องค์ประกอบของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ

cl_km profile image cl_km
องค์ประกอบของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ
ความคิดเห็น
guest profile guest

การจัดเก็บและการค้นคืน

การจัดเก็บเพื่อประโยชน์ของการใช้และการเข้าถึงสารสนเทศ

   การจัดเก็บ มุ่งจัดโครงสร้างในทางกายภาพ เช่น รหัสหมวดหมู่  ดรรชนีเชื่อมโยงไปยังที่จัดเก็บสารสนเทศ (แฟ้มข้อมูล) เนื้อหา เช่น ศัพท์ดรรชนี (คำแทนสาระ)  สาระสังเขป  โครงร่างเนื้อหา (สารบัญ) เป็นต้น

-การค้นคืน (retrieval)  เป็น การค้นเพื่อให้ได้ผลการค้นตามต้องการ  มุ่งเน้นที่ผลการค้นเป็นสำคัญ

-การค้น การค้นหา (searching) เป็นกระบวนการค้น เช่น การค้นจากหนังสือ การค้นจากฐานข้อมูลโดยใช้ชื่อผู้แต่ง

ระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ  (Information Storage and Retrieval System – ISAR system) ระบบค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval System – IR system)

ระบบจัดเก็บและค้นหาสารสนเทศ ใช้น้อย (จากวรรณกรรม)

การค้นคืน วิธีการค้นหาแบ่งออกเป็น

browsing หรือ การสำรวจเลือกดู

searching หรือ analytical search หรือ การค้นด้วยคำหรือลักษณะของสารสนเทศ เช่น สี  ขนาด

จุดประสงค์หลัก คือ ให้ค้นคืนสารสนเทศที่ เข้าเรื่อง (relevance) หรือ ตรงกับความต้องการ (pertinence)

การค้นคืน    ( retrieve ) หมายถึงการได้รับสิ่งที่ต้องการกลับคืนมา การค้นคืนสารสนเทศ (information retrieval)  จึงเป็นการการกระทำใดๆ ที่ให้ได้รับสารนิเทศที่ต้องการ ซึ่งอาจเป็นข้อมูลหรือรายการเอกสารซึ่งบรรจุเนื้อหาที่ต้องการ และส่งให้กับผู้รับอย่างรวดเร็ว

ระบบค้นคืนสารสนเทศ หมายถึง ระบบที่ได้รับการออกแบบเพื่อวัตถุประสงค์ในการค้นคืนสารสนเทศที่จัดเก็บอยู่ในระบบนั้น ซึ่งอาจค้นโดยแรงงานคน หรือคอมพิวเตอร์ก็ได้

หน้าที่ของระบบการค้นคืนสารสนเทศ เพื่อช่วยแก้ปัญหาการติดตามสารนิเทศใหม่ๆ ซึ่งมีปริมาณเพิ่มขึ้น ระบบสารสนเทศจะช่วยค้น คัดเลือก และกล่นกรองสารนิเทศที่เกี่ยวของ เพื่อการใช้ประโยชน์ต่อไป  ในทัศนของ Lancaster ระบบสารสนเทศมีหน้าที่จัดหา จัดระเบียบและควบคุมเพื่อให้มีการเข้าถึงสารนิเทศ

สรุปก็คือคือ ระบบการค้นคืนสารนิเทคือ  ระบบสารนิเทศที่ทำหน้าที่นำเสนอและแจกจ่ายสารนิเทศแก่ผู้ที่ต้องการ ซึ่งระบบสารนิเทศประกอบด้วยระบบการดำเนินงานย่อยๆ 5 ระบบ คือ                                                  

    1. การคัดเลือก  เป็นการการรวบรวมสารนิเทศตามเกณฑ์และนโยบายที่กำหนดไว้ ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้                                                                                           
2.
การวิเคราะห์เอกสาร  ได้แก่การจัดหมวดหมู่ การจัดทำรายการ  การทำดรรชนี และการทำสารสังเขป
    
3.
การจัดระเบียบ ในระบบสารนิเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล จะมีการจัดระเบียบแฟ้มข้อมูล โดยทั่วไปจะเรียงลำดับเลขทะเบียน
    
4.
การค้นคืน เป็นกระบวนการสำคัญในการประเมินศักยภาพของระบบสารนิเทศ เป็นจุดเริ่มต้นของการค้นคืน online  เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ คือ ขั้นตอนการวิเคราะห์แนวคิด  และขั้นตอนการกำหนดศัพท์ หลังจากนั้นก็นำคำศัพท์ไปดำเนินการค้น ถ้าคำศัพท์ตรงกับดรรชนีคำค้นของเอกสารนั้น จะได้รับเอกสารจำนวนหนึ่ง หรือผู้ค้นจะทำการปรับปรุงเอกสารให้เป็นที่พอใจของผู้ใช้บริการ
    
