึงสารสนเทศตรงกับความต้องการเพื่อตอบสนองความต้องการในการใช้สารสนเทศในภารกิจต่าง ๆ ด้วยตนเอง
พัฒนาการของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ
ก่อนทศวรรษ 1960 การจัดเก็บและการค้นคืน เข้ามามีบทบาทตั้งแต่เริ่มมีการบันทึกลงกระดาษ และเมื่อมีเครื่องพิมพ์ในศตวรรษที่ 15 ทำให้หนังสือมีจำนวนมากขึ้น เป็นจุดเริ่มต้นความคิดและแนวทางการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศที่ผลิตออกมามากมาย จึงส่งผลให้เกิดความคิดในการควบคุมทางบรรณานุกรม ในระยะแรกนั้นใช้ประโยชน์ได้เฉพาะกลุ่ม บัตรรายการที่จัดทำไม่สมบูรณ์แบบ ไม่ทันสมัย จนทำให้เกิดมาตรฐานในการจัดหมวดหมู่ขึ้นโดยวิเคราะห์เนื้อหา ระบบที่นิยมและรู้จักกันดีดือ DC และ LC และใช้กันมาจนถึงปัจจุบัน สำหรับการทำดรรชนีและสาระสังเขป ในยุคแรกนั้นเริ่มต้นในยุโรป จัดทำเพื่อใช้ในศาสนกิจ และพัฒนาไปศาสตร์อื่น ๆ จนในศตรวรรษที่ 20 จึงมีการสำรวจการบริการสาระสังเขปและดรรชนีของโลก มีการใช้เครื่องจักรในการให้บริการ และมาตรฐานในการจัดทำ เทคโนโลยีระยะแรกนั้น เริ่มจากการใช้เทคโนโลยีไมโครกราฟิกซึ่งเป็นเทคโนโลยีการถ่ายภาพย่อส่วนสารสนเทศจากต้นฉบับ ซึ่งมีขนาดเล็กมาก จนไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า และการค้นคืนสารสนเทศที่ต้องการบนไมโครฟอร์มให้ได้อย่างสะดวกและรวดเร็วด้วยเทคนิควิธีการต่าง ๆ สำหรับเทคโนโลยีในการค้นคืนสารสนเทศนั้นเริ่มต้นจากแนวคิดจากบทความของ ชื่อ “As we May Think” ซึ่งกล่าวถึงการใช้อุปกรณ์เมมเมกซ์ (Memex) ในการจัดเก็บและค้นคืนจนเกิดความพยายามวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีด้านการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศโดยคอมพิวเตอร์ ระบบแรกนั้นคือการทำดรรชนี KWIC-KWOC และต่อมาหอสมุดรัฐสภาอเมริกันได้เริ่มต้นสร้างระเบียนข้อมูล MARC โดยบรรจุรายละเอียดของบัตรรายการลงในแถบแม่เหล็ก
ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 NASA ต้องการใช้ข้อมูลจำนวนมากจึงให้เงินสนับสนุนการวิจัยที่สามารถนำมาใช้ในการจัดเก็บและค้นคืน และการวิจัยของกลุ่มวิจัยแครนฟิลด์เป็นการพัฒนาต้นแบบระบบค้นคืนอัตโนมัติ ในช่วงนี้มีการพัฒนากลุ่มความร่วมมือในการใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน เช่น OCLC, RLIN และช่วงทศวรรษนี้ ได้เริ่มมีบริการค้นคืนสารสนเทศเชิงพาณิชย์ และเริ่มมีการบริการออนไลน์ เช่น DIALOG, ORBIT และปลายทศวรรษ 1980 เทคโนโลยี ซีดี-รอมถูกใช้อย่างกว้างขวาง จนกระทั่งทศวรรษ 1990 มีการใช้เทคโนโลยีเว็บซึ่งให้บริการบนอินเทอร์เน็ต เป็นแหล่งให้บริการค้นคืนที่มีปริมาณมากขึ้นอย่างไม่หยุดยั้งจนถึงปัจจุบัน

ปัจจุบัน หน่วยงานต่างๆ จัดให้มีระบบสารสนเทศเพื่อให้บริการสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของหน่วย งาน อันจะช่วยพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานของหน่วยงาน ดังนั้น ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ จึงเป็นหัวใจสำคัญของหน่วยงาน ระบบสารสนเทศทำหน้าที่เกี่ยวข้องโดย ตรงกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ประสิทธิภาพของระบบขึ้นอยู่กับการดำเนินงานจัดเก็บและค้นคืน

info-sys.gifระบบ สารสนเทศบางครั้งเรียกว่า ระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (Information and Retrieval Sytem หรือใช้คำย่อว่า ISARS) หรือ ระบบค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval System หรือ IRS )

การค้นคืน (Retrieval) หมายถึง การได้รับสิ่งที่ต้องการกลับคืนมา การค้นคืนสารสนเทศ (Information retrieval) จึงเป็นการกระทำใด ๆ ที่คัดเลือกสารสนเทศจากแหล่งเก็บเพื่อทำให้ได้รับสารสนเทศตามที่ต้องการ ซึ่งอาจเป็นข้อมูล หรือ รายการเอกสารซึ่งบรรจุเนื้อหาที่ต้องการ การค้นคืนสารสนเทศมีความหมายเช่นเดียวกับการค้นวรรณกรรม (Literature searching) ซึ่งหมายถึง กระบวนการค้นเอกสาร เพื่อให้ได้เอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หลักการสำคัญของการค้นคืนสารสนเทศ คือ การค้นหาและนำสารสนเทศที่ตรงตามความต้องการ ส่งให้แก่ผู้ใช้อย่างรวดเร็ว ทันการ ระบบใดก็ตามที่ได้รับการออกแบบเพื่ออำนวยความสะดวกในการค้นสิ่งพิมพ์ จึงเรียกว่า ระบบค้นคืนสารสนเทศ ตัวอย่างเช่น บัตรรายการ สิ่งพิมพ์ดรรชนี เป็นต้น

ความรู้ไม่สามารถถ่ายทอดจากบุคคลหนึ่งไปสู่อีกบุคคลหนึ่งโดยตรงเสมอไป จึงต้องมีแหล่งเก็บรวบรวมความรู้ คือ ระบบสารสนเทศ ซึ่งเป็นระบบที่ทำหน้าที่รวบรวม จัดเก็บ และนำสารสนเทศไปใช้ในองค์กร ระบบทำหน้าที่เป็นช่องทาง (Channel) ของสารสนเทศ ระบบประกอบด้วยคน ครุภัณฑ์ และกระบวนการ

บ่อยครั้งที่คนมักคิดคงระบบสารสนเทศว่าประกอบด้วยระบบคอมพิวเตอร์และมี ฐานข้อมูล (Databases) จัดเก็บสารสนเทศเท่านั้น โดยลืมนึกถึง คน ซึ่งทำหน้าที่รวบรวมสารสนเทศจากแหล่งต่างๆ และจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูล

ระบบสารสนเทศเป็นการสื่อสารในรูปแบบหนึ่ง ประกอบด้วยการส่งสาร จากแหล่งหนึ่งไปสู่แหล่งหนึ่ง ระหว่างการส่งสาร สารจะมีคุณภาพต่อผู้รับหรือไม่ ขึ้นอยู่กับว่ามีสิ่งรบกวน (Noise) มากน้อยเพียงไร ซึ่งเป็นอุปสรรคทำให้ระบบสารสนเทศ ไม่ตอบสนองความต้องการเท่าที่ควร

อ้างอิง

stouis4.blogspot.com/2007/06/13703-1.html

www.stks.or.th/wiki/doku.php?id=computer:information

www.isc.ob.tc/2%20

guest profile guest

ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ
สารสนเทศ คือ ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ที่ได้ถูกบันทึก ประมวลผล และนำออกเผยแพร่เป็นประโยชน์ต่อส่วนบุคคลและสังคม ก่อนนำออกเผยแพร่นั้นสถาบันบริการสารสนเทศ จะมีกระบวนการในการจัดเก็บสารสนเทศ (information storage) ซึ่งเป็นกระบวนการในการคัดเลือกสารสนเทศ ทั้งจากแหล่งภายใน และภายนอกสถาบันนำมาวิเคราะห์จัดหมวดหมู่ควบคุมโครงสร้าง จัดทำสื่อการจัดเก็บไม่ว่าจะเป็นด้วยแรงมนุษย์หรือด้วยเครื่องจักร สำหรับการค้นหาและค้นคืนสารสนเทศ (information retrieval) ซึ่งเป็นกระบวนการในการค้นสารสนเทศสำหรับผู้ใช้โดยมีเป้าหมายเพื่อชี้หรือระบุหรือดึงสารสนเทศเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้ออกมาจากที่จัดเก็บ เมื่อผู้ใช้ได้แหล่งสารสนเทศที่ต้องการขั้นตอนต่อไปคือ การถ่ายโอนสารสนเทศ (information transfer) หมายถึง การที่สารสนเทศที่ค้นพบ ได้รับการเปิดเผยหรือส่งต่อไปยังบุคคลอื่นที่ต้องการ
โดยมีการจัดหมวดหมู่และทำรายการ ตามหลักวิชาการจัดทำโครงสร้างระบบการจัดเก็บและควบคุมเพื่อการค้นหา ค้นคืน ในลักษณะบรรณานุกรม ไม่ว่าจะเป็นบัตรรายการหรือ OPAC ซึ่งสามารถให้สมาชิกใช้ประโยชน์ได้ทุกระดับ อีกทั้งยังมีการทำดรรชนี ทั้งในรูปแบบศัพท์ควบคุมและรูปแบบศัพท์อิสระ เพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นหา ค้นคืนสารสนเทศสิ่งหนึ่งที่มักจัดทำร่วมกันกับดรรชนีคือสาระสังเขป เป็นตัวแทนของเนื้อหาสาระจากต้นฉบับ ซึ่งทั้งหมดทั้งสิ้นของกระบวนการจัดหมวดหมู่และทำรายการนี้จะจบลงด้วยการจัดทำฐานข้อมูล เพื่อให้บริการค้นคืนสารสนเทศ ตามขอบเขตหน้าที่และวัตถุประสงค์ของสถาบัน สำหรับบริการพื้นฐานก็จะมี บริการยืม-คืน บริการการอ่าน บริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า ฯ นอกจากนี้ยังมีบริการส่งเสริมการใช้ เช่น บริการสารสนเทศทันสมัย บริการเลือกสรรสารสนเทศเฉพาะบุคคล ฯลฯ เป็นต้น การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ เป็นงานหลักที่เชื่อมโยงระบบบริการต่าง ๆ และระบบงานของสถาบัน ในส่วนความสำคัญต่อผู้ใช้ อาจกล่าวได้ว่า การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ขจัดปัญหาต่าง ๆ ในการเข้าถึงสารสนเทศ เปิดโอกาสให้ผู้ใช้เข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภททั้งภายในและภายนอกสถาบัน มีเครื่องมืออำนวยความสะดวกในการเข้าถึง เกิดความรวดเร็วในการเข้าถึงสารสนเทศตรงกับความต้องการเพื่อตอบสนองความต้องการในการใช้สารสนเทศในภารกิจต่าง ๆ ด้วยตนเอง
พัฒนาการของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ
ก่อนทศวรรษ 1960 การจัดเก็บและการค้นคืน เข้ามามีบทบาทตั้งแต่เริ่มมีการบันทึกลงกระดาษ และเมื่อมีเครื่องพิมพ์ในศตวรรษที่ 15 ทำให้หนังสือมีจำนวนมากขึ้น เป็นจุดเริ่มต้นความคิดและแนวทางการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศที่ผลิตออกมามากมาย จึงส่งผลให้เกิดความคิดในการควบคุมทางบรรณานุกรม ในระยะแรกนั้นใช้ประโยชน์ได้เฉพาะกลุ่ม บัตรรายการที่จัดทำไม่สมบูรณ์แบบ ไม่ทันสมัย จนทำให้เกิดมาตรฐานในการจัดหมวดหมู่ขึ้นโดยวิเคราะห์เนื้อหา ระบบที่นิยมและรู้จักกันดีดือ DC และ LC และใช้กันมาจนถึงปัจจุบัน สำหรับการทำดรรชนีและสาระสังเขป ในยุคแรกนั้นเริ่มต้นในยุโรป จัดทำเพื่อใช้ในศาสนกิจ และพัฒนาไปศาสตร์อื่น ๆ จนในศตรวรรษที่ 20 จึงมีการสำรวจการบริการสาระสังเขปและดรรชนีของโลก มีการใช้เครื่องจักรในการให้บริการ และมาตรฐานในการจัดทำ เทคโนโลยีระยะแรกนั้น เริ่มจากการใช้เทคโนโลยีไมโครกราฟิกซึ่งเป็นเทคโนโลยีการถ่ายภาพย่อส่วนสารสนเทศจากต้นฉบับ ซึ่งมีขนาดเล็กมาก จนไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า และการค้นคืนสารสนเทศที่ต้องการบนไมโครฟอร์มให้ได้อย่างสะดวกและรวดเร็วด้วยเทคนิควิธีการต่าง ๆ สำหรับเทคโนโลยีในการค้นคืนสารสนเทศนั้นเริ่มต้นจากแนวคิดจากบทความของ ชื่อ “As we May Think” ซึ่งกล่าวถึงการใช้อุปกรณ์เมมเมกซ์ (Memex) ในการจัดเก็บและค้นคืนจนเกิดความพยายามวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีด้านการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศโดยคอมพิวเตอร์ ระบบแรกนั้นคือการทำดรรชนี KWIC-KWOC และต่อมาหอสมุดรัฐสภาอเมริกันได้เริ่มต้นสร้างระเบียนข้อมูล MARC โดยบรรจุรายละเอียดของบัตรรายการลงในแถบแม่เหล็ก
ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 NASA ต้องการใช้ข้อมูลจำนวนมากจึงให้เงินสนับสนุนการวิจัยที่สามารถนำมาใช้ในการจัดเก็บและค้นคืน และการวิจัยของกลุ่มวิจัยแครนฟิลด์เป็นการพัฒนาต้นแบบระบบค้นคืนอัตโนมัติ ในช่วงนี้มีการพัฒนากลุ่มความร่วมมือในการใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน เช่น OCLC, RLIN และช่วงทศวรรษนี้ ได้เริ่มมีบริการค้นคืนสารสนเทศเชิงพาณิชย์ และเริ่มมีการบริการออนไลน์ เช่น DIALOG, ORBIT และปลายทศวรรษ 1980 เทคโนโลยี ซีดี-รอมถูกใช้อย่างกว้างขวาง จนกระทั่งทศวรรษ 1990 มีการใช้เทคโนโลยีเว็บซึ่งให้บริการบนอินเทอร์เน็ต เป็นแหล่งให้บริการค้นคืนที่มีปริมาณมากขึ้นอย่างไม่หยุดยั้งจนถึงปัจจุบัน

ปัจจุบัน หน่วยงานต่างๆ จัดให้มีระบบสารสนเทศเพื่อให้บริการสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของหน่วย งาน อันจะช่วยพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานของหน่วยงาน ดังนั้น ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ จึงเป็นหัวใจสำคัญของหน่วยงาน ระบบสารสนเทศทำหน้าที่เกี่ยวข้องโดย ตรงกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ประสิทธิภาพของระบบขึ้นอยู่กับการดำเนินงานจัดเก็บและค้นคืน

info-sys.gifระบบ สารสนเทศบางครั้งเรียกว่า ระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (Information and Retrieval Sytem หรือใช้คำย่อว่า ISARS) หรือ ระบบค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval System หรือ IRS )

การค้นคืน (Retrieval) หมายถึง การได้รับสิ่งที่ต้องการกลับคืนมา การค้นคืนสารสนเทศ (Information retrieval) จึงเป็นการกระทำใด ๆ ที่คัดเลือกสารสนเทศจากแหล่งเก็บเพื่อทำให้ได้รับสารสนเทศตามที่ต้องการ ซึ่งอาจเป็นข้อมูล หรือ รายการเอกสารซึ่งบรรจุเนื้อหาที่ต้องการ การค้นคืนสารสนเทศมีความหมายเช่นเดียวกับการค้นวรรณกรรม (Literature searching) ซึ่งหมายถึง กระบวนการค้นเอกสาร เพื่อให้ได้เอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หลักการสำคัญของการค้นคืนสารสนเทศ คือ การค้นหาและนำสารสนเทศที่ตรงตามความต้องการ ส่งให้แก่ผู้ใช้อย่างรวดเร็ว ทันการ ระบบใดก็ตามที่ได้รับการออกแบบเพื่ออำนวยความสะดวกในการค้นสิ่งพิมพ์ จึงเรียกว่า ระบบค้นคืนสารสนเทศ ตัวอย่างเช่น บัตรรายการ สิ่งพิมพ์ดรรชนี เป็นต้น

ความรู้ไม่สามารถถ่ายทอดจากบุคคลหนึ่งไปสู่อีกบุคคลหนึ่งโดยตรงเสมอไป จึงต้องมีแหล่งเก็บรวบรวมความรู้ คือ ระบบสารสนเทศ ซึ่งเป็นระบบที่ทำหน้าที่รวบรวม จัดเก็บ และนำสารสนเทศไปใช้ในองค์กร ระบบทำหน้าที่เป็นช่องทาง (Channel) ของสารสนเทศ ระบบประกอบด้วยคน ครุภัณฑ์ และกระบวนการ

บ่อยครั้งที่คนมักคิดคงระบบสารสนเทศว่าประกอบด้วยระบบคอมพิวเตอร์และมี ฐานข้อมูล (Databases) จัดเก็บสารสนเทศเท่านั้น โดยลืมนึกถึง คน ซึ่งทำหน้าที่รวบรวมสารสนเทศจากแหล่งต่างๆ และจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูล

ระบบสารสนเทศเป็นการสื่อสารในรูปแบบหนึ่ง ประกอบด้วยการส่งสาร จากแหล่งหนึ่งไปสู่แหล่งหนึ่ง ระหว่างการส่งสาร สารจะมีคุณภาพต่อผู้รับหรือไม่ ขึ้นอยู่กับว่ามีสิ่งรบกวน (Noise) มากน้อยเพียงไร ซึ่งเป็นอุปสรรคทำให้ระบบสารสนเทศ ไม่ตอบสนองความต้องการเท่าที่ควร

อ้างอิง

stouis4.blogspot.com/2007/06/13703-1.html

www.stks.or.th/wiki/doku.php?id=computer:information

www.isc.ob.tc/2%20

guest profile guest

ความหมายของการจัดเก็บและการค้นคืน
การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ
(Information storage and retrieval) คือ กระบวนการทั้งการคัดเลือกควบคุมโครงสร้างสารนิเทศ การจัดหา การจัดเก็บสารนิเทศ เพื่อการเข้าถึงและกระบวนการสำคัญใดๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารนิเทศ ซึ่งครอบคลุมการค้นหา การดึงสารนิเทศที่เข้าเรื่อง เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะจากแหล่งต่างๆ ทั้งแหล่งจัดเก็บภายในและแหล่งภายนอก เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารนิเทศหรือรายการทรัพยากรสารนิเทศ ซึ่งบรรจุเนื้อหาตรงตามต้องการ และในการบริการจะนำส่งให้ผู้ใช้อย่างรวดเร็วทันการณ์ ทั้งนี้การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศเป็นระบบที่จัดทำทั้งด้วยแรงงานคนและด้วยคอมพิวเตอร์มาลี ล้ำสกุล

         นอกจากนี้ นิศาชล จำนงศรี  ยังได้สรุปความหมายของ การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ ว่าคือ กระบวนการในการรวบรวมสารนิเทศและทำรายการให้กับสารนิเทศ ที่รวบรวมไว้ ทั้งนี้เพื่อให้ทราบที่อยู่ของสารนิเทศและสามารถแสดงผลการค้นออกมาตามรูปแบบที่ต้องการ หลักสำคัญ คือ การกำหนดตัวแทนของเอกสาร และโครงสร้างในการจัดกลุ่มของเอกสาร เพื่อใช้เป็นดรรชนีนำทางเข้าถึงเอกสาร ซึ่งการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้จะช่วยให้การเข้าถึงเอกสารในลักษณะ Full-text searching ทำได้ง่ายขึ้น โดยคอมพิวเตอร์จะจัดเก็บสารนิเทศตามโครงสร้างที่ออกแบบไว้

          สรุปได้ว่า การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศคือ กระบวนการในการรวบรวมรายละเอียดของสารนิเทศและทรัพยากรสารนิเทศ ที่จัดเก็บไว้ในแหล่งสารนิเทศ หรือฐานข้อมูล เพื่อให้สามารถค้นสารนิเทศและทรัพยากรสารนิเทศที่ต้องการกลับคืนมาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ด้วยวิธีการและเทคนิคอย่างเป็นขั้นตอน โดยอาศัยเทคโนโลยีสารนิเทศเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงสารนิเทศอย่างสะดวก รวดเร็ว และตรงกับความต้องการของผู้ใช้

 

http://lib.kru.ac.th/eBook/1635203/5203-35.html

 

 

guest profile guest
การจัดเก็บและการค้นคืน (knowledge storage and retrieval) องค์กรต้องกำหนดสิ่งสำคัญที่จะเก็บไว้เป็นองค์ความรู้ และต้องพิจารณาถึงวิธีการในการรักษา และการนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ตามความต้องการ องค์กรต้องเก็บรักษาสิ่งที่องค์กรเรียกว่าเป็นความรู้ไว้ให้ดีที่สุด ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลสารสนเทศ ตลอดจนผลสะท้อนกลับ การวิจัยและ การทดลอง การจัดเก็บเกี่ยวกับด้านเทคนิค เช่น การบันทึกเป็นฐานข้อมูล หรือการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน รวมทั้งที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางมนุษย์ด้วย เช่น การสร้างและการจดจำของปัจเจกบุคคล เป็นต้น ทั้งนี้การสะสมความรู้ องค์กรควรคำนึงถึง โครงสร้างการจัดเก็บความรู้ ควรเป็นระบบที่สามารถค้นหาและส่งมอบได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ทันเวลาและเหมาะสมกับความต้องการ และจัดให้มีการจำแนกรายการต่าง ๆ ที่อยู่บนพื้นฐานความจำเป็นในการเรียนรู้ องค์กรต้องพิจารณาความแตกต่างของกลุ่มคนในการค้นคืนความรู้ ต้องมีการจัดหมวดหมู่ตามองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ตามวัตถุประสงค์ของงาน ความชำนาญของผู้ใช้ เป็นต้น และองค์กรต้องหาวิธีทำให้พนักงานทราบถึงช่องทางหรือวิธีการสำหรับค้นหาความรู้ เช่น การทำสมุดจัดเก็บรายชื่อ และทักษะของผู้เชี่ยวชาญ เครือข่ายการทำงานตามลำดับชั้น การประชุม การฝึกอบรม เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะนำไปสู่การถ่ายทอดความรู้ในองค์กร
การจัดเก็บสารนิเทศ (Information Storage) หมายถึง “การจำแนก จัดเรียงและจัดหมวดหมู่สารนิเทศให้เป็นระเบียบ ทั้งนี้เพื่อให้สามารถค้นหาและจัดเก็บสารนิเทศเข้าที่เดิมได้โดยสะดวกรวดเร็วและทันกับความต้องการ ยังได้สรุปความหมายของ การจัดเก็บสารนิเทศ ว่าหมายถึง “การจัดโครงสร้างและควบคุมทางบรรณานุกรมโดยใช้คอมพิวเตอร์ ด้วยวิธีการทำรายการและข้อมูลบรรณานุกรมในลักษณะเก็บข้อมูลเข้าแฟ้มข้อมูล จัดเตรียมแฟ้ม รวมไปถึงการจัดทำสื่อจัดเก็บข้อมูลลักษณะต่างๆ และฐานข้อมูลเพื่อการค้นหาและค้นคืนสารนิเทศ”
กล่าวว่า “การจัดเก็บสารนิเทศเป็นหัวใจของระบบคอมพิวเตอร์และระบบสารนิเทศ โดยสารนิเทศที่จัดเก็บไว้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถนำมาใช้ในการจัดการ การวางแผน และการตัดสินใจได้ และที่สำคัญสามารถนำมาใช้เพื่อการค้นคืนสารนิเทศได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว”
สรุปได้ว่า “การจัดเก็บสารนิเทศ” คือ การนำรายละเอียดของทรัพยากรสารนิเทศ มาจัดเก็บไว้ เพื่อจัดหมวดหมู่ ทำรายการ หรือทำดรรชนี สาระสังเขป และจัดทำฐานข้อมูล เพื่อการค้นคืนสารนิเทศได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และตรงกับความต้องการของผู้ใช้
การค้นคืนสารนิเทศ (Information Retrieval) คือ “การดึงหรือค้นเอกสารย้อนหลัง ที่จัดเก็บไว้ตามหัวข้อที่ต้องการ การค้นตามหัวข้อ ความสนใจและความต้องการของผู้ใช้จากทรัพยากรสารนิเทศที่เข้ามาใหม่ทุกครั้ง หรือการค้นให้ผู้ใช้เพื่อบริการสารนิเทศที่ทันสมัย การค้นเอกสารผู้ค้นทำการค้นจากเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงหรือเครื่องที่เชื่อมโยงเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้โปรแกรมจัดเก็บและค้นคืนสารนิเทศ รวมทั้งเชื่อมโยงสู่ระบบอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้เพื่อการใช้ประโยชน์ต่างๆ ของผู้ใช้
“การค้นคืนสารนิเทศ (Information Retrieval) ในอดีตเป็นงานบริการช่วยผู้ใช้ค้นหาทรัพยากรสารนิเทศ หรือบอกให้ผู้ใช้รู้แหล่งจัดเก็บสารนิเทศ งานค้นคืนสารนิเทศจึงเป็นงานค้นหาและช่วยให้ผู้ใช้ค้น แนะนำและสอนผู้ใช้ อำนวยความสะดวกต่างๆ ให้ผู้ใช้ได้รับทรัพยากรสารนิเทศตามความต้องการ แต่ปัจจุบันผู้ใช้ส่วนใหญ่จะค้นเอกสาร ที่จัดเก็บไว้ด้วยตนเองตามความสนใจและความต้องการของผู้ใช้ การค้นเอกสารผู้ค้นสามารถค้นได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงหรือเครื่องที่เชื่อมโยงเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้โปรแกรมจัดเก็บและค้นคืนสารนิเทศ รวมทั้งเชื่อมโยงสู่ระบบอินเทอร์เน็ต ทำให้ผู้ใช้สามารถค้นหา และไดรับสารนิเทศที่ต้องการ ซึ่งเป็นสารนิเทศที่สถาบันบริการสารนิเทศและแหล่งต่างๆ จัดไว้ให้บริการ” 
สรุปได้ว่า “การค้นคืนสารนิเทศ” คือ การค้นเพื่อให้ได้สารนิเทศและทรัพยากรสารนิเทศ ที่ผู้ใช้ต้องการ จากแหล่งจัดเก็บสารนิเทศ หรือจากฐานข้อมูล ส่งคืนให้กับผู้ใช้อย่างรวดเร็ว ด้วยวิธีการและเทคนิคอย่างเป็นขั้นตอน โดยอาศัยเทคโนโลยีสารนิเทศเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงสารนิเทศอย่างสะดวก รวดเร็ว และตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งการค้นคืนสารนิเทศจะมีกระบวนการทำงานมากกว่าการค้นหา คือการค้นคืนสารนิเทศ ต้องมีการสัมภาษณ์ การวิเคราะห์คำถาม รวมทั้งต้องมีเทคนิคการค้นคืนด้วย แต่ถ้าการค้นหาสารนิเทศ เป็นแค่การป้อนคำ ที่ต้องการค้นหาเข้าไปในระบบการสืบค้นเท่านั้น เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมา ดังนั้นถ้าจะให้ได้ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ควรผ่านกระบวนการ ค้นคืนสารนิเทศจะดีกว่า
การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ (Information storage and retrieval) คือ ”กระบวนการทั้งการคัดเลือกควบคุมโครงสร้างสารนิเทศ การจัดหา การจัดเก็บสารนิเทศ เพื่อการเข้าถึงและกระบวนการสำคัญใดๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารนิเทศ ซึ่งครอบคลุมการค้นหา การดึงสารนิเทศที่เข้าเรื่อง เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะจากแหล่งต่างๆ ทั้งแหล่งจัดเก็บภายในและแหล่งภายนอก เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารนิเทศหรือรายการทรัพยากรสารนิเทศ ซึ่งบรรจุเนื้อหาตรงตามต้องการ และในการบริการจะนำส่งให้ผู้ใช้อย่างรวดเร็วทันการณ์ ทั้งนี้การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศเป็นระบบที่จัดทำทั้งด้วยแรงงานคนและด้วยคอมพิวเตอร์
สรุปความหมายของ การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ ว่าคือ “กระบวนการในการรวบรวมสารนิเทศและทำรายการให้กับสารนิเทศ ที่รวบรวมไว้ ทั้งนี้เพื่อให้ทราบที่อยู่ของสารนิเทศและสามารถแสดงผลการค้นออกมาตามรูปแบบที่ต้องการ หลักสำคัญ คือ การกำหนดตัวแทนของเอกสาร และโครงสร้างในการจัดกลุ่มของเอกสาร เพื่อใช้เป็นดรรชนีนำทางเข้าถึงเอกสาร ซึ่งการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้จะช่วยให้การเข้าถึงเอกสารในลักษณะ Full-text searching ทำได้ง่ายขึ้น โดยคอมพิวเตอร์จะจัดเก็บสารนิเทศตามโครงสร้างที่ออกแบบไว้”
สรุปได้ว่า “การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ” คือ กระบวนการในการรวบรวมรายละเอียดของสารนิเทศและทรัพยากรสารนิเทศ ที่จัดเก็บไว้ในแหล่งสารนิเทศ หรือฐานข้อมูล เพื่อให้สามารถค้นสารนิเทศและทรัพยากรสารนิเทศที่ต้องการกลับคืนมาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ด้วยวิธีการและเทคนิคอย่างเป็นขั้นตอน โดยอาศัยเทคโนโลยีสารนิเทศเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงสารนิเทศอย่างสะดวก รวดเร็ว และตรงกับความต้องการของผู้ใช้

guest profile guest
การจัดเก็บและการค้นคืน (knowledge storage and retrieval) องค์กรต้องกำหนดสิ่งสำคัญที่จะเก็บไว้เป็นองค์ความรู้ และต้องพิจารณาถึงวิธีการในการรักษา และการนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ตามความต้องการ องค์กรต้องเก็บรักษาสิ่งที่องค์กรเรียกว่าเป็นความรู้ไว้ให้ดีที่สุด ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลสารสนเทศ ตลอดจนผลสะท้อนกลับ การวิจัยและ การทดลอง การจัดเก็บเกี่ยวกับด้านเทคนิค เช่น การบันทึกเป็นฐานข้อมูล หรือการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน รวมทั้งที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางมนุษย์ด้วย เช่น การสร้างและการจดจำของปัจเจกบุคคล เป็นต้น ทั้งนี้การสะสมความรู้ องค์กรควรคำนึงถึง โครงสร้างการจัดเก็บความรู้ ควรเป็นระบบที่สามารถค้นหาและส่งมอบได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ทันเวลาและเหมาะสมกับความต้องการ และจัดให้มีการจำแนกรายการต่าง ๆ ที่อยู่บนพื้นฐานความจำเป็นในการเรียนรู้ องค์กรต้องพิจารณาความแตกต่างของกลุ่มคนในการค้นคืนความรู้ ต้องมีการจัดหมวดหมู่ตามองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ตามวัตถุประสงค์ของงาน ความชำนาญของผู้ใช้ เป็นต้น และองค์กรต้องหาวิธีทำให้พนักงานทราบถึงช่องทางหรือวิธีการสำหรับค้นหาความรู้ เช่น การทำสมุดจัดเก็บรายชื่อ และทักษะของผู้เชี่ยวชาญ เครือข่ายการทำงานตามลำดับชั้น การประชุม การฝึกอบรม เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะนำไปสู่การถ่ายทอดความรู้ในองค์กร
การจัดเก็บสารนิเทศ (Information Storage) หมายถึง “การจำแนก จัดเรียงและจัดหมวดหมู่สารนิเทศให้เป็นระเบียบ ทั้งนี้เพื่อให้สามารถค้นหาและจัดเก็บสารนิเทศเข้าที่เดิมได้โดยสะดวกรวดเร็วและทันกับความต้องการ ยังได้สรุปความหมายของ การจัดเก็บสารนิเทศ ว่าหมายถึง “การจัดโครงสร้างและควบคุมทางบรรณานุกรมโดยใช้คอมพิวเตอร์ ด้วยวิธีการทำรายการและข้อมูลบรรณานุกรมในลักษณะเก็บข้อมูลเข้าแฟ้มข้อมูล จัดเตรียมแฟ้ม รวมไปถึงการจัดทำสื่อจัดเก็บข้อมูลลักษณะต่างๆ และฐานข้อมูลเพื่อการค้นหาและค้นคืนสารนิเทศ”
กล่าวว่า “การจัดเก็บสารนิเทศเป็นหัวใจของระบบคอมพิวเตอร์และระบบสารนิเทศ โดยสารนิเทศที่จัดเก็บไว้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถนำมาใช้ในการจัดการ การวางแผน และการตัดสินใจได้ และที่สำคัญสามารถนำมาใช้เพื่อการค้นคืนสารนิเทศได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว”
สรุปได้ว่า “การจัดเก็บสารนิเทศ” คือ การนำรายละเอียดของทรัพยากรสารนิเทศ มาจัดเก็บไว้ เพื่อจัดหมวดหมู่ ทำรายการ หรือทำดรรชนี สาระสังเขป และจัดทำฐานข้อมูล เพื่อการค้นคืนสารนิเทศได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และตรงกับความต้องการของผู้ใช้
การค้นคืนสารนิเทศ (Information Retrieval) คือ “การดึงหรือค้นเอกสารย้อนหลัง ที่จัดเก็บไว้ตามหัวข้อที่ต้องการ การค้นตามหัวข้อ ความสนใจและความต้องการของผู้ใช้จากทรัพยากรสารนิเทศที่เข้ามาใหม่ทุกครั้ง หรือการค้นให้ผู้ใช้เพื่อบริการสารนิเทศที่ทันสมัย การค้นเอกสารผู้ค้นทำการค้นจากเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงหรือเครื่องที่เชื่อมโยงเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้โปรแกรมจัดเก็บและค้นคืนสารนิเทศ รวมทั้งเชื่อมโยงสู่ระบบอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้เพื่อการใช้ประโยชน์ต่างๆ ของผู้ใช้
“การค้นคืนสารนิเทศ (Information Retrieval) ในอดีตเป็นงานบริการช่วยผู้ใช้ค้นหาทรัพยากรสารนิเทศ หรือบอกให้ผู้ใช้รู้แหล่งจัดเก็บสารนิเทศ งานค้นคืนสารนิเทศจึงเป็นงานค้นหาและช่วยให้ผู้ใช้ค้น แนะนำและสอนผู้ใช้ อำนวยความสะดวกต่างๆ ให้ผู้ใช้ได้รับทรัพยากรสารนิเทศตามความต้องการ แต่ปัจจุบันผู้ใช้ส่วนใหญ่จะค้นเอกสาร ที่จัดเก็บไว้ด้วยตนเองตามความสนใจและความต้องการของผู้ใช้ การค้นเอกสารผู้ค้นสามารถค้นได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงหรือเครื่องที่เชื่อมโยงเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้โปรแกรมจัดเก็บและค้นคืนสารนิเทศ รวมทั้งเชื่อมโยงสู่ระบบอินเทอร์เน็ต ทำให้ผู้ใช้สามารถค้นหา และไดรับสารนิเทศที่ต้องการ ซึ่งเป็นสารนิเทศที่สถาบันบริการสารนิเทศและแหล่งต่างๆ จัดไว้ให้บริการ” 
สรุปได้ว่า “การค้นคืนสารนิเทศ” คือ การค้นเพื่อให้ได้สารนิเทศและทรัพยากรสารนิเทศ ที่ผู้ใช้ต้องการ จากแหล่งจัดเก็บสารนิเทศ หรือจากฐานข้อมูล ส่งคืนให้กับผู้ใช้อย่างรวดเร็ว ด้วยวิธีการและเทคนิคอย่างเป็นขั้นตอน โดยอาศัยเทคโนโลยีสารนิเทศเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงสารนิเทศอย่างสะดวก รวดเร็ว และตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งการค้นคืนสารนิเทศจะมีกระบวนการทำงานมากกว่าการค้นหา คือการค้นคืนสารนิเทศ ต้องมีการสัมภาษณ์ การวิเคราะห์คำถาม รวมทั้งต้องมีเทคนิคการค้นคืนด้วย แต่ถ้าการค้นหาสารนิเทศ เป็นแค่การป้อนคำ ที่ต้องการค้นหาเข้าไปในระบบการสืบค้นเท่านั้น เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมา ดังนั้นถ้าจะให้ได้ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ควรผ่านกระบวนการ ค้นคืนสารนิเทศจะดีกว่า
การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ (Information storage and retrieval) คือ ”กระบวนการทั้งการคัดเลือกควบคุมโครงสร้างสารนิเทศ การจัดหา การจัดเก็บสารนิเทศ เพื่อการเข้าถึงและกระบวนการสำคัญใดๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารนิเทศ ซึ่งครอบคลุมการค้นหา การดึงสารนิเทศที่เข้าเรื่อง เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะจากแหล่งต่างๆ ทั้งแหล่งจัดเก็บภายในและแหล่งภายนอก เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารนิเทศหรือรายการทรัพยากรสารนิเทศ ซึ่งบรรจุเนื้อหาตรงตามต้องการ และในการบริการจะนำส่งให้ผู้ใช้อย่างรวดเร็วทันการณ์ ทั้งนี้การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศเป็นระบบที่จัดทำทั้งด้วยแรงงานคนและด้วยคอมพิวเตอร์
สรุปความหมายของ การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ ว่าคือ “กระบวนการในการรวบรวมสารนิเทศและทำรายการให้กับสารนิเทศ ที่รวบรวมไว้ ทั้งนี้เพื่อให้ทราบที่อยู่ของสารนิเทศและสามารถแสดงผลการค้นออกมาตามรูปแบบที่ต้องการ หลักสำคัญ คือ การกำหนดตัวแทนของเอกสาร และโครงสร้างในการจัดกลุ่มของเอกสาร เพื่อใช้เป็นดรรชนีนำทางเข้าถึงเอกสาร ซึ่งการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้จะช่วยให้การเข้าถึงเอกสารในลักษณะ Full-text searching ทำได้ง่ายขึ้น โดยคอมพิวเตอร์จะจัดเก็บสารนิเทศตามโครงสร้างที่ออกแบบไว้”
สรุปได้ว่า “การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ” คือ กระบวนการในการรวบรวมรายละเอียดของสารนิเทศและทรัพยากรสารนิเทศ ที่จัดเก็บไว้ในแหล่งสารนิเทศ หรือฐานข้อมูล เพื่อให้สามารถค้นสารนิเทศและทรัพยากรสารนิเทศที่ต้องการกลับคืนมาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ด้วยวิธีการและเทคนิคอย่างเป็นขั้นตอน โดยอาศัยเทคโนโลยีสารนิเทศเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงสารนิเทศอย่างสะดวก รวดเร็ว และตรงกับความต้องการของผู้ใช้