5.
การแจกจ่าย เป็นการนำส่งผลการค้นคืนให้แก่ผู้ใช้ ที่มีความต้องการเอกสารเอกสารในเรื่องนั้นๆ โดยทั่วไปคือ รายการอ้างอิงทางบรรณานุกรม โดยการสืบค้นสารสนเทศจะสิ้นสุดเมื่อผู้สืบค้นสารสนเทศได้รับเอกสารเหล่านั้นเรียบร้อยแล้ว องค์ประกอบเหล่านี้เป็นเป็นกิจกรรมทางสติปัญญาซึ่งดำเนินการโดยคน มิใช่เครื่องจักร หรือเรียบอีกนัยหนึ่งว่า ประสิทธิภาพของระบบค้นคืนสารนิเทศ จึงขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ สามารถจำแนกได้ 2 กลุ่มก็คือ
    - 
องค์ประกอบด้านฐานข้อมูล คือเอกสารที่จัดเก็บความละเอียดของดรรชนี  ความเพียงพอของคำศัพท์ ในระบบที่ใช้แทนเนื้อหาของเอกสาร
    - 
องค์ประกอบด้านการใช้ระบบ คือ ความเข้าใจของนักเอกสารสนเทศ ในเรื่องความต้องการของผู้ใช้

รูแบบของระบบค้นคืนสารนิเทศ

ระบบค้นคืนสารนิเทศสามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ

    1. ระบบค้นคืนที่ให้คำถาม คำตอบ เป็นการบริการค้นคำตอบสำหรับคำถามที่ต้องการคำตอบ ที่เป็นข้อเท็จจริง

    2. ระบบค้นคืนที่ให้ข้อมูลเป็นตัวเลข คือ สัญญาลักษณ์  เป็นระบบจัดเก็บข้อมูลทางฟิสิกส์ เคมี สำะโนประชากร เป็นต้น

    3. ระบบค้นคืนข้อความจากวารสาร เป็นระบบที่จัดเก็บตัวเนื้อหาเอกสารและสามารถเรียกข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งของเอกสารได้ เช่น ฐานข้อมูลทางกฎหมาย เป็นต้น

บริการค้นคืนระบบโอแพ็ก

ระบบโอแพ็ก คือ ระบบการค้นหารายการทรัพยากรสารนิเทศด้วยระบบคอมพิวเตอร์ออนไลน์  จะใช้เครื่องปลายทางเป็นเครื่องมือค้นหารายการสารนิเทศที่ต้องการ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จ หรือโปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลในระยะบบห้องสมุดอัตโนมัติ

ปัจจุบันระบบโอแพ็กได้ใช้ในโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลใน 3 รูปแบบคือ

    1. โปรแกรมสำเร็จที่มีหน่วยงาน องค์กรบริบัษต่างๆที่พัฒนาขึ้นมาใช้แล้วเช่นโปรแกรม ซีดีเอส/ไอซีส ดีเบส ฟอกซ์เบส และบี อาร์เอส

    2. เขียนโปรแกรมเฉพาะแห่งโดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาภาษี

    3. โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ หรือโปรแกรมสำเร็จพร้อมใช้งานในระบบบูรณาการ หรือเรียกทั่วไปว่าระบบเทิร์นคีย์ เช่น URICA  VTLS  TINLIB เป็นต้น

ผู้ใช้สามารถใช้ระบบเป็นจุดเริ่มต้นของการค้นหาสารนิเทศ ในสถาบันบริการแห่งหนึ่ง เช่นเดียวกับการใช้บัตรรายการ  โดยทั่วไปผู้ใช้สามารถเลือกค้นได้จากคำหรือวิธีต่างๆดังต่อไปนี้

    - ค้นคืนโดยใช้ชื่อผู้แต่ง       -  ค้นคืนโดยใช้คำสำคัญ

    - ค้นคืนโดยใช้ชื่อเรื่อง         -  ค้นคืนโดยใช้วลี

    - ค้นคืนโดยใช้หัวเรื่อง         -  ค้นคืนโดยใช้คำในดรรชนี

    - ค้นคืนโดยใช้เลขหมู่           -  ค้นคืนโดยใช้การตัดคำ

    - ค้นคืนโดยการจำกัดคำค้นในเขตข้อมูลที่ต้องการ

    - ค้นคืนโดยวิธีไล่ดูรายการตามลำดับระเบียน

ประโยชน์ของการค้นคืนสารสนเทศ
1. สามารถใช้ประโยชน์จากความรู้โดยนำมาพัฒนาเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่

2. ทำให้การวิจัยมีประสิทธิภาพ

3. มีฐานความรู้ที่กว้างขวางสำหรับเลือกนำมาใช้

แก้ปัญหา

4. ส่งเสริมวัฒนธรรมอันดีงามของมนุษย์
5. ทำให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการผลิตรวมทั้งบริการในภาครัฐและเอกชน