อ้างอิง
http://202.183.233.73/human/member/prisana_mut/retrieval/a_ch2_storage2.pdf
guest profile guest
การจัดเก็บและการค้นคืน (knowledge storage and retrieval) องค์กรต้องกำหนดสิ่งสำคัญที่จะเก็บไว้เป็นองค์ความรู้ และต้องพิจารณาถึงวิธีการในการรักษา และการนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ตามความต้องการ องค์กรต้องเก็บรักษาสิ่งที่องค์กรเรียกว่าเป็นความรู้ไว้ให้ดีที่สุด ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลสารสนเทศ ตลอดจนผลสะท้อนกลับ การวิจัยและ การทดลอง การจัดเก็บเกี่ยวกับด้านเทคนิค เช่น การบันทึกเป็นฐานข้อมูล หรือการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน รวมทั้งที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางมนุษย์ด้วย เช่น การสร้างและการจดจำของปัจเจกบุคคล เป็นต้น ทั้งนี้การสะสมความรู้ องค์กรควรคำนึงถึง โครงสร้างการจัดเก็บความรู้ ควรเป็นระบบที่สามารถค้นหาและส่งมอบได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ทันเวลาและเหมาะสมกับความต้องการ และจัดให้มีการจำแนกรายการต่าง ๆ ที่อยู่บนพื้นฐานความจำเป็นในการเรียนรู้ องค์กรต้องพิจารณาความแตกต่างของกลุ่มคนในการค้นคืนความรู้ ต้องมีการจัดหมวดหมู่ตามองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ตามวัตถุประสงค์ของงาน ความชำนาญของผู้ใช้ เป็นต้น และองค์กรต้องหาวิธีทำให้พนักงานทราบถึงช่องทางหรือวิธีการสำหรับค้นหาความรู้ เช่น การทำสมุดจัดเก็บรายชื่อ และทักษะของผู้เชี่ยวชาญ เครือข่ายการทำงานตามลำดับชั้น การประชุม การฝึกอบรม เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะนำไปสู่การถ่ายทอดความรู้ในองค์กร

การจัดเก็บสารนิเทศ (Information Storage) หมายถึง “การจำแนก จัดเรียงและจัดหมวดหมู่สารนิเทศให้เป็นระเบียบ ทั้งนี้เพื่อให้สามารถค้นหาและจัดเก็บสารนิเทศเข้าที่เดิมได้โดยสะดวกรวดเร็วและทันกับความต้องการ ยังได้สรุปความหมายของ การจัดเก็บสารนิเทศ ว่าหมายถึง “การจัดโครงสร้างและควบคุมทางบรรณานุกรมโดยใช้คอมพิวเตอร์ ด้วยวิธีการทำรายการและข้อมูลบรรณานุกรมในลักษณะเก็บข้อมูลเข้าแฟ้มข้อมูล จัดเตรียมแฟ้ม รวมไปถึงการจัดทำสื่อจัดเก็บข้อมูลลักษณะต่างๆ และฐานข้อมูลเพื่อการค้นหาและค้นคืนสารนิเทศ”
กล่าวว่า “การจัดเก็บสารนิเทศเป็นหัวใจของระบบคอมพิวเตอร์และระบบสารนิเทศ โดยสารนิเทศที่จัดเก็บไว้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถนำมาใช้ในการจัดการ การวางแผน และการตัดสินใจได้ และที่สำคัญสามารถนำมาใช้เพื่อการค้นคืนสารนิเทศได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว”
สรุปได้ว่า “การจัดเก็บสารนิเทศ” คือ การนำรายละเอียดของทรัพยากรสารนิเทศ มาจัดเก็บไว้ เพื่อจัดหมวดหมู่ ทำรายการ หรือทำดรรชนี สาระสังเขป และจัดทำฐานข้อมูล เพื่อการค้นคืนสารนิเทศได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และตรงกับความต้องการของผู้ใช้
การค้นคืนสารนิเทศ (Information Retrieval) คือ “การดึงหรือค้นเอกสารย้อนหลัง ที่จัดเก็บไว้ตามหัวข้อที่ต้องการ การค้นตามหัวข้อ ความสนใจและความต้องการของผู้ใช้จากทรัพยากรสารนิเทศที่เข้ามาใหม่ทุกครั้ง หรือการค้นให้ผู้ใช้เพื่อบริการสารนิเทศที่ทันสมัย การค้นเอกสารผู้ค้นทำการค้นจากเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงหรือเครื่องที่เชื่อมโยงเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้โปรแกรมจัดเก็บและค้นคืนสารนิเทศ รวมทั้งเชื่อมโยงสู่ระบบอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้เพื่อการใช้ประโยชน์ต่างๆ ของผู้ใช้
“การค้นคืนสารนิเทศ (Information Retrieval) ในอดีตเป็นงานบริการช่วยผู้ใช้ค้นหาทรัพยากรสารนิเทศ หรือบอกให้ผู้ใช้รู้แหล่งจัดเก็บสารนิเทศ งานค้นคืนสารนิเทศจึงเป็นงานค้นหาและช่วยให้ผู้ใช้ค้น แนะนำและสอนผู้ใช้ อำนวยความสะดวกต่างๆ ให้ผู้ใช้ได้รับทรัพยากรสารนิเทศตามความต้องการ แต่ปัจจุบันผู้ใช้ส่วนใหญ่จะค้นเอกสาร ที่จัดเก็บไว้ด้วยตนเองตามความสนใจและความต้องการของผู้ใช้ การค้นเอกสารผู้ค้นสามารถค้นได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงหรือเครื่องที่เชื่อมโยงเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้โปรแกรมจัดเก็บและค้นคืนสารนิเทศ รวมทั้งเชื่อมโยงสู่ระบบอินเทอร์เน็ต ทำให้ผู้ใช้สามารถค้นหา และไดรับสารนิเทศที่ต้องการ ซึ่งเป็นสารนิเทศที่สถาบันบริการสารนิเทศและแหล่งต่างๆ จัดไว้ให้บริการ” 
สรุปได้ว่า “การค้นคืนสารนิเทศ” คือ การค้นเพื่อให้ได้สารนิเทศและทรัพยากรสารนิเทศ ที่ผู้ใช้ต้องการ จากแหล่งจัดเก็บสารนิเทศ หรือจากฐานข้อมูล ส่งคืนให้กับผู้ใช้อย่างรวดเร็ว ด้วยวิธีการและเทคนิคอย่างเป็นขั้นตอน โดยอาศัยเทคโนโลยีสารนิเทศเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงสารนิเทศอย่างสะดวก รวดเร็ว และตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งการค้นคืนสารนิเทศจะมีกระบวนการทำงานมากกว่าการค้นหา คือการค้นคืนสารนิเทศ ต้องมีการสัมภาษณ์ การวิเคราะห์คำถาม รวมทั้งต้องมีเทคนิคการค้นคืนด้วย แต่ถ้าการค้นหาสารนิเทศ เป็นแค่การป้อนคำ ที่ต้องการค้นหาเข้าไปในระบบการสืบค้นเท่านั้น เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมา ดังนั้นถ้าจะให้ได้ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ควรผ่านกระบวนการ ค้นคืนสารนิเทศจะดีกว่า
การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ (Information storage and retrieval) คือ ”กระบวนการทั้งการคัดเลือกควบคุมโครงสร้างสารนิเทศ การจัดหา การจัดเก็บสารนิเทศ เพื่อการเข้าถึงและกระบวนการสำคัญใดๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารนิเทศ ซึ่งครอบคลุมการค้นหา การดึงสารนิเทศที่เข้าเรื่อง เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะจากแหล่งต่างๆ ทั้งแหล่งจัดเก็บภายในและแหล่งภายนอก เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารนิเทศหรือรายการทรัพยากรสารนิเทศ ซึ่งบรรจุเนื้อหาตรงตามต้องการ และในการบริการจะนำส่งให้ผู้ใช้อย่างรวดเร็วทันการณ์ ทั้งนี้การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศเป็นระบบที่จัดทำทั้งด้วยแรงงานคนและด้วยคอมพิวเตอร์
สรุปความหมายของ การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ ว่าคือ “กระบวนการในการรวบรวมสารนิเทศและทำรายการให้กับสารนิเทศ ที่รวบรวมไว้ ทั้งนี้เพื่อให้ทราบที่อยู่ของสารนิเทศและสามารถแสดงผลการค้นออกมาตามรูปแบบที่ต้องการ หลักสำคัญ คือ การกำหนดตัวแทนของเอกสาร และโครงสร้างในการจัดกลุ่มของเอกสาร เพื่อใช้เป็นดรรชนีนำทางเข้าถึงเอกสาร ซึ่งการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้จะช่วยให้การเข้าถึงเอกสารในลักษณะ Full-text searching ทำได้ง่ายขึ้น โดยคอมพิวเตอร์จะจัดเก็บสารนิเทศตามโครงสร้างที่ออกแบบไว้”
สรุปได้ว่า “การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ” คือ กระบวนการในการรวบรวมรายละเอียดของสารนิเทศและทรัพยากรสารนิเทศ ที่จัดเก็บไว้ในแหล่งสารนิเทศ หรือฐานข้อมูล เพื่อให้สามารถค้นสารนิเทศและทรัพยากรสารนิเทศที่ต้องการกลับคืนมาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ด้วยวิธีการและเทคนิคอย่างเป็นขั้นตอน โดยอาศัยเทคโนโลยีสารนิเทศเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงสารนิเทศอย่างสะดวก รวดเร็ว และตรงกับความต้องการของผู้ใช้

อ้างอิง
http://202.183.233.73/human/member/prisana_mut/retrieval/a_ch2_storage2.pdf





guest profile guest
การจัดเก็บและการค้นคืน (knowledge storage and retrieval) องค์กรต้องกำหนดสิ่งสำคัญที่จะเก็บไว้เป็นองค์ความรู้ และต้องพิจารณาถึงวิธีการในการรักษา และการนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ตามความต้องการ องค์กรต้องเก็บรักษาสิ่งที่องค์กรเรียกว่าเป็นความรู้ไว้ให้ดีที่สุด ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลสารสนเทศ ตลอดจนผลสะท้อนกลับ การวิจัยและ การทดลอง การจัดเก็บเกี่ยวกับด้านเทคนิค เช่น การบันทึกเป็นฐานข้อมูล หรือการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน รวมทั้งที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางมนุษย์ด้วย เช่น การสร้างและการจดจำของปัจเจกบุคคล เป็นต้น ทั้งนี้การสะสมความรู้ องค์กรควรคำนึงถึง โครงสร้างการจัดเก็บความรู้ ควรเป็นระบบที่สามารถค้นหาและส่งมอบได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ทันเวลาและเหมาะสมกับความต้องการ และจัดให้มีการจำแนกรายการต่าง ๆ ที่อยู่บนพื้นฐานความจำเป็นในการเรียนรู้ องค์กรต้องพิจารณาความแตกต่างของกลุ่มคนในการค้นคืนความรู้ ต้องมีการจัดหมวดหมู่ตามองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ตามวัตถุประสงค์ของงาน ความชำนาญของผู้ใช้ เป็นต้น และองค์กรต้องหาวิธีทำให้พนักงานทราบถึงช่องทางหรือวิธีการสำหรับค้นหาความรู้ เช่น การทำสมุดจัดเก็บรายชื่อ และทักษะของผู้เชี่ยวชาญ เครือข่ายการทำงานตามลำดับชั้น การประชุม การฝึกอบรม เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะนำไปสู่การถ่ายทอดความรู้ในองค์กร

การจัดเก็บสารนิเทศ (Information Storage) หมายถึง “การจำแนก จัดเรียงและจัดหมวดหมู่สารนิเทศให้เป็นระเบียบ ทั้งนี้เพื่อให้สามารถค้นหาและจัดเก็บสารนิเทศเข้าที่เดิมได้โดยสะดวกรวดเร็วและทันกับความต้องการ ยังได้สรุปความหมายของ การจัดเก็บสารนิเทศ ว่าหมายถึง “การจัดโครงสร้างและควบคุมทางบรรณานุกรมโดยใช้คอมพิวเตอร์ ด้วยวิธีการทำรายการและข้อมูลบรรณานุกรมในลักษณะเก็บข้อมูลเข้าแฟ้มข้อมูล จัดเตรียมแฟ้ม รวมไปถึงการจัดทำสื่อจัดเก็บข้อมูลลักษณะต่างๆ และฐานข้อมูลเพื่อการค้นหาและค้นคืนสารนิเทศ”
กล่าวว่า “การจัดเก็บสารนิเทศเป็นหัวใจของระบบคอมพิวเตอร์และระบบสารนิเทศ โดยสารนิเทศที่จัดเก็บไว้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถนำมาใช้ในการจัดการ การวางแผน และการตัดสินใจได้ และที่สำคัญสามารถนำมาใช้เพื่อการค้นคืนสารนิเทศได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว”
สรุปได้ว่า “การจัดเก็บสารนิเทศ” คือ การนำรายละเอียดของทรัพยากรสารนิเทศ มาจัดเก็บไว้ เพื่อจัดหมวดหมู่ ทำรายการ หรือทำดรรชนี สาระสังเขป และจัดทำฐานข้อมูล เพื่อการค้นคืนสารนิเทศได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และตรงกับความต้องการของผู้ใช้
การค้นคืนสารนิเทศ (Information Retrieval) คือ “การดึงหรือค้นเอกสารย้อนหลัง ที่จัดเก็บไว้ตามหัวข้อที่ต้องการ การค้นตามหัวข้อ ความสนใจและความต้องการของผู้ใช้จากทรัพยากรสารนิเทศที่เข้ามาใหม่ทุกครั้ง หรือการค้นให้ผู้ใช้เพื่อบริการสารนิเทศที่ทันสมัย การค้นเอกสารผู้ค้นทำการค้นจากเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงหรือเครื่องที่เชื่อมโยงเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้โปรแกรมจัดเก็บและค้นคืนสารนิเทศ รวมทั้งเชื่อมโยงสู่ระบบอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้เพื่อการใช้ประโยชน์ต่างๆ ของผู้ใช้
“การค้นคืนสารนิเทศ (Information Retrieval) ในอดีตเป็นงานบริการช่วยผู้ใช้ค้นหาทรัพยากรสารนิเทศ หรือบอกให้ผู้ใช้รู้แหล่งจัดเก็บสารนิเทศ งานค้นคืนสารนิเทศจึงเป็นงานค้นหาและช่วยให้ผู้ใช้ค้น แนะนำและสอนผู้ใช้ อำนวยความสะดวกต่างๆ ให้ผู้ใช้ได้รับทรัพยากรสารนิเทศตามความต้องการ แต่ปัจจุบันผู้ใช้ส่วนใหญ่จะค้นเอกสาร ที่จัดเก็บไว้ด้วยตนเองตามความสนใจและความต้องการของผู้ใช้ การค้นเอกสารผู้ค้นสามารถค้นได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงหรือเครื่องที่เชื่อมโยงเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้โปรแกรมจัดเก็บและค้นคืนสารนิเทศ รวมทั้งเชื่อมโยงสู่ระบบอินเทอร์เน็ต ทำให้ผู้ใช้สามารถค้นหา และไดรับสารนิเทศที่ต้องการ ซึ่งเป็นสารนิเทศที่สถาบันบริการสารนิเทศและแหล่งต่างๆ จัดไว้ให้บริการ” 
สรุปได้ว่า “การค้นคืนสารนิเทศ” คือ การค้นเพื่อให้ได้สารนิเทศและทรัพยากรสารนิเทศ ที่ผู้ใช้ต้องการ จากแหล่งจัดเก็บสารนิเทศ หรือจากฐานข้อมูล ส่งคืนให้กับผู้ใช้อย่างรวดเร็ว ด้วยวิธีการและเทคนิคอย่างเป็นขั้นตอน โดยอาศัยเทคโนโลยีสารนิเทศเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงสารนิเทศอย่างสะดวก รวดเร็ว และตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งการค้นคืนสารนิเทศจะมีกระบวนการทำงานมากกว่าการค้นหา คือการค้นคืนสารนิเทศ ต้องมีการสัมภาษณ์ การวิเคราะห์คำถาม รวมทั้งต้องมีเทคนิคการค้นคืนด้วย แต่ถ้าการค้นหาสารนิเทศ เป็นแค่การป้อนคำ ที่ต้องการค้นหาเข้าไปในระบบการสืบค้นเท่านั้น เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมา ดังนั้นถ้าจะให้ได้ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ควรผ่านกระบวนการ ค้นคืนสารนิเทศจะดีกว่า
การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ (Information storage and retrieval) คือ ”กระบวนการทั้งการคัดเลือกควบคุมโครงสร้างสารนิเทศ การจัดหา การจัดเก็บสารนิเทศ เพื่อการเข้าถึงและกระบวนการสำคัญใดๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารนิเทศ ซึ่งครอบคลุมการค้นหา การดึงสารนิเทศที่เข้าเรื่อง เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะจากแหล่งต่างๆ ทั้งแหล่งจัดเก็บภายในและแหล่งภายนอก เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารนิเทศหรือรายการทรัพยากรสารนิเทศ ซึ่งบรรจุเนื้อหาตรงตามต้องการ และในการบริการจะนำส่งให้ผู้ใช้อย่างรวดเร็วทันการณ์ ทั้งนี้การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศเป็นระบบที่จัดทำทั้งด้วยแรงงานคนและด้วยคอมพิวเตอร์
สรุปความหมายของ การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ ว่าคือ “กระบวนการในการรวบรวมสารนิเทศและทำรายการให้กับสารนิเทศ ที่รวบรวมไว้ ทั้งนี้เพื่อให้ทราบที่อยู่ของสารนิเทศและสามารถแสดงผลการค้นออกมาตามรูปแบบที่ต้องการ หลักสำคัญ คือ การกำหนดตัวแทนของเอกสาร และโครงสร้างในการจัดกลุ่มของเอกสาร เพื่อใช้เป็นดรรชนีนำทางเข้าถึงเอกสาร ซึ่งการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้จะช่วยให้การเข้าถึงเอกสารในลักษณะ Full-text searching ทำได้ง่ายขึ้น โดยคอมพิวเตอร์จะจัดเก็บสารนิเทศตามโครงสร้างที่ออกแบบไว้”
สรุปได้ว่า “การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ” คือ กระบวนการในการรวบรวมรายละเอียดของสารนิเทศและทรัพยากรสารนิเทศ ที่จัดเก็บไว้ในแหล่งสารนิเทศ หรือฐานข้อมูล เพื่อให้สามารถค้นสารนิเทศและทรัพยากรสารนิเทศที่ต้องการกลับคืนมาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ด้วยวิธีการและเทคนิคอย่างเป็นขั้นตอน โดยอาศัยเทคโนโลยีสารนิเทศเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงสารนิเทศอย่างสะดวก รวดเร็ว และตรงกับความต้องการของผู้ใช้