6. ช่วยให้การตัดสินใจมีคุณภาพยิ่งขึ้นในทุกกิจกรรม

และทุกระดับปฏิบัติการ

อ้างอิง

http://lisru.com/Information%20Retrieval/Introduction.html

www.isc.ob.tc

seashore.buu.ac.th/~50124473/245271/.../google-week01.ppt

http://webcache.googleusercontent.com

guest profile guest

องค์ประกอบของการจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ

การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศเป็นการเชื่อมโยงระหว่างทรัพยากรสารนิเทศกับผู้ใช้ซึ่งมีความต้องการสารนิเทศ โดยการรวบรวมสารนิเทศเก็บไว้ในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ สมพร พุทธาพิทักษ์ผล  กล่าวว่า การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศประกอบด้วยทรัพยากรสารนิเทศ ฐานข้อมูล และบุคลากร ดังรายละเอียดต่อไปนี้

1. ทรัพยากรสารนิเทศ

ทรัพยากรสารนิเทศมีอยู่หลายประเภท ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ได้แก่

1.1 แบ่งออกตามแหล่งสารนิเทศ คือ แหล่งปฐมภูมิ แหล่งทุติยภูมิ และ แหล่งตติยภูมิ

แหล่งปฐมภูมิ เป็นสารนิเทศจากต้นแหล่งโดยตรง เช่น การสัมภาษณ์หรือตอบแบบสอบถาม ผลการศึกษา ค้นคว้า วิจัย การค้นพบทฤษฎีใหม่ และการวิเคราะห์วิพากษ์ทฤษฎีต่างๆ เป็นต้น  

แหล่งทุติยภูมิ เป็นการรวบรวมข้อมูลและสารนิเทศจากแหล่งปฐมภูมิ โดยอาจเรียบเรียง จัดหมวดหมู่ให้เป็นระเบียบ สรุปให้เข้าใจง่าย หรือนำมาจัดทำเป็นดรรชนี เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการสืบค้นต่อไป แหล่งทุติยภูมิที่สำคัญ ได้แก่ วารสารที่มีการสรุปย่อและตีความพัฒนาการหรือทฤษฎีใหม่ๆ ให้เข้าใจง่ายขึ้น ดรรชนีและสาระสังเขป หนังสือตำรา รายงานสถานภาพวิทยาการปัจจุบัน และจดหมายข่าว เป็นต้น  

แหล่งตติยภูมิ เป็นการรวบรวมสารนิเทศที่ช่วยค้นหาแหล่งข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ บางครั้งอาจพบว่าแหล่งตติยภูมินั้นถูกจัดรวมไว้กับแหล่งทุติยภูมิ เพราะสิ่งพิมพ์ประเภทนี้มีจำนวนน้อยกว่าแหล่งสารนิเทศสองประการแรกมาก แต่ในที่นี้จะกล่าว แยกไว้เพื่อให้เห็นความแตกต่างให้ชัดเจนขึ้น แหล่งสารนิเทศตติยภูมินี้ไม่มีสารนิเทศเกี่ยวกับความรู้เฉพาะสาขาวิชาต่างๆ แต่จะช่วยในการค้นคว้าข้อมูล เพื่อใช้ในการหาข้อมูลสารนิเทศเฉพาะสาขาวิชาอีกทีหนึ่ง สิ่งพิมพ์ประเภทนี้ประกอบด้วย นามานุกรม บรรณานุกรม บรรณนิทัศน์ และหนังสือแนะนำวรรณกรรมเฉพาะสาขาวิชา เป็นต้น    

1.2 แบ่งออกตามรูปลักษณ์ของสื่อที่ใช้ในการจัดเก็บ ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

สื่อสิ่งพิมพ์ คือ สิ่งที่พิมพ์ขึ้นเป็นเล่มหรือ เป็นแผ่นโดยใช้ ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ รหัส ในการสื่อความหมายสิ่งพิมพ์ หรือสิ่งตีพิมพ์ ซึ่งได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร และกฤตภาค เป็นต้น  

สื่อโสตทัศน์ คือ สื่อที่ใช้บันทึกข้อมูล เรื่องราวต่างๆ ในวัสดุประเภทต่างๆ ได้แก่ เทปบันทึกเสียง วีดิทัศน์ แผ่นใส และรูปภาพ เป็นต้น  

สื่ออิเล็กทรอนิกส์ คือ ทรัพยากรสารนิเทศที่มีการผสมผสานเทคโนโลยีด้านการจัดเก็บและค้นคืนสารนิเทศเข้าไว้ด้วยกันในสื่อบันทึกชนิดใหม่ มีรูปแบบเป็นดิสก์เก็ต (diskette) หรือเป็นออปติคัลดิสก์ (optical disk) หรือเป็นแถบแม่เหล็ก (magnetic tape) ได้แก่ ซีดี และดีวีดี เป็นต้น  

ซึ่งในการจัดเก็บทรัพยากรสารนิเทศอย่างเป็นระบบสามารถจัดทำได้หลายวิธีด้วยกัน ได้แก่  

1) การจัดเก็บทรัพยากรสารนิเทศตามเนื้อหา หมายถึง การนำสารนิเทศที่มีอยู่มาแยกประเภทตามสาขาวิชาอย่างกว้างๆ โดยนำสารนิเทศที่มีเนื้อหาเดียวกันจัดเก็บไว้ด้วยกัน ซึ่งมักจะแยกตามระบบการจัดหมวดหมู่ต่างๆ ที่มีผู้คิดค้นขึ้น ทรัพยากรสารนิเทศที่จัดเก็บตามระบบนี้มักได้แก่ หนังสือ และตำราทั่วๆ ไป นอกจากนี้การจัดเก็บสารนิเทศตามเนื้อหา อาจแบ่งเนื้อหาออกเป็นกลุ่มสาขาวิชาใหญ่ๆ ได้แก่ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เป็นต้น  

2) การจัดเก็บทรัพยากรสารนิเทศตามรูปลักษณ์ สามารถแยกประเภททรัพยากรสารนิเทศโดยดูที่รูปลักษณ์หรือวัสดุที่ใช้บันทึกข้อมูล ซึ่งแบ่งออกได้เป็น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

3) การจัดเก็บทรัพยากรสารนิเทศตามหมายเลข คือ การจำแนก และเรียงสารนิเทศโดยใช้หมายเลขเป็นหลักแทนอักษรหรือสัญลักษณ์อื่นๆ นอกจากจะเรียงลำดับสารนิเทศตามหมายเลขแล้วจะต้องจัดทำดรรชนีเรียงตามลำดับอักษรเพื่อค้นหาหมายเลขที่ให้  

4) การจัดเก็บทรัพยากรสารนิเทศตามพื้นที่ภูมิศาสตร์ คือ การจำแนกและเรียงเอกสารโดยยึดอาณาเขตหรือพื้นที่ภูมิศาสตร์เป็นหลัก โดยนิยมกำหนดอักษรหรือรหัสหมายเลขประกอบ อาจเป็นระดับโลก ทวีป ประเทศ ภาค และจังหวัด เป็นต้น ในการกำหนดระบบจัดเก็บสารนิเทศขั้นต้น จึงควรกำหนดขอบเขตตามพื้นที่ภูมิศาสตร์ขั้นต่อไปจึงเรียงตามอักษรชื่อ

ภูมิศาสตร์ หรือถ้ากำหนดรหัสหมายเลข ก็เรียงตามตัวเลข เช่น รหัสไปรษณีย์ และเลขหมายโทรศัพท์ เป็นต้น

5) การจัดเก็บทรัพยากรสารนิเทศตามลำดับอักษร คือ การใช้ชื่อบุคคลหน่วยงาน หัวเรื่องและสถานที่ทางภูมิศาสตร์ เรียงตามลำดับอักษร การจัดเก็บสารนิเทศตามลำดับอักษร เป็นวิธีการเรียงลำดับสารนิเทศโดยใช้อักษรคือตัวหนังสือเป็นหลัก เป็นระบบ การจัดเก็บสารนิเทศที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุด และเป็นวิธีการพื้นฐานที่นำไปใช้ร่วมกับการจัดเก็บสารนิเทศระบบอื่นๆ เช่น การจัดเก็บสารนิเทศตามพื้นที่ภูมิศาสตร์ ในการจัดเก็บสารนิเทศของหน่วยงาน สำนักงาน หรือสถาบันบริการสารนิเทศ ส่วนใหญ่จัดเก็บสารนิเทศตามลำดับอักษร เป็นพื้นฐาน โดยเฉพาะชื่อบุคคล ชื่อหน่วยงาน ชื่อสถาบัน เช่น การจัดเก็บรายละเอียดทางบรรณานุกรมจะเรียงลำดับตามอักษรชื่อผู้แต่ง และชื่อเรื่อง เป็นต้น  

2. ฐานข้อมูล ในการจัดเก็บทรัพยากรสารนิเทศดังกล่าว จะมีการรวบรวมรายละเอียดหรือรายการของทรัพยากรสารนิเทศเก็บไว้ในฐานข้อมูลในคอมพิวเตอร์ เพื่อทำให้การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศมีความเป็นระบบ ระเบียบ ง่ายต่อการค้นคืนสารนิเทศสำหรับผู้ใช้มากขึ้น