อ้างอิง
http://202.183.233.73/human/member/prisana_mut/retrieval/a_ch2_storage2.pdf





guest profile guest

อธิบายความหมายของการจัดเก็บและการค้นคืน

    การจัดเก็บและการค้นคืน (knowledge storage and retrieval) องค์กรต้องกำหนดสิ่งสำคัญที่จะเก็บไว้เป็นองค์ความรู้ และต้องพิจารณาถึงวิธีการในการรักษา และการนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ตามความต้องการ องค์กรต้องเก็บรักษาสิ่งที่องค์กรเรียกว่าเป็นความรู้ไว้ให้ดีที่สุด ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลสารสนเทศ ตลอดจนผลสะท้อนกลับ การวิจัยและ การทดลอง การจัดเก็บเกี่ยวกับด้านเทคนิค เช่น การบันทึกเป็นฐานข้อมูล หรือการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน รวมทั้งที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางมนุษย์ด้วย เช่น  การสร้างและการจดจำของปัจเจกบุคคล เป็นต้น ทั้งนี้การสะสมความรู้ องค์กรควรคำนึงถึง โครงสร้างการจัดเก็บความรู้ ควรเป็นระบบที่สามารถค้นหาและส่งมอบได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ทันเวลาและเหมาะสมกับความต้องการ และจัดให้มีการจำแนกรายการต่าง ๆ ที่อยู่บนพื้นฐานความจำเป็นในการเรียนรู้  องค์กรต้องพิจารณาความแตกต่างของกลุ่มคนในการค้นคืนความรู้ ต้องมีการจัดหมวดหมู่ตามองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ตามวัตถุประสงค์ของงาน ความชำนาญของผู้ใช้ เป็นต้น และองค์กรต้องหาวิธีทำให้พนักงานทราบถึงช่องทางหรือวิธีการสำหรับค้นหาความรู้ เช่น การทำสมุดจัดเก็บรายชื่อ และทักษะของผู้เชี่ยวชาญ เครือข่ายการทำงานตามลำดับชั้น การประชุม การฝึกอบรม เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะนำไปสู่การถ่ายทอดความรู้ในองค์กร 

        ระบบ สารสนเทศ  เรียกว่า ระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (Information and Retrieval Sytem หรือใช้คำย่อว่า ISARS) หรือ ระบบค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval System หรือ IRS ) ปัจจุบัน มีระบบสารสนเทศเพื่อให้บริการสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของหน่วยงาน อันจะช่วยพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานของหน่วยงาน ดังนั้น ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ จึงเป็นหัวใจสำคัญของหน่วยงาน ระบบสารสนเทศทำหน้าที่เกี่ยวข้องโดย ตรงกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ประสิทธิภาพของระบบขึ้นอยู่กับการดำเนินงานจัดเก็บและค้นคืน

          การค้นคืน    ( retrieve ) หมายถึงการได้รับสิ่งที่ต้องการกลับคืนมา การค้นคืนสารสนเทศ (information retrieval)  จึงเป็นการการกระทำใดๆ ที่ให้ได้รับสารนิเทศที่ต้องการ ซึ่งอาจเป็นข้อมูลหรือรายการเอกสารซึ่งบรรจุเนื้อหาที่ต้องการ และส่งให้กับผู้รับอย่างรวดเร็ว

        ระบบค้นคืนสารสนเทศ หมายถึง ระบบที่ได้รับการออกแบบเพื่อวัตถุประสงค์ในการค้นคืนสารสนเทศที่จัดเก็บอยู่ในระบบนั้น ซึ่งอาจค้นโดยแรงงานคน หรือคอมพิวเตอร์ก็ได้

หน้าที่ของระบบการค้นคืนสารสนเทศ เพื่อช่วยแก้ปัญหาการติดตามสารนิเทศใหม่ๆ ซึ่งมีปริมาณเพิ่มขึ้น ระบบสารสนเทศจะช่วยค้น คัดเลือก และกล่นกรองสารนิเทศที่เกี่ยวของ เพื่อการใช้ประโยชน์ต่อไป  ในทัศนของ Lancaster ระบบสารสนเทศมีหน้าที่จัดหา จัดระเบียบและควบคุมเพื่อให้มีการเข้าถึงสารนิเทศ

        ความรู้ไม่สามารถถ่ายทอดจากบุคคลหนึ่งไปสู่อีกบุคคลหนึ่งโดยตรงเสมอไปจึงต้องมีแหล่ง เก็บรวบรวมความรู้ คือ ระบบสารสนเทศ ซึ่งเป็นระบบที่ทำหน้าที่รวบรวม จัดเก็บ และนำสารสนเทศไปใช้ในองค์กร ระบบทำหน้าที่เป็นช่องทาง(Channel) ของสารสนเทศ ระบบประกอบด้วยคน ครุภัณฑ์ และกระบวนการ บ่อยครั้งที่คนมักคิดคงระบบสารสนเทศว่าประกอบด้วยระบบคอมพิวเตอร์และมีฐานข้อมูล (Databases) จัดเก็บสารสนเทศเท่านั้น โดยลืมนึกถึง คน ซึ่งทำหน้าที่รวบรวบสารสนเทศจากแหล่งต่าง ๆ และจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูล

 

http://www.ru.ac.th/hu812/a3.doc

http://www.ketkwanchai.info/ebook3/18.htm

http://lisru.com/Information%20Retrieval/Introduction.html

guest profile guest

อธิบายความหมายของการจัดเก็บและการค้นคืน

การจัดเก็บและการค้นคืน (knowledge storage and retrieval) องค์กรต้องกำหนดสิ่งสำคัญที่จะเก็บไว้เป็นองค์ความรู้ และต้องพิจารณาถึงวิธีการในการรักษา และการนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ตามความต้องการ องค์กรต้องเก็บรักษาสิ่งที่องค์กรเรียกว่าเป็นความรู้ไว้ให้ดีที่สุด ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลสารสนเทศ ตลอดจนผลสะท้อนกลับ การวิจัยและ การทดลอง การจัดเก็บเกี่ยวกับด้านเทคนิค เช่น การบันทึกเป็นฐานข้อมูล หรือการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน รวมทั้งที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางมนุษย์ด้วย เช่น    การสร้างและการจดจำของปัจเจกบุคคล เป็นต้น ทั้งนี้การสะสมความรู้ องค์กรควรคำนึงถึง โครงสร้างการจัดเก็บความรู้ ควรเป็นระบบที่สามารถค้นหาและส่งมอบได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ทันเวลาและเหมาะสมกับความต้องการ และจัดให้มีการจำแนกรายการต่าง ๆ ที่อยู่บนพื้นฐานความจำเป็นในการเรียนรู้  องค์กรต้องพิจารณาความแตกต่างของกลุ่มคนในการค้นคืนความรู้ ต้องมีการจัดหมวดหมู่ตามองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ตามวัตถุประสงค์ของงาน ความชำนาญของผู้ใช้ เป็นต้น และองค์กรต้องหาวิธีทำให้พนักงานทราบถึงช่องทางหรือวิธีการสำหรับค้นหาความรู้ เช่น การทำสมุดจัดเก็บรายชื่อ และทักษะของผู้เชี่ยวชาญ เครือข่ายการทำงานตามลำดับชั้น การประชุม การฝึกอบรม เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะนำไปสู่การถ่ายทอดความรู้ในองค์กร 

ระบบ สารสนเทศ  เรียกว่า ระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (Information and Retrieval Sytem หรือใช้คำย่อว่า ISARS) หรือ ระบบค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval System หรือ IRS ) ปัจจุบัน มีระบบสารสนเทศเพื่อให้บริการสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของหน่วยงาน อันจะช่วยพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานของหน่วยงาน ดังนั้น ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ จึงเป็นหัวใจสำคัญของหน่วยงาน ระบบสารสนเทศทำหน้าที่เกี่ยวข้องโดย ตรงกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ประสิทธิภาพของระบบขึ้นอยู่กับการดำเนินงานจัดเก็บและค้นคืน

          การค้นคืน    ( retrieve ) หมายถึงการได้รับสิ่งที่ต้องการกลับคืนมา การค้นคืนสารสนเทศ (information retrieval)  จึงเป็นการการกระทำใดๆ ที่ให้ได้รับสารนิเทศที่ต้องการ ซึ่งอาจเป็นข้อมูลหรือรายการเอกสารซึ่งบรรจุเนื้อหาที่ต้องการ และส่งให้กับผู้รับอย่างรวดเร็ว

ระบบค้นคืนสารสนเทศ หมายถึง ระบบที่ได้รับการออกแบบเพื่อวัตถุประสงค์ในการค้นคืนสารสนเทศที่จัดเก็บอยู่ในระบบนั้น ซึ่งอาจค้นโดยแรงงานคน หรือคอมพิวเตอร์ก็ได้

หน้าที่ของระบบการค้นคืนสารสนเทศ เพื่อช่วยแก้ปัญหาการติดตามสารนิเทศใหม่ๆ ซึ่งมีปริมาณเพิ่มขึ้น ระบบสารสนเทศจะช่วยค้น คัดเลือก และกล่นกรองสารนิเทศที่เกี่ยวของ เพื่อการใช้ประโยชน์ต่อไป  ในทัศนของ Lancaster ระบบสารสนเทศมีหน้าที่จัดหา จัดระเบียบและควบคุมเพื่อให้มีการเข้าถึงสารนิเทศ

        ความรู้ไม่สามารถถ่ายทอดจากบุคคลหนึ่งไปสู่อีกบุคคลหนึ่งโดยตรงเสมอไปจึงต้องมีแหล่ง เก็บรวบรวมความรู้ คือ ระบบสารสนเทศ ซึ่งเป็นระบบที่ทำหน้าที่รวบรวม จัดเก็บ และนำสารสนเทศไปใช้ในองค์กร ระบบทำหน้าที่เป็นช่องทาง(Channel) ของสารสนเทศ ระบบประกอบด้วยคน ครุภัณฑ์ และกระบวนการ บ่อยครั้งที่คนมักคิดคงระบบสารสนเทศว่าประกอบด้วยระบบคอมพิวเตอร์และมีฐานข้อมูล (Databases) จัดเก็บสารสนเทศเท่านั้น โดยลืมนึกถึง คน ซึ่งทำหน้าที่รวบรวบสารสนเทศจากแหล่งต่าง ๆ และจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูล

การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ                                                                      มาจากศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Information Storage and Retrieval ใช้อักษรย่อ “ ISAR” หรือ “ ISR” เป็นกระบวนการทั้งการคัดเลือก ควบคุมโครงสร้างสารสนเทศ การจัดหา การจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการเข้าถึง และกระบวนการสำคัญใด ๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมการค้นหา การดึงสารสนเทศที่เข้าเรื่องเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งแหล่งจัดเก็บภายใน และแหล่งภายนอก เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศ หรือรายการทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งบรรจุเนื้อหาตรงตามต้องการ และในการบริการจะนำส่งให้ผู้ใช้อย่างรวดเร็วทันการณ์

ความสำคัญการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ                                                                         1. หน่วยงานบริการสารสนเทศ                                                                                   1.1 เป็นตัวกลางเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิตสารสนเทศ แหล่งสารสนเทศ และผู้ต้องการใชสารสนเทศ                                                                                   1.2 ทำให้การถ่ายโอนและไหลเวียนของสารสนเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ                                                                                 1.3 เป็นงานหลักที่เชื่อมโยงกับงานบริการและเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อ ส่งเสริมให้เกิดการใช้สารสนเทศให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด                                                                                               1.4 ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้อง โดยสามารถค้นคืนสารสนเทศได้ ตรงกับความต้องการและได้รับสารสนเทศทันต่อเวลา ซึ่งเป็นไป ตามนโยบายและวัตถุประสงค์ของหน่วยงานบริการสารสนเทศ                                                                                 2. ผู้ใช้                                                                                                2.1 เปิดโอกาสให้ผู้ใช้เข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภททั้งภายใน หน่วยงานบริการสารสนเทศและแหล่งทรัพยากรทั่วโลก อย่างเสรี ภายใต้ข้อกำหนดของกฎหมายในเรื่องสิทธิของ การใช้สารสนเทศ                                                                                    2.2 ให้ความสำคัญแก่ผู้ใช้กลุ่มต่าง ๆ โดยจัดทำเอกสารแนะนำการใช้ ฐานข้อมูลต่าง ๆ จัดเครื่องมืออำนวยความสะดวก เครื่องมือการค้นคืนที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้ใช้ค้นคืน สารสนเทศได้ด้วยตนเอง หรือผ่านบรรณารักษ์ตอบคำถาม                                                                                               2.3 มีการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ เพื่อให้เกิดความรวดเร็วทั้งวิธีการจัดหา จัดเก็บ และการค้น คืนสารสนเทศ เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับประโยชน์สูงสุด                                                                                                  2.4 ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้องและตรงกับความต้องการเพื่อ นำไปใช้ประโยชน์ตามที่ต้องการและความสนใจ                                                                                              2.5 สนับสนุนผู้ใช้ให้สามารถประเมิน แยกแยะ ทำความเข้าใจ เชื่อมโยงความคิดของสารสนเทศ เพื่อการเลือกสรร ศึกษา แสวงหา และติดตามสารสนเทศได้ด้วยตนเองเป็นผู้เรียน แบบพึ่งตนเองตลอดไป

 

 

http://www.ru.ac.th/hu812/a3.doc

http://www.ketkwanchai.info/ebook3/18.htm

http://lisru.com/Information%20Retrieval/Introduction.html

 

http://www.slideshare.net/thai2104/chapter1-4517094

guest profile guest

อธิบายความหมายของการจัดเก็บและการค้นคืน

การจัดเก็บและการค้นคืน (knowledge storage and retrieval) องค์กรต้องกำหนดสิ่งสำคัญที่จะเก็บไว้เป็นองค์ความรู้ และต้องพิจารณาถึงวิธีการในการรักษา และการนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ตามความต้องการ องค์กรต้องเก็บรักษาสิ่งที่องค์กรเรียกว่าเป็นความรู้ไว้ให้ดีที่สุด ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลสารสนเทศ ตลอดจนผลสะท้อนกลับ การวิจัยและ การทดลอง การจัดเก็บเกี่ยวกับด้านเทคนิค เช่น การบันทึกเป็นฐานข้อมูล หรือการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน รวมทั้งที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางมนุษย์ด้วย เช่น    การสร้างและการจดจำของปัจเจกบุคคล เป็นต้น ทั้งนี้การสะสมความรู้ องค์กรควรคำนึงถึง โครงสร้างการจัดเก็บความรู้ ควรเป็นระบบที่สามารถค้นหาและส่งมอบได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ทันเวลาและเหมาะสมกับความต้องการ และจัดให้มีการจำแนกรายการต่าง ๆ ที่อยู่บนพื้นฐานความจำเป็นในการเรียนรู้  องค์กรต้องพิจารณาความแตกต่างของกลุ่มคนในการค้นคืนความรู้ ต้องมีการจัดหมวดหมู่ตามองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ตามวัตถุประสงค์ของงาน ความชำนาญของผู้ใช้ เป็นต้น และองค์กรต้องหาวิธีทำให้พนักงานทราบถึงช่องทางหรือวิธีการสำหรับค้นหาความรู้ เช่น การทำสมุดจัดเก็บรายชื่อ และทักษะของผู้เชี่ยวชาญ เครือข่ายการทำงานตามลำดับชั้น การประชุม การฝึกอบรม เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะนำไปสู่การถ่ายทอดความรู้ในองค์กร 

ระบบ สารสนเทศ  เรียกว่า ระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (Information and Retrieval Sytem หรือใช้คำย่อว่า ISARS) หรือ ระบบค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval System หรือ IRS ) ปัจจุบัน มีระบบสารสนเทศเพื่อให้บริการสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของหน่วยงาน อันจะช่วยพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานของหน่วยงาน ดังนั้น ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ จึงเป็นหัวใจสำคัญของหน่วยงาน ระบบสารสนเทศทำหน้าที่เกี่ยวข้องโดย ตรงกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ประสิทธิภาพของระบบขึ้นอยู่กับการดำเนินงานจัดเก็บและค้นคืน

          การค้นคืน    ( retrieve ) หมายถึงการได้รับสิ่งที่ต้องการกลับคืนมา การค้นคืนสารสนเทศ (information retrieval)  จึงเป็นการการกระทำใดๆ ที่ให้ได้รับสารนิเทศที่ต้องการ ซึ่งอาจเป็นข้อมูลหรือรายการเอกสารซึ่งบรรจุเนื้อหาที่ต้องการ และส่งให้กับผู้รับอย่างรวดเร็ว

ระบบค้นคืนสารสนเทศ หมายถึง ระบบที่ได้รับการออกแบบเพื่อวัตถุประสงค์ในการค้นคืนสารสนเทศที่จัดเก็บอยู่ในระบบนั้น ซึ่งอาจค้นโดยแรงงานคน หรือคอมพิวเตอร์ก็ได้

หน้าที่ของระบบการค้นคืนสารสนเทศ เพื่อช่วยแก้ปัญหาการติดตามสารนิเทศใหม่ๆ ซึ่งมีปริมาณเพิ่มขึ้น ระบบสารสนเทศจะช่วยค้น คัดเลือก และกล่นกรองสารนิเทศที่เกี่ยวของ เพื่อการใช้ประโยชน์ต่อไป  ในทัศนของ Lancaster ระบบสารสนเทศมีหน้าที่จัดหา จัดระเบียบและควบคุมเพื่อให้มีการเข้าถึงสารนิเทศ