3. บุคลากร

บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ ได้แก่

ผู้ที่ทำหน้าที่จัดเก็บสารนิเทศ การจัดเก็บสารนิเทศที่มีประสิทธิภาพควรมีบุคลากรที่มีความรู้และความชำนาญในการจัดเก็บสารนิเทศ หากเป็นบุคลากรใหม่ ควรได้รับการฝึกอบรม หรือดูงาน ด้านการจัดเก็บสารนิเทศ เพื่อให้มีประสบการณ์มากขึ้น  

ผู้ใช้สารนิเทศ คือ ผู้ใช้ที่มีความต้องการสารนิเทศของตนเอง ซึ่งอาจจะค้นคืนด้วยตนเอง หรืออาจขอใช้บริการจากผู้ให้บริการค้นคืนสารนิเทศ โดยผู้ใช้สารนิเทศ ได้แก่ นักวิจัย ผู้บริหาร นักเรียนนักศึกษา อาจารย์ หรือประชาชนทั่วไป ซึ่งมีความต้องการสารนิเทศเพื่อใช้ประโยชน์ โดยการค้นจากฐานข้อมูลต่างๆ

ผู้ให้บริการค้นคืนสารนิเทศ ได้แก่ บรรณารักษ์ และนักสารนิเทศ เป็นต้น ทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับระบบการค้นคืนสารนิเทศ โดยจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสารนิเทศประเภทต่างๆ ทราบวิธีในการเข้าถึงสารนิเทศแต่ละประเภท ทราบศัพท์เฉพาะที่จะใช้ค้นข้อมูลเฉพาะด้าน และมีกลวิธีในการสัมภาษณ์ผู้ใช้ เพื่อให้ทราบ ความต้องการสารนิเทศที่แท้จริง

http://lib.kru.ac.th/eBook/1635203/5203-35.html

 

 

 

 

 

guest profile guest

องค์ประกอบของการจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ

การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศเป็นการเชื่อมโยงระหว่างทรัพยากรสารนิเทศกับผู้ใช้ซึ่งมีความต้องการสารนิเทศ โดยการรวบรวมสารนิเทศเก็บไว้ในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ สมพร พุทธาพิทักษ์ผล  กล่าวว่า การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศประกอบด้วยทรัพยากรสารนิเทศ ฐานข้อมูล และบุคลากร ดังรายละเอียดต่อไปนี้

1. ทรัพยากรสารนิเทศ

ทรัพยากรสารนิเทศมีอยู่หลายประเภท ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ได้แก่

1.1 แบ่งออกตามแหล่งสารนิเทศ คือ แหล่งปฐมภูมิ แหล่งทุติยภูมิ และ แหล่งตติยภูมิ

แหล่งปฐมภูมิ เป็นสารนิเทศจากต้นแหล่งโดยตรง เช่น การสัมภาษณ์หรือตอบแบบสอบถาม ผลการศึกษา ค้นคว้า วิจัย การค้นพบทฤษฎีใหม่ และการวิเคราะห์วิพากษ์ทฤษฎีต่างๆ เป็นต้น  

แหล่งทุติยภูมิ เป็นการรวบรวมข้อมูลและสารนิเทศจากแหล่งปฐมภูมิ โดยอาจเรียบเรียง จัดหมวดหมู่ให้เป็นระเบียบ สรุปให้เข้าใจง่าย หรือนำมาจัดทำเป็นดรรชนี เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการสืบค้นต่อไป แหล่งทุติยภูมิที่สำคัญ ได้แก่ วารสารที่มีการสรุปย่อและตีความพัฒนาการหรือทฤษฎีใหม่ๆ ให้เข้าใจง่ายขึ้น ดรรชนีและสาระสังเขป หนังสือตำรา รายงานสถานภาพวิทยาการปัจจุบัน และจดหมายข่าว เป็นต้น 

แหล่งตติยภูมิ เป็นการรวบรวมสารนิเทศที่ช่วยค้นหาแหล่งข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ บางครั้งอาจพบว่าแหล่งตติยภูมินั้นถูกจัดรวมไว้กับแหล่งทุติยภูมิ เพราะสิ่งพิมพ์ประเภทนี้มีจำนวนน้อยกว่าแหล่งสารนิเทศสองประการแรกมาก แต่ในที่นี้จะกล่าว แยกไว้เพื่อให้เห็นความแตกต่างให้ชัดเจนขึ้น แหล่งสารนิเทศตติยภูมินี้ไม่มีสารนิเทศเกี่ยวกับความรู้เฉพาะสาขาวิชาต่างๆ แต่จะช่วยในการค้นคว้าข้อมูล เพื่อใช้ในการหาข้อมูลสารนิเทศเฉพาะสาขาวิชาอีกทีหนึ่ง สิ่งพิมพ์ประเภทนี้ประกอบด้วย นามานุกรม บรรณานุกรม บรรณนิทัศน์ และหนังสือแนะนำวรรณกรรมเฉพาะสาขาวิชา เป็นต้น    

1.2 แบ่งออกตามรูปลักษณ์ของสื่อที่ใช้ในการจัดเก็บ ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์  

สื่อสิ่งพิมพ์ คือ สิ่งที่พิมพ์ขึ้นเป็นเล่มหรือ เป็นแผ่นโดยใช้ ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ รหัส ในการสื่อความหมายสิ่งพิมพ์ หรือสิ่งตีพิมพ์ ซึ่งได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร และกฤตภาค เป็นต้น  

สื่อโสตทัศน์ คือ สื่อที่ใช้บันทึกข้อมูล เรื่องราวต่างๆ ในวัสดุประเภทต่างๆ ได้แก่ เทปบันทึกเสียง วีดิทัศน์ แผ่นใส และรูปภาพ เป็นต้น  

สื่ออิเล็กทรอนิกส์ คือ ทรัพยากรสารนิเทศที่มีการผสมผสานเทคโนโลยีด้านการจัดเก็บและค้นคืนสารนิเทศเข้าไว้ด้วยกันในสื่อบันทึกชนิดใหม่ มีรูปแบบเป็นดิสก์เก็ต (diskette) หรือเป็นออปติคัลดิสก์ (optical disk) หรือเป็นแถบแม่เหล็ก (magnetic tape) ได้แก่ ซีดี และดีวีดี เป็นต้น  

ซึ่งในการจัดเก็บทรัพยากรสารนิเทศอย่างเป็นระบบสามารถจัดทำได้หลายวิธีด้วยกัน ได้แก่

1) การจัดเก็บทรัพยากรสารนิเทศตามเนื้อหา หมายถึง การนำสารนิเทศที่มีอยู่มาแยกประเภทตามสาขาวิชาอย่างกว้างๆ โดยนำสารนิเทศที่มีเนื้อหาเดียวกันจัดเก็บไว้ด้วยกัน ซึ่งมักจะแยกตามระบบการจัดหมวดหมู่ต่างๆ ที่มีผู้คิดค้นขึ้น ทรัพยากรสารนิเทศที่จัดเก็บตามระบบนี้มักได้แก่ หนังสือ และตำราทั่วๆ ไป นอกจากนี้การจัดเก็บสารนิเทศตามเนื้อหา อาจแบ่งเนื้อหาออกเป็นกลุ่มสาขาวิชาใหญ่ๆ ได้แก่ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เป็นต้น  

2) การจัดเก็บทรัพยากรสารนิเทศตามรูปลักษณ์ สามารถแยกประเภททรัพยากรสารนิเทศโดยดูที่รูปลักษณ์หรือวัสดุที่ใช้บันทึกข้อมูล ซึ่งแบ่งออกได้เป็น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

3) การจัดเก็บทรัพยากรสารนิเทศตามหมายเลข คือ การจำแนก และเรียงสารนิเทศโดยใช้หมายเลขเป็นหลักแทนอักษรหรือสัญลักษณ์อื่นๆ นอกจากจะเรียงลำดับสารนิเทศตามหมายเลขแล้วจะต้องจัดทำดรรชนีเรียงตามลำดับอักษรเพื่อค้นหาหมายเลขที่ให้  

4) การจัดเก็บทรัพยากรสารนิเทศตามพื้นที่ภูมิศาสตร์ คือ การจำแนกและเรียงเอกสารโดยยึดอาณาเขตหรือพื้นที่ภูมิศาสตร์เป็นหลัก โดยนิยมกำหนดอักษรหรือรหัสหมายเลขประกอบ อาจเป็นระดับโลก ทวีป ประเทศ ภาค และจังหวัด เป็นต้น ในการกำหนดระบบจัดเก็บสารนิเทศขั้นต้น จึงควรกำหนดขอบเขตตามพื้นที่ภูมิศาสตร์ขั้นต่อไปจึงเรียงตามอักษรชื่อ

ภูมิศาสตร์ หรือถ้ากำหนดรหัสหมายเลข ก็เรียงตามตัวเลข เช่น รหัสไปรษณีย์ และเลขหมายโทรศัพท์ เป็นต้น  