        ความรู้ไม่สามารถถ่ายทอดจากบุคคลหนึ่งไปสู่อีกบุคคลหนึ่งโดยตรงเสมอไปจึงต้องมีแหล่ง เก็บรวบรวมความรู้ คือ ระบบสารสนเทศ ซึ่งเป็นระบบที่ทำหน้าที่รวบรวม จัดเก็บ และนำสารสนเทศไปใช้ในองค์กร ระบบทำหน้าที่เป็นช่องทาง(Channel) ของสารสนเทศ ระบบประกอบด้วยคน ครุภัณฑ์ และกระบวนการ บ่อยครั้งที่คนมักคิดคงระบบสารสนเทศว่าประกอบด้วยระบบคอมพิวเตอร์และมีฐานข้อมูล (Databases) จัดเก็บสารสนเทศเท่านั้น โดยลืมนึกถึง คน ซึ่งทำหน้าที่รวบรวบสารสนเทศจากแหล่งต่าง ๆ และจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูล

การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ                                                                      มาจากศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Information Storage and Retrieval ใช้อักษรย่อ “ ISAR” หรือ “ ISR” เป็นกระบวนการทั้งการคัดเลือก ควบคุมโครงสร้างสารสนเทศ การจัดหา การจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการเข้าถึง และกระบวนการสำคัญใด ๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมการค้นหา การดึงสารสนเทศที่เข้าเรื่องเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งแหล่งจัดเก็บภายใน และแหล่งภายนอก เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศ หรือรายการทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งบรรจุเนื้อหาตรงตามต้องการ และในการบริการจะนำส่งให้ผู้ใช้อย่างรวดเร็วทันการณ์

ความสำคัญการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ                                                                         1. หน่วยงานบริการสารสนเทศ                                                                                   1.1 เป็นตัวกลางเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิตสารสนเทศ แหล่งสารสนเทศ และผู้ต้องการใช้สารสนเทศ                                                                                                           1.2 ทำให้การถ่ายโอนและไหลเวียนของสารสนเทศเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ                         1.3 เป็นงานหลักที่เชื่อมโยงกับงานบริการและเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อ ส่งเสริมให้เกิดการใช้สารสนเทศให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด                                                                1.4 ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้อง โดยสามารถค้นคืนสารสนเทศได้ ตรงกับความต้องการและได้รับสารสนเทศทันต่อเวลา ซึ่งเป็นไป ตามนโยบายและวัตถุประสงค์ของหน่วยงานบริการสารสนเทศ                                                                                 2. ผู้ใช้                                                                                                            2.1 เปิดโอกาสให้ผู้ใช้เข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภททั้งภายใน หน่วยงานบริการสารสนเทศและแหล่งทรัพยากรทั่วโลก อย่างเสรี ภายใต้ข้อกำหนดของกฎหมายในเรื่องสิทธิของ การใช้สารสนเทศ                                                                                       2.2 ให้ความสำคัญแก่ผู้ใช้กลุ่มต่าง ๆ โดยจัดทำเอกสารแนะนำการใช้ ฐานข้อมูลต่าง ๆ จัดเครื่องมืออำนวยความสะดวก เครื่องมือการค้นคืนที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้ใช้ค้นคืน สารสนเทศได้ด้วยตนเอง หรือผ่านบรรณารักษ์ตอบคำถาม                                           2.3 มีการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ เพื่อให้เกิดความรวดเร็วทั้งวิธีการจัดหา จัดเก็บ และการค้น คืนสารสนเทศ เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับประโยชน์สูงสุด                                                                                                             2.4 ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้องและตรงกับความต้องการเพื่อ นำไปใช้ประโยชน์ตามที่ต้องการและความสนใจ                                                                     2.5 สนับสนุนผู้ใช้ให้สามารถประเมิน แยกแยะ ทำความเข้าใจ เชื่อมโยงความคิดของสารสนเทศ เพื่อการเลือกสรร ศึกษา แสวงหา และติดตามสารสนเทศได้ด้วยตนเองเป็นผู้เรียน แบบพึ่งตนเองตลอดไป

 

 

http://www.ru.ac.th/hu812/a3.doc

http://www.ketkwanchai.info/ebook3/18.htm

http://lisru.com/Information%20Retrieval/Introduction.html

 

http://www.slideshare.net/thai2104/chapter1-4517094

guest profile guest

อธิบายความหมายของการจัดเก็บและการค้นคืน
การจัดเก็บและการค้นคืน (knowledge storage and retrieval) องค์กรต้องกำหนดสิ่งสำคัญที่จะเก็บไว้เป็นองค์ความรู้ และต้องพิจารณาถึงวิธีการในการรักษา และการนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ตามความต้องการ องค์กรต้องเก็บรักษาสิ่งที่องค์กรเรียกว่าเป็นความรู้ไว้ให้ดีที่สุด ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลสารสนเทศ ตลอดจนผลสะท้อนกลับ การวิจัยและ การทดลอง การจัดเก็บเกี่ยวกับด้านเทคนิค เช่น การบันทึกเป็นฐานข้อมูล หรือการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน รวมทั้งที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางมนุษย์ด้วย เช่น การสร้างและการจดจำของปัจเจกบุคคล เป็นต้น ทั้งนี้การสะสมความรู้ องค์กรควรคำนึงถึง โครงสร้างการจัดเก็บความรู้ ควรเป็นระบบที่สามารถค้นหาและส่งมอบได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ทันเวลาและเหมาะสมกับความต้องการ และจัดให้มีการจำแนกรายการต่าง ๆ ที่อยู่บนพื้นฐานความจำเป็นในการเรียนรู้ องค์กรต้องพิจารณาความแตกต่างของกลุ่มคนในการค้นคืนความรู้ ต้องมีการจัดหมวดหมู่ตามองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ตามวัตถุประสงค์ของงาน ความชำนาญของผู้ใช้ เป็นต้น และองค์กรต้องหาวิธีทำให้พนักงานทราบถึงช่องทางหรือวิธีการสำหรับค้นหาความรู้ เช่น การทำสมุดจัดเก็บรายชื่อ และทักษะของผู้เชี่ยวชาญ เครือข่ายการทำงานตามลำดับชั้น การประชุม การฝึกอบรม เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะนำไปสู่การถ่ายทอดความรู้ในองค์กร
ระบบ สารสนเทศ เรียกว่า ระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (Information and Retrieval Sytem หรือใช้คำย่อว่า ISARS) หรือ ระบบค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval System หรือ IRS ) ปัจจุบัน มีระบบสารสนเทศเพื่อให้บริการสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของหน่วยงาน อันจะช่วยพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานของหน่วยงาน ดังนั้น ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ จึงเป็นหัวใจสำคัญของหน่วยงาน ระบบสารสนเทศทำหน้าที่เกี่ยวข้องโดย ตรงกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ประสิทธิภาพของระบบขึ้นอยู่กับการดำเนินงานจัดเก็บและค้นคืน
การค้นคืน ( retrieve ) หมายถึงการได้รับสิ่งที่ต้องการกลับคืนมา การค้นคืนสารสนเทศ (information retrieval) จึงเป็นการการกระทำใดๆ ที่ให้ได้รับสารนิเทศที่ต้องการ ซึ่งอาจเป็นข้อมูลหรือรายการเอกสารซึ่งบรรจุเนื้อหาที่ต้องการ และส่งให้กับผู้รับอย่างรวดเร็ว
ระบบค้นคืนสารสนเทศ หมายถึง ระบบที่ได้รับการออกแบบเพื่อวัตถุประสงค์ในการค้นคืนสารสนเทศที่จัดเก็บอยู่ในระบบนั้น ซึ่งอาจค้นโดยแรงงานคน หรือคอมพิวเตอร์ก็ได้
หน้าที่ของระบบการค้นคืนสารสนเทศ เพื่อช่วยแก้ปัญหาการติดตามสารนิเทศใหม่ๆ ซึ่งมีปริมาณเพิ่มขึ้น ระบบสารสนเทศจะช่วยค้น คัดเลือก และกล่นกรองสารนิเทศที่เกี่ยวของ เพื่อการใช้ประโยชน์ต่อไป ในทัศนของ Lancaster ระบบสารสนเทศมีหน้าที่จัดหา จัดระเบียบและควบคุมเพื่อให้มีการเข้าถึงสารนิเทศ
ความรู้ไม่สามารถถ่ายทอดจากบุคคลหนึ่งไปสู่อีกบุคคลหนึ่งโดยตรงเสมอไปจึงต้องมีแหล่ง เก็บรวบรวมความรู้ คือ ระบบสารสนเทศ ซึ่งเป็นระบบที่ทำหน้าที่รวบรวม จัดเก็บ และนำสารสนเทศไปใช้ในองค์กร ระบบทำหน้าที่เป็นช่องทาง(Channel) ของสารสนเทศ ระบบประกอบด้วยคน ครุภัณฑ์ และกระบวนการ บ่อยครั้งที่คนมักคิดคงระบบสารสนเทศว่าประกอบด้วยระบบคอมพิวเตอร์และมีฐานข้อมูล (Databases) จัดเก็บสารสนเทศเท่านั้น โดยลืมนึกถึง คน ซึ่งทำหน้าที่รวบรวบสารสนเทศจากแหล่งต่าง ๆ และจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูล
การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ มาจากศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Information Storage and Retrieval ใช้อักษรย่อ “ ISAR” หรือ “ ISR” เป็นกระบวนการทั้งการคัดเลือก ควบคุมโครงสร้างสารสนเทศ การจัดหา การจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการเข้าถึง และกระบวนการสำคัญใด ๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมการค้นหา การดึงสารสนเทศที่เข้าเรื่องเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งแหล่งจัดเก็บภายใน และแหล่งภายนอก เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศ หรือรายการทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งบรรจุเนื้อหาตรงตามต้องการ และในการบริการจะนำส่งให้ผู้ใช้อย่างรวดเร็วทันการณ์
ความสำคัญการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
หน่วยงานบริการสารสนเทศ
1 เป็นตัวกลางเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิตสารสนเทศ แหล่งสารสนเทศ และผู้ต้องการใช้สารสนเทศ
2 ทำให้การถ่ายโอนและไหลเวียนของสารสนเทศเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ
3 เป็นงานหลักที่เชื่อมโยงกับงานบริการและเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อ ส่งเสริมให้เกิดการใช้สารสนเทศให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
4 ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้อง โดยสามารถค้นคืนสารสนเทศได้ ตรงกับความต้องการและได้รับสารสนเทศทันต่อเวลา ซึ่งเป็นไป ตามนโยบายและวัตถุประสงค์ของหน่วยงานบริการสารสนเทศ
ผู้ใช้
1 เปิดโอกาสให้ผู้ใช้เข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภททั้งภายใน หน่วยงานบริการสารสนเทศและแหล่งทรัพยากรทั่วโลก อย่างเสรี ภายใต้ข้อกำหนดของกฎหมายในเรื่องสิทธิของ การใช้สารสนเทศ
2 ให้ความสำคัญแก่ผู้ใช้กลุ่มต่าง ๆ โดยจัดทำเอกสารแนะนำการใช้ ฐานข้อมูลต่าง ๆ จัดเครื่องมืออำนวยความสะดวก เครื่องมือการค้นคืนที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้ใช้ค้นคืน สารสนเทศได้ด้วยตนเอง หรือผ่านบรรณารักษ์ตอบคำถาม
3 มีการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ เพื่อให้เกิดความรวดเร็วทั้งวิธีการจัดหา จัดเก็บ และการค้น คืนสารสนเทศ เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับประโยชน์สูงสุด
4 ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้องและตรงกับความต้องการเพื่อ นำไปใช้ประโยชน์ตามที่ต้องการและความสนใจ
5 สนับสนุนผู้ใช้ให้สามารถประเมิน แยกแยะ ทำความเข้าใจ เชื่อมโยงความคิดของสารสนเทศ เพื่อการเลือกสรร ศึกษา แสวงหา และติดตามสารสนเทศได้ด้วยตนเองเป็นผู้เรียน แบบพึ่งตนเองตลอดไป

http://www.ru.ac.th/hu812/a3.doc
http://www.ketkwanchai.info/ebook3/18.htm
http://lisru.com/Information%20Retrieval/Introduction.html
http://www.slideshare.net/thai2104/chapter1-4517094

guest profile guest

สารสนเทศ (Information) มีความสำคัญเกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตของมนุษย์ มนุษย์แสวงหาสารสนเทศ เพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น เพื่อการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อการปฏิบัติงานตาม ภารกิจของตน เพื่อติดตามข่าวสารและพัฒนาความรู้ และเพื่อความบันเทิง เป็นต้น ในการแสวง หาสารสนเทศที่ต้องการผู้แสวงหาหาสารสนเทศจากแหล่งต่างๆ เช่น แหล่งบุคคล แหล่งสถาบัน แหล่งสื่อต่างๆ ได้แก่ สื่อตีพิมพ์ สื่อไม่ตีพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิก อย่างไรก็ตามปัญหาที่ประสบ คือ สารสนเทศมีปริมาณมากมายมหาศาล และทวีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกวันอย่างรวดเร็ว ประกอบกับข้อจำกัดด้านเวลา ภาษาและสถานที่ ทำให้ไม่สามารถติดตามสารสนเทศที่สนใจได้หมด แหล่งที่จะอำนวยความสะดวกมากที่สุดที่ทำให้เข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการ คือ แหล่งสารสนเทศที่เป็นทางการและเป็นระบบซึ่งทำหน้าที่จัดรวบรวมสารสนเทศและ จัดเก็บอย่างเป็นระบบ และสามารถค้นคืนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ ระบบสารสนเทศ (Information system)

การคิดนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในองค์กรเพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพของหน่วยงานต่างๆ นั้น เริ่มเกิดมีมาตั้งแต่เมื่อมอชลีย์และเอคเกิรตสร้างคอมพิวเตอร์เอริแอคสำเร็จ แล้ว โดยบุคคลทั้งสองได้ลงทุนเปิดบริษัทจัดสร้างคอมพิวเตอร์สำหรับขายในเชิง ธุรกิจ แต่โดยที่ทั้งสองปนะสบปัญหาทางด้านการเงินจึงต้องขายกิจการให้บริษัทเรมิ งตัน เรนด์ และจัดสร้างคอมพิวเตอร์ UNIVAC I เป็น คอมพิวเตอร์เครื่องแรกสำหรับใช้ในงานเชิงธุรกิจ หลังจากนั้นบริษัทอื่นๆ เช่นไอบีเอ็ม จึงเริ่มสนใจผลิตคอมพิวเตอร์ออกขายบ้าง ทำให้เกิดการประยุกต์คอมพิวเตอร์ที่เรียกรวมๆ ว่า การประมวลผลข้อมูล (Data Processing หรือ Electronic Data processing เรียกย่อๆ ว่า DP หรือ EDP)

การประมวลผลข้อมูลนั้นกล่าวโดยย่อก็คือ การนำข้อมูลต่างๆ มาดำเนินการให้เกิดเป็นเอกสารและรายงานต่างๆ ตามรูปแบบที่ผู้ใช้ต้องการนั่นเอง ยกตัวอย่างเช่น ในทางด้านการสำมะโนประชากร ซึ่งเป็นงานประยุกต์อย่างแรกทางด้านการประมวลผลข้อมูลนั้น การใช้คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยการนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจมาแจงนับแยกเป็น กลุ่มๆ แล้วจัดทำเป็นรายงานต่างๆ ตามความต้องการของสำนักงานสำมะโนประชากร หรือในบริษัทอุตสาหกรรม การประมวลผลข้อมูลประกอบด้วยการนำข้อมูลการสั่งสินค้าของลุกค้ามาจัดทำใบส่ง ของ ใบเรียกเก็บเงิน ลงรายการบัญชี จัดทำบัญชี เป็นต้น

ปัจจุบัน หน่วยงานต่างๆ จัดให้มีระบบสารสนเทศเพื่อให้บริการสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของหน่วย งาน อันจะช่วยพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานของหน่วยงาน ดังนั้น ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ จึงเป็นหัวใจสำคัญของหน่วยงาน ระบบสารสนเทศทำหน้าที่เกี่ยวข้องโดย ตรงกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ประสิทธิภาพของระบบขึ้นอยู่กับการดำเนินงานจัดเก็บและค้นคืน

info-sys.gifระบบ สารสนเทศบางครั้งเรียกว่า ระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (Information and Retrieval Sytem หรือใช้คำย่อว่า ISARS) หรือ ระบบค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval System หรือ IRS )

การค้นคืน (Retrieval) หมายถึง การได้รับสิ่งที่ต้องการกลับคืนมา การค้นคืนสารสนเทศ (Information retrieval) จึงเป็นการกระทำใด ๆ ที่คัดเลือกสารสนเทศจากแหล่งเก็บเพื่อทำให้ได้รับสารสนเทศตามที่ต้องการ ซึ่งอาจเป็นข้อมูล หรือ รายการเอกสารซึ่งบรรจุเนื้อหาที่ต้องการ การค้นคืนสารสนเทศมีความหมายเช่นเดียวกับการค้นวรรณกรรม (Literature searching) ซึ่งหมายถึง กระบวนการค้นเอกสาร เพื่อให้ได้เอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หลักการสำคัญของการค้นคืนสารสนเทศ คือ การค้นหาและนำสารสนเทศที่ตรงตามความต้องการ ส่งให้แก่ผู้ใช้อย่างรวดเร็ว ทันการ ระบบใดก็ตามที่ได้รับการออกแบบเพื่ออำนวยความสะดวกในการค้นสิ่งพิมพ์ จึงเรียกว่า ระบบค้นคืนสารสนเทศ ตัวอย่างเช่น บัตรรายการ สิ่งพิมพ์ดรรชนี เป็นต้น

ความรู้ไม่สามารถถ่ายทอดจากบุคคลหนึ่งไปสู่อีกบุคคลหนึ่งโดยตรงเสมอไป จึงต้องมีแหล่งเก็บรวบรวมความรู้ คือ ระบบสารสนเทศ ซึ่งเป็นระบบที่ทำหน้าที่รวบรวม จัดเก็บ และนำสารสนเทศไปใช้ในองค์กร ระบบทำหน้าที่เป็นช่องทาง (Channel) ของสารสนเทศ ระบบประกอบด้วยคน ครุภัณฑ์ และกระบวนการ

บ่อยครั้งที่คนมักคิดคงระบบสารสนเทศว่าประกอบด้วยระบบคอมพิวเตอร์และมี ฐานข้อมูล (Databases) จัดเก็บสารสนเทศเท่านั้น โดยลืมนึกถึง คน ซึ่งทำหน้าที่รวบรวมสารสนเทศจากแหล่งต่างๆ และจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูล

ระบบสารสนเทศเป็นการสื่อสารในรูปแบบหนึ่ง ประกอบด้วยการส่งสาร จากแหล่งหนึ่งไปสู่แหล่งหนึ่ง ระหว่างการส่งสาร สารจะมีคุณภาพต่อผู้รับหรือไม่ ขึ้นอยู่กับว่ามีสิ่งรบกวน (Noise) มากน้อยเพียงไร ซึ่งเป็นอุปสรรคทำให้ระบบสารสนเทศ ไม่ตอบสนองความต้องการเท่าที่ควร

วัตถุประสงค์ของระบบสารสนเทศ

  • เพื่อเป็นสื่อประสานระหว่างผู้ใช้และทรัพยากร
  • นำผู้ใช้ให้สามารถเข้าถึงทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ และอย่างประหยัด