5) การจัดเก็บทรัพยากรสารนิเทศตามลำดับอักษร คือ การใช้ชื่อบุคคลหน่วยงาน หัวเรื่องและสถานที่ทางภูมิศาสตร์ เรียงตามลำดับอักษร การจัดเก็บสารนิเทศตามลำดับอักษร เป็นวิธีการเรียงลำดับสารนิเทศโดยใช้อักษรคือตัวหนังสือเป็นหลัก เป็นระบบ การจัดเก็บสารนิเทศที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุด และเป็นวิธีการพื้นฐานที่นำไปใช้ร่วมกับการจัดเก็บสารนิเทศระบบอื่นๆ เช่น การจัดเก็บสารนิเทศตามพื้นที่ภูมิศาสตร์ ในการจัดเก็บสารนิเทศของหน่วยงาน สำนักงาน หรือสถาบันบริการสารนิเทศ ส่วนใหญ่จัดเก็บสารนิเทศตามลำดับอักษร เป็นพื้นฐาน โดยเฉพาะชื่อบุคคล ชื่อหน่วยงาน ชื่อสถาบัน เช่น การจัดเก็บรายละเอียดทางบรรณานุกรมจะเรียงลำดับตามอักษรชื่อผู้แต่ง และชื่อเรื่อง เป็นต้น  

2. ฐานข้อมูล ในการจัดเก็บทรัพยากรสารนิเทศดังกล่าว จะมีการรวบรวมรายละเอียดหรือรายการของทรัพยากรสารนิเทศเก็บไว้ในฐานข้อมูลในคอมพิวเตอร์ เพื่อทำให้การจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศมีความเป็นระบบ ระเบียบ ง่ายต่อการค้นคืนสารนิเทศสำหรับผู้ใช้มากขึ้น

3. บุคลากร

บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารนิเทศ ได้แก่

ผู้ที่ทำหน้าที่จัดเก็บสารนิเทศ การจัดเก็บสารนิเทศที่มีประสิทธิภาพควรมีบุคลากรที่มีความรู้และความชำนาญในการจัดเก็บสารนิเทศ หากเป็นบุคลากรใหม่ ควรได้รับการฝึกอบรม หรือดูงาน ด้านการจัดเก็บสารนิเทศ เพื่อให้มีประสบการณ์มากขึ้น  

ผู้ใช้สารนิเทศ คือ ผู้ใช้ที่มีความต้องการสารนิเทศของตนเอง ซึ่งอาจจะค้นคืนด้วยตนเอง หรืออาจขอใช้บริการจากผู้ให้บริการค้นคืนสารนิเทศ โดยผู้ใช้สารนิเทศ ได้แก่ นักวิจัย ผู้บริหาร นักเรียนนักศึกษา อาจารย์ หรือประชาชนทั่วไป ซึ่งมีความต้องการสารนิเทศเพื่อใช้ประโยชน์ โดยการค้นจากฐานข้อมูลต่างๆ

ผู้ให้บริการค้นคืนสารนิเทศ ได้แก่ บรรณารักษ์ และนักสารนิเทศ เป็นต้น ทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับระบบการค้นคืนสารนิเทศ โดยจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสารนิเทศประเภทต่างๆ ทราบวิธีในการเข้าถึงสารนิเทศแต่ละประเภท ทราบศัพท์เฉพาะที่จะใช้ค้นข้อมูลเฉพาะด้าน และมีกลวิธีในการสัมภาษณ์ผู้ใช้ เพื่อให้ทราบ ความต้องการสารนิเทศที่แท้จริง

http://lib.kru.ac.th/eBook/1635203/5203-35.html

 

 

 

 

 

 

guest profile guest
องค์ประกอบพื้นฐาน มี 3 ส่วนคือ
1.ทรัพยากรสารสนเทศ คือ ระบบค้นคืนสารสนเทศจะต้องรวบรวบและจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศสำหรับผู้ใช้โดยคัดเลือกทรัพยากรสานสนเทศและทำเครื่องมือช่วยค้น
1.1 การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ ต้องคัดเลือกสานมนเทศที่ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ หรือเกิดประโยชน์แก่ผู้ใช้ ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมายของหน่วยงานนั้นๆ เช่น กลุ่มผู้ใช้เป็นนักธุรกิจ นักการเมือง นิสิตนักศึกษา นักเรียน หรือผู้บริหาร เป็นต้น