บทบาทของระบบสารสนเทศ

มี 2 ประการ คือ

  • บทบาทเชิงรับ (Passive role) จัดเตรียมวิธีการให้ผู้ใช้ได้เข้าถึงทรัพยากรที่มี เช่น การทำรายการ ดรรชนี จัดหมวดหมู่
  • บทบาทเชิงรุก (Active role) แจ้งให้ผู้ใช้ทราบถึงสารสนเทศทันสมัย (Current awareness) หรือ นำเอกสารที่ผู้ใช้ต้องการ ให้ถึงมือผู้ใช้โดยการค้นคืนสารสนเทศที่ต้องการ

ผู้เขียน

  1. นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย์ นักวิชาการ ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
http://www.stks.or.th/wiki/doku.php?id=computer:information-tech
guest profile guest

การจัดเก็บและการค้นคืน

ระบบสารสนเทศ

 

(Information system)

       สารสนเทศ มีความสำคัญเกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตของมนุษย์ มนุษย์แสวงหาสารสนเทศ เพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น เพื่อการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อการปฏิบัติงานตาม ภารกิจของตน เพื่อติดตามข่าวสารและพัฒนาความรู้ และเพื่อความบันเทิง เป็นต้น ในการแสวง หาสารสนเทศที่ต้องการผู้แสวงหาหาสารสนเทศจากแหล่งต่างๆ เช่น แหล่งบุคคล แหล่งสถาบัน แหล่งสื่อต่างๆ ได้แก่ สื่อตีพิมพ์ สื่อไม่ตีพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิก อย่างไรก็ตามปัญหาที่ประสบ คือ สารสนเทศมีปริมาณมากมายมหาศาล และทวีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกวันอย่างรวดเร็ว ประกอบกับข้อจำกัดด้านเวลา ภาษาและสถานที่ ทำให้ไม่สามารถติดตามสารสนเทศที่สนใจได้หมด แหล่งที่จะอำนวยความสะดวกมากที่สุดที่ทำให้เข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการ คือ แหล่งสารสนเทศที่เป็นทางการและเป็นระบบซึ่งทำหน้าที่จัดรวบรวมสารสนเทศและจัดเก็บอย่างเป็นระบบ และสามารถค้นคืนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ ระบบสารสนเทศ (Information system)

ปัจจุบัน หน่วยงานต่างๆ จัดให้มีระบบสารสนเทศเพื่อให้บริการสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของหน่วยงาน อันจะช่วยพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานของหน่วยงาน ดังนั้น ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ จึงเป็นหัวใจสำคัญของหน่วยงาน ระบบสารสนเทศทำหน้าที่เกี่ยวข้องโดย ตรงกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ประสิทธิภาพของระบบขึ้นอยู่กับการดำเนินงานจัดเก็บและค้นคืน

ระบบสารสนเทศบางครั้งเรียกว่า ระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (Information and Retrieval Sytem หรือใช้คำย่อว่า ISARS) หรือ ระบบค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval System หรือ IRS )

การค้นคืน (Retrieval) หมายถึง การได้รับสิ่งที่ต้องการกลับคืนมา การค้นคืนสารสนเทศ (Information retrieval) จึงเป็นการกระทำใด ๆ ที่คัดเลือกสารสนเทศจากแหล่งเก็บเพื่อทำให้ได้รับสารสนเทศตามที่ต้องการ ซึ่งอาจเป็นข้อมูล หรือ รายการเอกสารซึ่งบรรจุเนื้อหาที่ต้องการ การค้นคืนสารสนเทศมีความหมายเช่นเดียวกับการค้นวรรณกรรม (Literature searching) ซึ่งหมายถึง กระบวนการค้นเอกสาร เพื่อให้ได้เอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หลักการสำคัญของการค้นคืนสารสนเทศ คือ การค้นหาและนำสารสนเทศที่ตรงตามความต้องการ ส่งให้แก่ผู้ใช้อย่างรวดเร็ว ทันการ ระบบใดก็ตามที่ได้รับการออกแบบเพื่ออำนวยความสะดวกในการค้นสิ่งพิมพ์ จึงเรียกว่า ระบบค้นคืนสารสนเทศ ตัวอย่างเช่น บัตรรายการ สิ่งพิมพ์ดรรชนี เป็นต้น

ความรู้ไม่สามารถถ่ายทอดจากบุคคลหนึ่งไปสู่อีกบุคคลหนึ่งโดยตรงเสมอไป จึงต้องมีแหล่งเก็บรวบรวมความรู้ คือ ระบบสารสนเทศ ซึ่งเป็นระบบที่ทำหน้าที่รวบรวม จัดเก็บ และนำสารสนเทศไปใช้ในองค์กร ระบบทำหน้าที่เป็นช่องทาง (Channel) ของสารสนเทศ ระบบประกอบด้วยคน ครุภัณฑ์ และกระบวนการ บ่อยครั้งที่คนมักคิดคงระบบสารสนเทศว่าประกอบด้วยระบบคอมพิวเตอร์และมีฐานข้อมูล (Databases) จัดเก็บสารสนเทศเท่านั้น โดยลืมนึกถึง คน ซึ่งทำหน้าที่รวบรวมสารสนเทศจากแหล่งต่าง ๆ และจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูล

ระบบสารสนเทศเป็นการสื่อสารในรูปแบบหนึ่ง ประกอบด้วยการส่งสาร จากแหล่งหนึ่งไปสู่แหล่งหนึ่ง ระหว่างการส่งสาร สารจะมีคุณภาพต่อผู้รับหรือไม่ ขึ้นอยู่กับว่ามีสิ่งรบกวน (Noise) มากน้อยเพียงไร ซึ่งเป็นอุปสรรคทำให้ระบบสารสนเทศ ไม่ตอบสนองความต้องการเท่าที่ควร

 สรุปก็คือคือ ระบบการค้นคืนสารนิเทคือ  ระบบสารนิเทศที่ทำหน้าที่นำเสนอและแจกจ่ายสารนิเทศแก่ผู้ที่ต้องการ ซึ่งระบบสารนิเทศประกอบด้วยระบบการดำเนินงานย่อยๆ 5 ระบบ คือ                                                 

1.         การคัดเลือก  เป็นการการรวบรวมสารนิเทศตามเกณฑ์และนโยบายที่กำหนดไว้ ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้                                                                                                                                                               

2.         การวิเคราะห์เอกสาร  ได้แก่การจัดหมวดหมู่ การจัดทำรายการ  การทำดรรชนี และการทำสารสังเขป

3.          การจัดระเบียบ ในระบบสารนิเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล จะมีการจัดระเบียบแฟ้มข้อมูล โดยทั่วไปจะเรียงลำดับเลขทะเบียน

4.         การค้นคืน เป็นกระบวนการสำคัญในการประเมินศักยภาพของระบบสารนิเทศ เป็นจุดเริ่มต้นของการค้นคืน online  เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ คือ ขั้นตอนการวิเคราะห์แนวคิด  และขั้นตอนการกำหนดศัพท์ หลังจากนั้นก็นำคำศัพท์ไปดำเนินการค้น ถ้าคำศัพท์ตรงกับดรรชนีคำค้นของเอกสารนั้น จะได้รับเอกสารจำนวนหนึ่ง หรือผู้ค้นจะทำการปรับปรุงเอกสารให้เป็นที่พอใจของผู้ใช้บริการ

5.         การแจกจ่าย เป็นการนำส่งผลการค้นคืนให้แก่ผู้ใช้ ที่มีความต้องการเอกสารเอกสารในเรื่องนั้นๆ โดยทั่วไปคือ รายการอ้างอิงทางบรรณานุกรม โดยการสืบค้นสารสนเทศจะสิ้นสุดเมื่อผู้สืบค้นสารสนเทศได้รับเอกสารเหล่านั้นเรียบร้อยแล้ว องค์ประกอบเหล่านี้เป็นเป็นกิจกรรมทางสติปัญญาซึ่งดำเนินการโดยคน มิใช่เครื่องจักร หรือเรียบอีกนัยหนึ่งว่า ประสิทธิภาพของระบบค้นคืนสารนิเทศ จึงขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ สามารถจำแนกได้ 2 กลุ่มก็คือ

-          องค์ประกอบด้านฐานข้อมูล คือเอกสารที่จัดเก็บความละเอียดของดรรชนี  ความเพียงพอของคำศัพท์ ในระบบที่ใช้แทนเนื้อหาของเอกสาร

-          องค์ประกอบด้านการใช้ระบบ คือ ความเข้าใจของนักเอกสารสนเทศ ในเรื่องความต้องการของผู้ใช้

รูแบบของระบบค้นคืนสารนิเทศ

ระบบค้นคืนสารนิเทศสามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ

1. ระบบค้นคืนที่ให้คำถาม – คำตอบ เป็นการบริการค้นคำตอบสำหรับคำถามที่ต้องการคำตอบ ที่เป็นข้อเท็จจริง

2. ระบบค้นคืนที่ให้ข้อมูลเป็นตัวเลข คือ สัญญาลักษณ์  เป็นระบบจัดเก็บข้อมูลทางฟิสิกส์ เคมี สำะโนประชากร เป็นต้น

3. ระบบค้นคืนข้อความจากวารสาร เป็นระบบที่จัดเก็บตัวเนื้อหาเอกสารและสามารถเรียกข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งของเอกสารได้ เช่น ฐานข้อมูลทางกฎหมาย เป็นต้น

บริการค้นคืนระบบโอแพ็ก

ระบบโอแพ็ก คือ ระบบการค้นหารายการทรัพยากรสารนิเทศด้วยระบบคอมพิวเตอร์ออนไลน์  จะใช้เครื่องปลายทางเป็นเครื่องมือค้นหารายการสารนิเทศที่ต้องการ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จ หรือโปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลในระยะบบห้องสมุดอัตโนมัติ

                         ปัจจุบันระบบโอแพ็กได้ใช้ในโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลใน 3 รูปแบบคือ

1.       โปรแกรมสำเร็จที่มีหน่วยงาน องค์กรบริบัษต่างๆที่พัฒนาขึ้นมาใช้แล้วเช่นโปรแกรม ซีดีเอส/ไอซีส ดีเบส ฟอกซ์เบส และบี อาร์เอส

2.       เขียนโปรแกรมเฉพาะแห่งโดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาภาษี

3.       โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ หรือโปรแกรมสำเร็จพร้อมใช้งานในระบบบูรณาการ หรือเรียกทั่วไปว่าระบบเทิร์นคีย์ เช่น URICA  VTLS  TINLIB เป็นต้น

ประโยชน์ของการค้นคืนระบบโอแพ็ก

-          ผู้ค้นสามารถค้นรายการสารนิเทศที่ต้องการได้มากวิธีกว่าการค้นคืนจากบัตรรายการซึ่งจำกัดการเข้าถึงสารนิเทศด้วยช่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง ในระบบโอแพ็กผู้ค้นสามารถค้นได้จขากดรรชนีหลายประเภท เช่น สามารถค้นได้จากหลักการประสานคำที่เรียกว่า ลักบลูลีน Boolean  หรือ ค้นคำจากเขตข้อมูล เฉพาะที่ต้องการได้เช่น  เขตข้อมูลปีที่พิมพ์ หมายเลขมาตรฐาน หนังสือสากล เลขเรียกหนังสือ หรือค้นจากคำสำคัญอื่นๆ

-          ทำให้ได้รับความสะดวกค้นคืนรายการสารนิเทศได้ถูกต้อง แม่นยำ และเป็นระบบที่ใช้ง่าย

-          เป็นระบบที่ช่วยกระตุ้นและส่งเสริมให้ผู้ใช้เกิดความต้องการใช้ทรัพยากรสารนิเทศอย่างคุ้มค่า เนื่องจากความง่ายและสะดวกในการเข้าถึง

-          ผู้ใช้สามารถค้นคืนรายการทรัพยากรสารนิเทศจากสถานที่ๆตนสะดวก หากมีการใช้ระบบเชื่อมโยงเครื่องปลายทางไปยังสถาบันบริการสารนิเทศที่ให้บริการค้นคืนระบบโอแพ็ก

-          สามารถเชื่อมโยงไปยังรายการทรัพยากรสารนิเทศกับระบบโอแพ็กของสถาบันบริการอื่นๆทั้งในประเทศและต่างประเทศระบบเครือข่าย

ลักษณะการค้นคืนระบบโอแพ็ก

ผู้ใช้สามารถใช้ระบบเป็นจุดเริ่มต้นของการค้นหาสารนิเทศ ในสถาบันบริการแห่งหนึ่ง เช่นเดียวกับการใช้บัตรรายการ  โดยทั่วไปผู้ใช้สามารถเลือกค้นได้จากคำหรือวิธีต่างๆดังต่อไปนี้

-          ค้นคืนโดยใช้ชื่อผู้แต่ง        -  ค้นคืนโดยใช้คำสำคัญ

-          ค้นคืนโดยใช้ชื่อเรื่อง          -  ค้นคืนโดยใช้วลี

-          ค้นคืนโดยใช้หัวเรื่อง          -  ค้นคืนโดยใช้คำในดรรชนี

-          ค้นคืนโดยใช้เลขหมู่           -  ค้นคืนโดยใช้การตัดคำ

-          ค้นคืนโดยการจำกัดคำค้นในเขตข้อมูลที่ต้องการ

-          ค้นคืนโดยวิธีไล่ดูรายการตามลำดับระเบียน

   บริการบนอินเตอร์เน็ต

                        อินเตอร์เน็ตไดรับความนิยมเนื่องมาจากการใช้บิการทางอินเตอร์เน็ตเป็นไปอย่างรวดเร็ว สะดวกในการติดต่อสื่อสารและส่งผ่านข้อมูลและสารสนเทศ

 บริการต่างๆในอินเตอร์เน็ตเป็นที่รู้จักและนิยมใช้กันอย่างกว้างขวาง แยกออกเป็น4 ลักษณะดังนี้

1. บริการถ่ายโอนแฟ้ม หรือเรียกย่อๆ ว่า FPT เป็นบริการที่ช่วยให้การติดต่อและถ่ายโอน หรือคัดลอกแฟ้มข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์จากเครื่องหนึ่งไปอีกเครื่องหนึ่งที่เชื่อมต่ออยู่ในอินเตอร์เน็ต ทีร่บริการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลที่อยู่ระยะไกล                       

http://hathairat.blog.mthai.com/2007/07/04/public-2

http://planet.kapook.com/peebom/blog/viewnew/65121
guest profile guest

 

การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ

 

 

ในสภาพการณ์ปัจจุบันสารนิเทศมีความสำคัญมากยิ่งขึ้น ทำให้มีการผลิตสารนิเทศออกมาในรูปแบบต่างๆ มากมาย สารนิเทศที่เพิ่มมากขึ้นเหล่านี้ทำให้ผู้ใช้สารนิเทศไม่สามารถควบคุมหรือจดจำข้อมูล ข่าวสารต่างๆ ได้หมด แต่มีความจำเป็นต้องใช้สารนิเทศเพื่อการศึกษา การค้นคว้าวิจัยและการประกอบอาชีพ ดังนั้นจึงเกิดความพยายามในการหาวิธีที่จะจัดเก็บสารนิเทศจำนวนมหาศาลอย่างเป็นระบบ เพื่อสะดวกในการนำมาใช้ให้คุ้มค่าหรือถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ทันกับความจำเป็นและทันต่อเหตุการณ์ รวมทั้งสามารถค้นคืนสารนิเทศที่จัดเก็บไว้มาใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

 

 

ความหมายของการจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ

 

 

การจัดเก็บสารนิเทศ

(Information Storage) หมายถึง การจำแนก จัดเรียงและจัดหมวดหมู่สารนิเทศให้เป็นระเบียบ ทั้งนี้เพื่อให้สามารถค้นหาและจัดเก็บสารนิเทศเข้าที่เดิมได้โดยสะดวกรวดเร็วและทันกับความต้องการ” (มาลี ไชยเสนา, 2542, หน้า 39)

 

 

 

 

มาลี ล้ำสกุล

 

(2545, หน้า 7) ยังได้สรุปความหมายของ การจัดเก็บสารนิเทศ ว่าหมายถึง การจัดโครงสร้างและควบคุมทางบรรณานุกรมโดยใช้คอมพิวเตอร์ ด้วยวิธีการทำรายการและข้อมูลบรรณานุกรมในลักษณะเก็บข้อมูลเข้าแฟ้มข้อมูล จัดเตรียมแฟ้ม รวมไปถึงการจัดทำสื่อจัดเก็บข้อมูลลักษณะต่างๆ และฐานข้อมูลเพื่อการค้นหาและค้นคืนสารนิเทศ

 

Chester, Myrvin F. and Athwall Avtar K. (2002, p.209)

 

กล่าวว่า การจัดเก็บสารนิเทศเป็นหัวใจของระบบคอมพิวเตอร์และระบบสารนิเทศ โดยสารนิเทศที่จัดเก็บไว้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถนำมาใช้ในการจัดการ การวางแผน และการตัดสินใจได้ และที่สำคัญสามารถนำมาใช้เพื่อการค้นคืนสารนิเทศได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว

 

 

 

 

สรุปได้ว่า

 

การจัดเก็บสารนิเทศคือ การนำรายละเอียดของทรัพยากรสารนิเทศ มาจัดเก็บไว้ เพื่อจัดหมวดหมู่ ทำรายการ หรือทำดรรชนี สาระสังเขป และจัดทำฐานข้อมูล เพื่อการค้นคืนสารนิเทศได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และตรงกับความต้องการของผู้ใช้

 

การค้นคืนสารนิเทศ

(Information Retrieval)

คือ การดึงหรือค้นเอกสารย้อนหลัง ที่จัดเก็บไว้ตามหัวข้อที่ต้องการ การค้นตามหัวข้อ ความสนใจและความต้องการของผู้ใช้จากทรัพยากรสารนิเทศที่เข้ามาใหม่ทุกครั้ง หรือการค้นให้ผู้ใช้เพื่อบริการสารนิเทศที่ทันสมัย การค้นเอกสารผู้ค้นทำการค้นจากเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงหรือเครื่องที่เชื่อมโยงเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้โปรแกรมจัดเก็บและค้นคืนสารนิเทศ รวมทั้งเชื่อมโยงสู่ระบบอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้เพื่อการใช้ประโยชน์ต่างๆ ของผู้ใช้” (มาลี ล้ำสกุล, 2545, หน้า 7)

 

 

 

 

มาลี ไชยเสนา

 

(2542, หน้า 403) กล่าวว่า การค้นคืนสารนิเทศ (Information Retrieval) ในอดีตเป็นงานบริการช่วยผู้ใช้ค้นหาทรัพยากรสารนิเทศ หรือบอกให้ผู้ใช้รู้แหล่งจัดเก็บสารนิเทศ งานค้นคืนสารนิเทศจึงเป็นงานค้นหาและช่วยให้ผู้ใช้ค้น แนะนำและสอนผู้ใช้ อำนวยความสะดวกต่างๆ ให้ผู้ใช้ได้รับทรัพยากรสารนิเทศตามความต้องการ แต่ปัจจุบันผู้ใช้ส่วนใหญ่จะค้นเอกสาร ที่จัดเก็บไว้ด้วยตนเองตามความสนใจและความต้องการของผู้ใช้ การค้นเอกสารผู้ค้นสามารถค้นได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงหรือเครื่องที่เชื่อมโยงเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้โปรแกรมจัดเก็บและค้นคืนสารนิเทศ รวมทั้งเชื่อมโยงสู่ระบบอินเทอร์เน็ต ทำให้ผู้ใช้สามารถค้นหา และไดรับสารนิเทศที่ต้องการ ซึ่งเป็นสารนิเทศที่สถาบันบริการสารนิเทศและแหล่งต่างๆ จัดไว้ให้บริการ

 

 

 

 

สรุปได้ว่า

 

การค้นคืนสารนิเทศคือ การค้นเพื่อให้ได้สารนิเทศและทรัพยากรสารนิเทศ ที่ผู้ใช้ต้องการ จากแหล่งจัดเก็บสารนิเทศ หรือจากฐานข้อมูล ส่งคืนให้กับผู้ใช้อย่างรวดเร็ว ด้วยวิธีการและเทคนิคอย่างเป็นขั้นตอน โดยอาศัยเทคโนโลยีสารนิเทศเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงสารนิเทศอย่างสะดวก รวดเร็ว และตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งการค้นคืนสารนิเทศจะมีกระบวนการทำงานมากกว่าการค้นหา คือการค้นคืนสารนิเทศ ต้องมีการสัมภาษณ์ การวิเคราะห์คำถาม รวมทั้งต้องมีเทคนิคการค้นคืนด้วย แต่ถ้าการค้นหาสารนิเทศ เป็นแค่การป้อนคำ ที่ต้องการค้นหาเข้าไปในระบบการสืบค้นเท่านั้น เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมา ดังนั้นถ้าจะให้ได้ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ควรผ่านกระบวนการ ค้นคืนสารนิเทศจะดีกว่า

 

การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ

(Information storage and retrieval)

คือ กระบวนการทั้งการคัดเลือกควบคุมโครงสร้างสารนิเทศ การจัดหา การจัดเก็บสารนิเทศ เพื่อการเข้าถึงและกระบวนการสำคัญใดๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารนิเทศ ซึ่งครอบคลุมการค้นหา การดึงสารนิเทศที่เข้าเรื่อง เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะจากแหล่งต่างๆ ทั้งแหล่งจัดเก็บภายในและแหล่งภายนอก เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารนิเทศหรือรายการทรัพยากรสารนิเทศ ซึ่งบรรจุเนื้อหาตรงตามต้องการ และในการบริการจะนำส่งให้ผู้ใช้อย่างรวดเร็วทันการณ์ ทั้งนี้การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศเป็นระบบที่จัดทำทั้งด้วยแรงงานคนและด้วยคอมพิวเตอร์” (มาลี ล้ำสกุล, 2545, หน้า 8)

 

นอกจากนี้ นิศาชล จำนงศรี

 

(2546, หน้า 1) ยังได้สรุปความหมายของ การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ ว่าคือ กระบวนการในการรวบรวมสารนิเทศและทำรายการให้กับสารนิเทศ ที่รวบรวมไว้ ทั้งนี้เพื่อให้ทราบที่อยู่ของสารนิเทศและสามารถแสดงผลการค้นออกมาตามรูปแบบที่ต้องการ หลักสำคัญ คือ การกำหนดตัวแทนของเอกสาร และโครงสร้างในการจัดกลุ่มของเอกสาร เพื่อใช้เป็นดรรชนีนำทางเข้าถึงเอกสาร ซึ่งการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้จะช่วยให้การเข้าถึงเอกสารในลักษณะ Full-text searching ทำได้ง่ายขึ้น โดยคอมพิวเตอร์จะจัดเก็บสารนิเทศตามโครงสร้างที่ออกแบบไว้

 

สรุปได้ว่า

 

การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศคือ กระบวนการในการรวบรวมรายละเอียดของสารนิเทศและทรัพยากรสารนิเทศ ที่จัดเก็บไว้ในแหล่งสารนิเทศ หรือฐานข้อมูล เพื่อให้สามารถค้นสารนิเทศและทรัพยากรสารนิเทศที่ต้องการกลับคืนมาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ด้วยวิธีการและเทคนิคอย่างเป็นขั้นตอน โดยอาศัยเทคโนโลยีสารนิเทศเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงสารนิเทศอย่างสะดวก รวดเร็ว และตรงกับความต้องการของผู้ใช้

 


อ้างอิง
http://202.183.233.73/human/member/prisana_mut/retrieval/a_ch2_storage2.pdf

guest profile guest

สารสนเทศ มีความสำคัญเกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตของมนุษย์ มนุษย์แสวงหาสารสนเทศ เพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น เพื่อการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อการปฏิบัติงานตาม ภารกิจของตน เพื่อติดตามข่าวสารและพัฒนาความรู้ และเพื่อความบันเทิง เป็นต้น ในการแสวง หาสารสนเทศที่ต้องการผู้แสวงหาหาสารสนเทศจากแหล่งต่างๆ เช่น แหล่งบุคคล แหล่งสถาบัน แหล่งสื่อต่างๆ ได้แก่ สื่อตีพิมพ์ สื่อไม่ตีพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิก อย่างไรก็ตามปัญหาที่ประสบ คือ สารสนเทศมีปริมาณมากมายมหาศาล และทวีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกวันอย่างรวดเร็ว ประกอบกับข้อจำกัดด้านเวลา ภาษาและสถานที่ ทำให้ไม่สามารถติดตามสารสนเทศที่สนใจได้หมด แหล่งที่จะอำนวยความสะดวกมากที่สุดที่ทำให้เข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการ คือ แหล่งสารสนเทศที่เป็นทางการและเป็นระบบซึ่งทำหน้าที่จัดรวบรวมสารสนเทศและ จัดเก็บอย่างเป็นระบบ และสามารถค้นคืนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ ระบบสารสนเทศ (Information system)

ปัจจุบัน หน่วยงานต่างๆ จัดให้มีระบบสารสนเทศเพื่อให้บริการสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของหน่วยงาน อันจะช่วยพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานของหน่วยงาน ดังนั้น ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ จึงเป็นหัวใจสำคัญของหน่วยงาน ระบบสารสนเทศทำหน้าที่เกี่ยวข้องโดย ตรงกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ประสิทธิภาพของระบบขึ้นอยู่กับการดำเนินงานจัดเก็บและค้นคืน

ระบบสารสนเทศบางครั้งเรียกว่า ระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (Information and Retrieval Sytem หรือใช้คำย่อว่า ISARS) หรือ ระบบค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval System หรือ IRS )

การค้นคืน (Retrieval) หมายถึง การได้รับสิ่งที่ต้องการกลับคืนมา การค้นคืนสารสนเทศ (Information retrieval) จึงเป็นการกระทำใด ๆ ที่คัดเลือกสารสนเทศจากแหล่งเก็บเพื่อทำให้ได้รับสารสนเทศตามที่ต้องการ ซึ่งอาจเป็นข้อมูล หรือ รายการเอกสารซึ่งบรรจุเนื้อหาที่ต้องการ การค้นคืนสารสนเทศมีความหมายเช่นเดียวกับการค้นวรรณกรรม (Literature searching) ซึ่ง หมายถึง กระบวนการค้นเอกสาร เพื่อให้ได้เอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หลักการสำคัญของการค้นคืนสารสนเทศ คือ การค้นหาและนำสารสนเทศที่ตรงตามความต้องการ ส่งให้แก่ผู้ใช้อย่างรวดเร็ว ทันการ ระบบใดก็ตามที่ได้รับการออกแบบเพื่ออำนวยความสะดวกในการค้นสิ่งพิมพ์ จึงเรียกว่า ระบบค้นคืนสารสนเทศ ตัวอย่างเช่น บัตรรายการ สิ่งพิมพ์ดรรชนี เป็นต้น

ความรู้ไม่สามารถถ่ายทอดจากบุคคลหนึ่งไปสู่อีกบุคคลหนึ่งโดยตรงเสมอไป จึงต้องมีแหล่งเก็บรวบรวมความรู้ คือ ระบบสารสนเทศ ซึ่งเป็นระบบที่ทำหน้าที่รวบรวม จัดเก็บ และนำสารสนเทศไปใช้ในองค์กร ระบบทำหน้าที่เป็นช่องทาง (Channel) ของสารสนเทศ ระบบประกอบด้วยคน ครุภัณฑ์ และกระบวนการ บ่อยครั้งที่คนมักคิดคงระบบสารสนเทศว่าประกอบด้วยระบบคอมพิวเตอร์และมีฐานข้อมูล (Databases) จัดเก็บสารสนเทศเท่านั้น โดยลืมนึกถึง คน ซึ่งทำหน้าที่รวบรวมสารสนเทศจากแหล่งต่าง ๆ และจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูล

ระบบสารสนเทศเป็นการสื่อสารในรูปแบบหนึ่ง ประกอบด้วยการส่งสาร จากแหล่งหนึ่งไปสู่แหล่งหนึ่ง ระหว่างการส่งสาร สารจะมีคุณภาพต่อผู้รับหรือไม่ ขึ้นอยู่กับว่ามีสิ่งรบกวน (Noise) มากน้อยเพียงไร ซึ่งเป็นอุปสรรคทำให้ระบบสารสนเทศ ไม่ตอบสนองความต้องการเท่าที่ควร


อ้างอิง http://www.acsp.ac.th/learnsquarev/courses/19/it003.htm
guest profile guest
ความหมาย
การ รู้สารสนเทศ (Information literacy) หมายถึง ความรู้ความสามารถและทักษะของบุคคลในการเข้าถึงสารสนเทศ ประเมินสารสนเทศที่ค้นมาได้ และใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพทุกรูปแบบ ผู้รู้สารสนเทศจะต้องมีทักษะในด้านต่างๆ เช่น ทักษะการคิดวิเคราะห์และ / หรือ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทักษะการใช้ภาษา ทักษะการใช้ห้องสมุด ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ เป็นต้น

ความสำคัญ
การรู้ สารสนเทศมีความสำคัญต่อความสำเร็จของบุคคลในด้านต่างๆ ดังนี้
1. การศึกษา การรู้สารสนเทศเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการศึกษาของบุคคลทุกระดับ ทั้งการศึกษาในระบบโรงเรียน การศึกษานอกระบบโรงเรียน การศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาในปัจจุบันตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มีการปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดังนั้นบทบาทของผู้สอนจึงเปลี่ยนเป็นผู้ให้คำแนะนำชี้แนะโดยอาศัยทรัพยากร เป็นพื้นฐานสำคัญ

2. การดำรงชีวิตประจำวัน การรู้สารสนเทศเป็นสิ่งสำคัญยิ่งในการดำรงชีวิตประจำวัน เพราะผู้รู้สารสนเทศจะเป็นผู้ที่สามารถวิเคราะห์ประเมินและใช้สารสนเทศให้ เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ตนเองเมื่อต้องการตัดสินใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ถ้าต้องการซื้อเครื่องปรับอากาศของบริษัทใดบริษัทหนึ่งก็ต้องพิจารณามาตรฐาน คุณภาพ บริการหลังการขาย และเปรียบเทียบราคา แล้วจึงค่อยตัดสินใจ เป็นต้น

3. การประกอบอาชีพ การรู้สารสนเทศมีความสำคัญต่อการประกอบอาชีพของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เพราะบุคคลนั้นสามารถแสวงหาสารสนเทศที่มีความจำเป็นต่อการประกอบอาชีพของตน เองได้ เช่น เกษตรกร เมื่อประสบปัญหาโรคระบาดกับพืชผลทางการเกษตรของตน ก็สามารถหาตัวยาหรือสารเคมีเพื่อมากำจัดโรคระบาด ดังกล่าวได้ เป็นต้น

4. สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง การรู้สารสนเทศเป็นสิ่งสำคัญโดยเฉพาะสังคมในยุคสารสนเทศ (Information Age) บุคคลจำเป็นต้องรู้สารสนเทศเพื่อปรับตนเองให้เข้ากับสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง เช่น การอยู่ร่วมกันในสังคม การบริหารจัดการ การดำเนินธุรกิจและการแข่งขัน การบริหารบ้านเมืองของผู้นำประเทศ เป็นต้น อาจกล่าวได้ว่าผู้รู้สารสนเทศ คือ ผู้ที่มีอำนาจสามารถาชี้วัดความสามารถขององค์กรหรือประเทศชาติได้ ดังนั้นประชากรที่เป็นผู้รู้สารสนเทศจึงถือว่าเป็นทรัพยากรที่มีค่ามากที่ สุดของประเทศ

องค์ประกอบของการรู้สารสนเทศ

การ รู้สารสนเทศเป็นทั้งความรู้ ความสามารถ ทักษะ และกระบวนการอันเป็นประโยชน์ในการพัฒนา การเรียนรู้ทุกรูปแบบ สมาคมห้องสมุดอเมริกัน (American Library Association. 2005 : Online) ได้กำหนดองค์ประกอบของการรู้สารสนเทศไว้ 4 ประการ คือ

1. ความสามารถในการตระหนักว่าเมื่อใดจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ ผู้เรียนจะต้องกำหนดเรื่องที่จะศึกษาค้นคว้า กำหนดความต้องการสารสนเทศ ระบุชนิดและรูปแบบที่หลากหลายของแหล่งสารสนเทศที่จะศึกษา เช่น ห้องสมุด ศูนย์สารสนเทศ พิพิธภัณฑ์ หอจดหมายเหตุ บุคคล สถานที่ อินเทอร์เนต เป้นต้น รวมทั้งตระหนักถึงค่าใช้จ่ายและประโยชน์ที่ได้รับ และทราบขอบเขตของสารสนเทศที่จำเป็น

2. การเข้าถึงสารสนเทศ ผู้เรียนสามารถเลือกวิธีการค้นคืนสารสนเทศที่เหมาะสม กำหนดกลยุทธ์การค้นคืนอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถค้นคืนสารสนเทศออนไลน์หรือสารสนเทศจากบุคคลโดยใช้วิธีการที่หลากหลาย สามารถปรับกลยุทธ์การค้นคืนที่เหมาะสมตามความจำเป็น รวมถึงการตัดตอน บันทึก และการจัดการสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศ

3. การประเมินสารสนเทศ ผู้เรียนสามารถสรุปแนวคิดสำคัญจากสารสนเทศที่รวบรวม โดยใช้เกณฑ์การประเมินสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศ ได้แก่ ความน่าเชื่อถือ ความเที่ยงตรง ความถูกต้อง และความทันสมัย สามารถสังเคราะห์แนวคิดหลักเพื่อสร้างแนวคิดใหม่ เปรียบเทียบความรู้ใหม่กับความรู้เดิมเพื่อพิจารณาว่าอะไรคือสิ่งที่เพิ่ม ขึ้น อะไรคือสิ่งที่ขัดแย้งกัน และอะไรคือสิ่งที่คล้อยตามกัน

4. ความสามารถในการใช้สารสนเทศที่ต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนสามารถใช้สารสนเทศใหม่ผนวกกับสารสนเทศที่มีอยู่ในการวางแผนและสร้าง ผลงาน หรือการกระทำตามหัวข้อที่กำหนดทบทวนกระบวนการ พัฒนาการผลิตผลงานของตนเอง และสามารถสื่อสารหรือเผยแพร่ผลงานของตนเองต่อบุคคลอื่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

นอกจากความสามารถดังกล่าวแล้ว ผู้เรียนควรมีคุณสมบัติในด้านอื่นๆ ประกอบอีก ได้แก่

1. การรู้ห้องสมุด (Library literacy) ผู้เรียนต้องรู้ว่า ห้องสมุดเป็นแหล่งรวบรวมสารสนเทศในสาขาวิชาต่างๆ ไว้ในรูปแบบที่หลากหลายทั้งในรูปสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเลกทรอนิกส์ รู้วิธีการจัดเก็บสื่อ รู้จักใช้เครื่องมือช่วยค้นต่างๆ รู้จักกลยุทธ์ในการค้นคืนสารสนเทศแต่ละประเภท รวมทั้งบริการต่างๆ ของห้องสมุด โดยเฉพาะห้องสมุดของสถาบันการศึกษาที่ผู้เรียนกำลังศึกษาอยู่จะต้องรู้จัก อย่างลึกซึ้งในประเด็นต่างๆ ดังกล่าวแล้ว การรู้ห้องสมุดครอบคลุมการรู้แหล่งสารสนเทศอื่นๆด้วย

2. การรู้คอมพิวเตอร์ (Computer Literacy) ผู้เรียนต้องรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เบื้องต้นในเรื่องของ ฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ การเชื่อมประสาน และการใช้ประโยชน์จากคอมพิวเตอร์ เช่น การพิมพ์เอกสาร การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การใช้อินเตอร์เนตในการติดต่อสื่อสาร รวมถึงการรู้ที่ตั้งของแหล่งสารสนเทศ เป็นต้น

3. การรู้เครือข่าย (Network Literacy) ผู้เรียนต้องรู้ขอบเขตและมีความสามารถในการใช้สารสนเทศทางเครือข่ายที่ เชื่อมโยงถึงกันทั่วโลก สามารถใช้กลยุทธ์การสืบค้นสารสนเทศจากเครือข่าย และการบูรณาการสารสนเทศจากเครือข่ายกับสารสนเทศจากแหล่งอื่นๆ

4. การรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เห็น (Visual Literacy) ผู้เรียนสามารถเข้าใจและแปลความหมายสิ่งทีเห็นได้รวมถึงความสามารถในการคิด วิเคราะห์ การเรียนรู้ การแสดงความคิดเห็น และสามารถใช้สิ่งที่เห็นนั้นในการทำงานและการดำรงชีวิตประจำวันของตนเองได้ เช่น สัญลักษณ์บุหรี่ และ มีเครื่องหมายกากบาททาบอยู่ด้านบนหมายถึง ห้ามสูบบุหรี่ สัญลักษณ์ผู้หญิงอยู่หน้าห้องน้ำ หมายถึง ห้องน้ำสำหรับสตรี เป็นต้น

5. การรู้สื่อ (Media Literacy) ผู้เรียนต้องสามารถเข้าถึง วิเคราะห์ และผลิตสารสนเทศจากสื่อต่างๆ เช่น โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุ ดนตรี หนังสือพิมพ์ นิตยสาร เป็นต้น รู้จักเลือกรับสารสนเทศจากสื่อที่แตกต่างกัน รู้ขอบเขตและการเผยแพร่สารสนเทศของสื่อ เข้าใจถึงอิทธิพลของสื่อ และ สามารถพิจารณาตัดสินได้ว่าสื่อนั้นๆ มีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงไร

6. การรู้สารสนเทศดิจิทัล (Digital Literacy) ผู้เรียนสามารถเข้าใจและใช้สารสนเทศรูปแบบซึ่งนำเสนอในรูปดิจิทัลผ่าน เครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างการรู้สารสนเทศดิจิทัล เช่น สามารถดาวน์โหลดไฟล์ข้อมูลจากแหล่งทรัพยากรสารสนเทศที่เข้าถึงในระยะไกลมา ใช้ได้ รู้ว่าคุณภาพสารสนเทศที่มาจากเว็บไซต์ต่างๆ แตกต่างกันรู้ว่าเว็บไซต์น่าเชื่อถือและเว็บไซต์ไม่น่าเชื่อถือ รู้จักโปรแกรมการค้นหา สามารถสืบค้นโดยใช้การสืบค้นขั้นสูง รู้เรื่องของกฎหมายลิขสิทธิ์ที่คุ้มครองทรัพยากรสารสนเทศบนเว็บไซต์ การอ้างอิงสารสนเทศจากเว็บไชต์ เป็นต้น

7. การมีความรู้ด้านภาษา (Language Literacy) ผู้เรียนมีความสามารถกำหนดคำสำคัญสำหรับการค้น ในขั้นตอนการค้นคืนสารสนเทศที่สำคัญอย่างยิ่งก็คือ การค้นสารสนเทศจาก
อินเตอร์ เนต และการนำเสนอสารสนเทศที่ค้นมาได้ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่จำเป็นมากที่สุด เนื่องจากเป็นภาษาสากล และสารสนเทศส่วนใหญ่เผยแพร่เป็นภาษาอังกฤษ

8. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตัดสินใจเลือกรับสารสนเทศที่นำเสนอไว้หลากหลาย โดยการพิจารณาทบทวนหาเหตุผล จากสิ่งที่เคยจดจำ คาดการณ์ โดยยังไม่เห็นคล้อยตามสารสนเทศที่นำเสนอเรื่องนั้นๆ แต่จะต้องพิจารณาใคร่ครวญไตร่ตรองด้วยความรอบคอบและมีเหตุผลว่าสิ่งใดสำคัญ มีสาระก่อนตัดสินใจเชื่อ จากนั้นจึงดำเนินการแก้ปัญหา

9. การมีจริยธรรมทางสารสนเทศ (Information Ethic) การสร้างผู้เรียนให้เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ มีความสำคัญและเป็นเป้าหมายหลักของการจัดการศึกษา เพื่อปลูกฝังผู้เรียนให้รู้จักใช้สารสนเทศโดยชอบธรรมบนพื้นฐานของจริยธรรม ทางสารสนเทศ เช่น การนำข้อความหรือแนวคิดของผู้อื่นมาใช้ในงานของตนจำเป็นต้องอ้างอิงเจ้าของ ผลงานเดิม การไม่นำข้อมูลที่ขัดต่อศีลธรรมและจรรยาบรรณของสังคมไปเผยแพร่ เป็นต้น
http://popofblog.blogspot.com/
guest profile guest

การค้นสารสนเทศโดยมีเป้าหมายเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ตรงกับความต้องการนั้น ต้องอาศัยกระบวนการสำคัญอย่างหนึ่งช่วยดึงสารสนเทศเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับความต้องการ

ของผู้ใช้ออกมาจากที่จัดเก็บกระบวนการดังกล่าว คือ การค้นคืนสารสนเทศ

(Information retrieval) หมายถึง กระบวนการในการค้นสารสนเทศโดยมีเป้าหมายเพื่อชี้หรือระบุสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะกระบวนการค้นสารสนเทศจะดำเนิน

ไปได้จนบรรลุเป้าหมายนั้น ต้องอาศัยทรัพยากรสารสนเทศที่ได้รวบรวม จัดเก็บและ

จัดทำเครื่องมือช่วยค้นอย่างเป็นระบบเอื้อต่อการค้น ต้องมีผู้ใช้ซึ่งมีความต้องการสารสนเทศ และทำการค้นสารสนเทศตามที่ต้องการในขณะที่ผู้ใช้ค้นสารสนเทศนั้นกระบวนการค้นคืนสารสนเทศจะจับคู่ระหว่างความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้กับทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศส่วนหนึ่งที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้จะถูกจำแนกออกจากทรัพยากรทั้งหมดเป็นสารสนเทศที่ค้นคืนได้ (retrieved information)

guest profile guest

การค้นสารสนเทศโดยมีเป้าหมายเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ตรงกับความต้องการนั้น ต้องอาศัยกระบวนการสำคัญอย่างหนึ่งช่วยดึงสารสนเทศเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับความต้องการ

ของผู้ใช้ออกมาจากที่จัดเก็บกระบวนการดังกล่าว คือ การค้นคืนสารสนเทศ

(Information retrieval) หมายถึง กระบวนการในการค้นสารสนเทศโดยมีเป้าหมายเพื่อชี้หรือระบุสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะกระบวนการค้นสารสนเทศจะดำเนิน

ไปได้จนบรรลุเป้าหมายนั้น ต้องอาศัยทรัพยากรสารสนเทศที่ได้รวบรวม จัดเก็บและ

จัดทำเครื่องมือช่วยค้นอย่างเป็นระบบเอื้อต่อการค้น ต้องมีผู้ใช้ซึ่งมีความต้องการสารสนเทศ และทำการค้นสารสนเทศตามที่ต้องการในขณะที่ผู้ใช้ค้นสารสนเทศนั้นกระบวนการค้นคืนสารสนเทศจะจับคู่ระหว่างความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้กับทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศส่วนหนึ่งที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้จะถูกจำแนกออกจากทรัพยากรทั้งหมดเป็นสารสนเทศที่ค้นคืนได้ (retrieved information)

guest profile guest

ระบบสารสนเทศ (Information system)

สารสนเทศ (Information) มีความสำคัญเกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตของมนุษย์ มนุษย์แสวงหาสารสนเทศ เพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น เพื่อการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อการปฏิบัติงานตาม ภารกิจของตน เพื่อติดตามข่าวสารและพัฒนาความรู้ และเพื่อความบันเทิง เป็นต้น ในการแสวง หาสารสนเทศที่ต้องการผู้แสวงหาหาสารสนเทศจากแหล่งต่างๆ เช่น แหล่งบุคคล แหล่งสถาบัน แหล่งสื่อต่างๆ ได้แก่ สื่อตีพิมพ์ สื่อไม่ตีพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิก อย่างไรก็ตามปัญหาที่ประสบ คือ สารสนเทศมีปริมาณมากมายมหาศาล และทวีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกวันอย่างรวดเร็ว ประกอบกับข้อจำกัดด้านเวลา ภาษาและสถานที่ ทำให้ไม่สามารถติดตามสารสนเทศที่สนใจได้หมด แหล่งที่จะอำนวยความสะดวกมากที่สุดที่ทำให้เข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการ คือ แหล่งสารสนเทศที่เป็นทางการและเป็นระบบซึ่งทำหน้าที่จัดรวบรวมสารสนเทศและ จัดเก็บอย่างเป็นระบบ และสามารถค้นคืนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ ระบบสารสนเทศ (Information system)

    การคิดนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในองค์กรเพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพของหน่วยงานต่างๆ นั้น เริ่มเกิดมีมาตั้งแต่เมื่อมอชลีย์และเอคเกิรตสร้างคอมพิวเตอร์เอริแอคสำเร็จ แล้ว โดยบุคคลทั้งสองได้ลงทุนเปิดบริษัทจัดสร้างคอมพิวเตอร์สำหรับขายในเชิง ธุรกิจ แต่โดยที่ทั้งสองปนะสบปัญหาทางด้านการเงินจึงต้องขายกิจการให้บริษัทเรมิ งตัน เรนด์ และจัดสร้างคอมพิวเตอร์ UNIVAC I เป็น คอมพิวเตอร์เครื่องแรกสำหรับใช้ในงานเชิงธุรกิจ หลังจากนั้นบริษัทอื่นๆ เช่นไอบีเอ็ม จึงเริ่มสนใจผลิตคอมพิวเตอร์ออกขายบ้าง ทำให้เกิดการประยุกต์คอมพิวเตอร์ที่เรียกรวมๆ ว่า การประมวลผลข้อมูล (Data Processing หรือ Electronic Data processing เรียกย่อๆ ว่า DP หรือ EDP)

    การประมวลผลข้อมูลนั้นกล่าวโดยย่อก็คือ การนำข้อมูลต่างๆ มาดำเนินการให้เกิดเป็นเอกสารและรายงานต่างๆ ตามรูปแบบที่ผู้ใช้ต้องการนั่นเอง ยกตัวอย่างเช่น ในทางด้านการสำมะโนประชากร ซึ่งเป็นงานประยุกต์อย่างแรกทางด้านการประมวลผลข้อมูลนั้น การใช้คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยการนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจมาแจงนับแยกเป็น กลุ่มๆ แล้วจัดทำเป็นรายงานต่างๆ ตามความต้องการของสำนักงานสำมะโนประชากร หรือในบริษัทอุตสาหกรรม การประมวลผลข้อมูลประกอบด้วยการนำข้อมูลการสั่งสินค้าของลุกค้ามาจัดทำใบส่ง ของ ใบเรียกเก็บเงิน ลงรายการบัญชี จัดทำบัญชี เป็นต้น

    ปัจจุบัน หน่วยงานต่างๆ จัดให้มีระบบสารสนเทศเพื่อให้บริการสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของหน่วย งาน อันจะช่วยพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานของหน่วยงาน ดังนั้น ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ จึงเป็นหัวใจสำคัญของหน่วยงาน ระบบสารสนเทศทำหน้าที่เกี่ยวข้องโดย ตรงกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ประสิทธิภาพของระบบขึ้นอยู่กับการดำเนินงานจัดเก็บและค้นคืน

    info-sys.gifระบบ สารสนเทศบางครั้งเรียกว่า ระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (Information and Retrieval Sytem หรือใช้คำย่อว่า ISARS) หรือ ระบบค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval System หรือ IRS )

    การค้นคืน (Retrieval)  หมายถึง การได้รับสิ่งที่ต้องการกลับคืนมา การค้นคืนสารสนเทศ (Information retrieval) จึงเป็นการกระทำใด ๆ ที่คัดเลือกสารสนเทศจากแหล่งเก็บเพื่อทำให้ได้รับสารสนเทศตามที่ต้องการ ซึ่งอาจเป็นข้อมูล หรือ รายการเอกสารซึ่งบรรจุเนื้อหาที่ต้องการ การค้นคืนสารสนเทศมีความหมายเช่นเดียวกับการค้นวรรณกรรม (Literature searching) ซึ่งหมายถึง กระบวนการค้นเอกสาร เพื่อให้ได้เอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หลักการสำคัญของการค้นคืนสารสนเทศ คือ การค้นหาและนำสารสนเทศที่ตรงตามความต้องการ ส่งให้แก่ผู้ใช้อย่างรวดเร็ว ทันการ ระบบใดก็ตามที่ได้รับการออกแบบเพื่ออำนวยความสะดวกในการค้นสิ่งพิมพ์ จึงเรียกว่า ระบบค้นคืนสารสนเทศ ตัวอย่างเช่น บัตรรายการ สิ่งพิมพ์ดรรชนี เป็นต้น

    ความรู้ไม่สามารถถ่ายทอดจากบุคคลหนึ่งไปสู่อีกบุคคลหนึ่งโดยตรงเสมอไป จึงต้องมีแหล่งเก็บรวบรวมความรู้ คือ ระบบสารสนเทศ ซึ่งเป็นระบบที่ทำหน้าที่รวบรวม จัดเก็บ และนำสารสนเทศไปใช้ในองค์กร ระบบทำหน้าที่เป็นช่องทาง (Channel) ของสารสนเทศ ระบบประกอบด้วยคน ครุภัณฑ์ และกระบวนการ

    บ่อยครั้งที่คนมักคิดคงระบบสารสนเทศว่าประกอบด้วยระบบคอมพิวเตอร์และมี ฐานข้อมูล (Databases) จัดเก็บสารสนเทศเท่านั้น โดยลืมนึกถึง คน ซึ่งทำหน้าที่รวบรวมสารสนเทศจากแหล่งต่างๆ และจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูล

    ระบบสารสนเทศเป็นการสื่อสารในรูปแบบหนึ่ง ประกอบด้วยการส่งสาร จากแหล่งหนึ่งไปสู่แหล่งหนึ่ง ระหว่างการส่งสาร สารจะมีคุณภาพต่อผู้รับหรือไม่ ขึ้นอยู่กับว่ามีสิ่งรบกวน (Noise) มากน้อยเพียงไร ซึ่งเป็นอุปสรรคทำให้ระบบสารสนเทศ ไม่ตอบสนองความต้องการเท่าที่ควร
แหล่งข้อมูลอ้างอิง

http://www.stks.or.th/wiki/doku.php?id=computer:information-tech

http://th.wikipedia.org/

guest profile guest

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการค้นคืนสารสนเทศ

การค้นสารสนเทศโดยมีเป้าหมายเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ตรงกับความต้องการนั้น  ต้องอาศัยกระบวนการสำคัญอย่างหนึ่งช่วยดึงสารสนเทศเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้ออกมาจากที่จัดเก็บกระบวนการดังกล่าว คือ การค้นคืนสารสนเทศ (Information retrieval) หมายถึง กระบวนการในการค้นสารสนเทศโดยมีเป้าหมายเพื่อชี้หรือระบุสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะกระบวนการค้นสารสนเทศจะดำเนินไปได้จนบรรลุเป้าหมายนั้น ต้องอาศัยทรัพยากรสารสนเทศที่ได้รวบรวม จัดเก็บและจัดทำเครื่องมือช่วยค้นอย่างเป็นระบบเอื้อต่อการค้น ต้องมีผู้ใช้ซึ่งมีความต้องการ สารสนเทศ และทำการค้นสารสนเทศตามที่ต้องการในขณะที่ผู้ใช้ค้นสารสนเทศนั้นกระบวนการค้นคืนสารสนเทศจะจับคู่ระหว่างความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้กับทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศส่วนหนึ่งที่ตรงกับความต้องการ ของผู้ใช้จะถูกจำแนกออกจากทรัพยากรทั้งหมด เป็นสารสนเทศที่ค้นคืนได้ (retrieved information)

ความสำคัญของการค้นคืนสารสนเทศ

       ในยุคที่สารสนเทศมีจำนวนมาก มีความหลากหลายทั้งด้านรูปแบบและเนื้อหา เนื่องมาจากการศึกษาและวิทยาการต่าง ๆ ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว และสารสนเทศเหล่านี้อยู่กระจัดกระจายตามองค์กรและสถาบันต่าง ๆ ทั่วทุกมุมโลก การค้นคืนสารสนเทศจึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการเข้าถึงและได้สารสนเทศที่ต้องการ การค้นคืนสารเทศ ช่วยให้มนุษย์ได้รับสารสนเทศที่ต้องการ อย่างถูกต้อง ครอบคลุม สะดวกและรวดเร็ว การได้รับสารสนเทศที่ถูกต้อง   ครอบคลุมและทันเวลาย่อมส่งผลต่อความสำเร็จในกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาค้นคว้า วิจัย ปฏิบัติงาน วางแผน หรือตัดสินใจ

การค้นคืนและการค้น(หา)

  • การค้นคืน
  • การค้น การค้นหา

การค้นคืน วิธีการค้นหาแบ่งออกเป็น 

browsing หรือ การสำรวจเลือกดูsearching หรือ analytical search หรือ การค้นด้วยคำหรือลักษณะของสารสนเทศ เช่น สี  ขนาด

จุดประสงค์หลัก คือ ให้ค้นคืนสารสนเทศที่ “เข้าเรื่อง” (relevance) หรือ “ตรงกับความต้องการ” (pertinence)

ความซับซ้อนของการจัดเก็บและการค้นคืน สารสนเทศ

  • สารสนเทศปริมาณมาก
  • สารสนเทศต่างรูปลักษณ์หรือรูปแบบ
  • สารสนเทศต่างประเภท เช่น เสียง ภาพลักษณ์ ภาพกราฟิก และข้อความ

ตัวแบบการค้น

1. ตัวแบบการค้น เป็น หลักการหรือแนวคิดในการพิจารณาการจับคู่หรือเปรียบเทียบ ระหว่างข้อคำถาม และดรรชนีแทนสารสนเทศที่สะสมไว้ ให้สามารถค้นคืนสารสนเทศที่เข้าเรื่องหรือตรงกับความต้องการ

2.  ตัวแบบบูเลียน (Boolean model) เป็นการจับคู่แบบตรงกันระหว่างศัพท์ดรรชนีและคำค้น

ตัวแบบการค้น (2)

1.  ตัวแบบเวกเตอร์

2.  แทนเอกสารและข้อคำถามในรูปเวกเตอร์ (คณิตศาสตร์) โดยกำหนดค่าน้ำหนักของคำ ด้วยความถี่ของคำที่ปรากฎในเอกสาร และคำที่ปรากฎในฐานข้อมูล (มวลเอกสาร)

ตัวแบบการค้น (3)

1.  ตัวแบบความน่าจะเป็น

2.  จัดลำดับเอกสารในมวลทรัพยากรสารสนเทศตามความน่าจะเป็นด้านความเข้าเรื่องของแต่ละเอกสารกับข้อคำถาม โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย

เทคโนโลยีที่สนับสนุน

ปัญญาประดิษฐ์

-     ระบบผู้เชี่ยวชาญ

-     โปรแกรมตัวแทนอัจฉริยะ

การประมวลผลภาษาธรรมชาติ

-      การใช้ภาษาธรรมชาติสำหรับข้อคำถาม ได้แก่ Ask

-        การค้นคืนสารสนเทศหลายภาษา หรือ การค้นคืนสารสนเทศข้ามภาษา
ทีมา:  www.isc.ob.tc/1%20ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการค้นคืนสารสนเทศ.ppt
www.seashore.buu.ac.th/~50124473/245271/.../google-week01.ppt

guest profile guest

ความหมาย
การ รู้สารสนเทศ (Information literacy) หมายถึง ความรู้ความสามารถและทักษะของบุคคลในการเข้าถึงสารสนเทศ ประเมินสารสนเทศที่ค้นมาได้ และใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพทุกรูปแบบ ผู้รู้สารสนเทศจะต้องมีทักษะในด้านต่างๆ เช่น ทักษะการคิดวิเคราะห์และ / หรือ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทักษะการใช้ภาษา ทักษะการใช้ห้องสมุด ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ เป็นต้น


การค้นคืนและการค้นหา

  • การค้นคืน
  • การค้น การค้นหา 
  • ระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
  • ระบบจัดเก็บและค้นหาสารสนเทศ ใช้น้อย (จากวรรณกรรม)
  • การค้นคืน วิธีการค้นหาแบ่งออกเป็น  

ความซับซ้อนของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ

  • จุดประสงค์หลัก คือ ให้ค้นคืนสารสนเทศที่
  • สารสนเทศปริมาณมาก
  • สารสนเทศในรูปแอนะล็อก และ ดิจิทัล
  • สารสนเทศต่างรูปลักษณ์หรือรูปแบบ
  • สารสนเทศต่างประเภท เช่น เสียง ภาพลักษณ์ ภาพกราฟิก และข้อความ

ทีมา:

http://seashore.buu.ac.th/~50124473/245271/week01/google-week01.ppt

 

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน

13 ปีที่ผ่านมา
13 ปีที่ผ่านมา