2. การทำเครื่องมือช่วยค้น คือ หลังจากคัดเลือกแล้ว จะต้องดำเนินการเพื่อให้ค้นคืนได้ โดยทำเครื่องหมายช่วยค้นซึ่งมีหลายประเภท เช่น รวมรายการทรัพยากรสารสนเทศ หรือนิยมเรียกว่า แค๊ตตาล็อก และ ดรรชนีวารสาร
2.1 ผู้ใช้ คือ ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้นั้นจำแนกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ
1. ผู้ใช้ทราบบางส่วนของสารสนเทศ เช่น ชื่อผู้แต่ง หรือชื่อเรื่องแล้ว
2. ต้องการสารสนเทศที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
3. การจับคู่ คือ การจับคู่เป็นการเปรียบเทียบคำค้นที่แทนความต้องการของผู้ใช้ กับดรรชนีในเครื่องมือช่วยค้น หากศัพท์ทั้ง 2 กลุ่มตรงกับทรัพยากรสารสนเทศเหล่านี้จะถูกรวบรวมสารสนเทศ ที่ค้นคืนได้หรือผลลัพธ์จากการค้นคืน ซึ่งผู้ใช้ต้องพิจารณาอีกครั้งว่าตรงกับความต้องการหรือไม่ การจับคู่เป็นหน้าที่ของระบบค้นคืนสารสนเทศในขณะที่การป้อนคำค้นเข้าสู่ระบบค้นคืนสารสนเทศเป็นหน้าที่ของผู้ใช้ การป้อนคำค้นเข้าสู่ระบบนั้น ผู้ใช้ต้องเลือกใช้คำสั่งเพื่อการค้นคือของระบบค้นคืนซึ่งในแต่ระบบมีลักษณะแตกต่างกันไป
องค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนของระบบค้นคืนสารสนเทศ คือทรัพยากร ผู้ใช้ และการจับคู่ ร่วมกันดำเนินการในกระบวนการค้นคืนสารสนเทศโดยผู้ใช้มีความต้องการสารสนเทศกำหนดคำค้นแทนความต้องการสารสนเทศ ระบบการค้นคือสารสนเทศทำหน้าที่จับคู่ระหว่างคำค้นกับดรรชนีในเครื่องมือช่วยค้นของทรัพยากรสารสนเทศ ผลที่ได้รับคือสารสนเทศที่ค้นคืนได้ ซึ่งหากการดำเนินการในแต่ละขั้นตอนอย่างถูกต้องและเหมาะสมแล้วสารสนเทศที่ค้นคืนได้ย่อมเกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้ด้วยเหตุนี้ การค้นค้นสารสนเทศจึงเป็นกระบวนการในการค้นสารสนเทศของผู้ใช้ โดยมีเป้าหมายเพื่อชี้ หรือระบุสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้

ซึ่งในการจัดเก็บทรัพยากรสารนิเทศอย่างเป็นระบบสามารถจัดทำได้หลายวิธีด้วยกัน ได้แก่
1) การจัดเก็บทรัพยากรสารนิเทศตามเนื้อหา หมายถึง การนำสารนิเทศที่มีอยู่มาแยกประเภทตามสาขาวิชาอย่างกว้างๆ โดยนำสารนิเทศที่มีเนื้อหาเดียวกันจัดเก็บไว้ด้วยกัน ซึ่งมักจะแยกตามระบบการจัดหมวดหมู่ต่างๆ ที่มีผู้คิดค้นขึ้น ทรัพยากรสารนิเทศที่จัดเก็บตามระบบนี้มักได้แก่ หนังสือ และตำราทั่วๆ ไป นอกจากนี้การจัดเก็บสารนิเทศตามเนื้อหา อาจแบ่งเนื้อหาออกเป็นกลุ่มสาขาวิชาใหญ่ๆ ได้แก่ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เป็นต้น
2) การจัดเก็บทรัพยากรสารนิเทศตามรูปลักษณ์ สามารถแยกประเภททรัพยากรสารนิเทศโดยดูที่รูปลักษณ์หรือวัสดุที่ใช้บันทึกข้อมูล ซึ่งแบ่งออกได้เป็น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
3) การจัดเก็บทรัพยากรสารนิเทศตามหมายเลข คือ การจำแนก และเรียงสารนิเทศโดยใช้หมายเลขเป็นหลักแทนอักษรหรือสัญลักษณ์อื่นๆ นอกจากจะเรียงลำดับสารนิเทศตามหมายเลขแล้วจะต้องจัดทำดรรชนีเรียงตามลำดับอักษรเพื่อค้นหาหมายเลขที่ให้
4) การจัดเก็บทรัพยากรสารนิเทศตามพื้นที่ภูมิศาสตร์ คือ การจำแนกและเรียงเอกสารโดยยึดอาณาเขตหรือพื้นที่ภูมิศาสตร์เป็นหลัก โดยนิยมกำหนดอักษรหรือรหัสหมายเลขประกอบ อาจเป็นระดับโลก ทวีป ประเทศ ภาค และจังหวัด เป็นต้น ในการกำหนดระบบจัดเก็บสารนิเทศขั้นต้น จึงควรกำหนดขอบเขตตามพื้นที่ภูมิศาสตร์ขั้นต่อไปจึงเรียงตามอักษรชื่

ภูมิศาสตร์ หรือถ้ากำหนดรหัสหมายเลข ก็เรียงตามตัวเลข เช่น รหัสไปรษณีย์ และเลขหมายโทรศัพท์ เป็นต้น
5) การจัดเก็บทรัพยากรสารนิเทศตามลำดับอักษร คือ การใช้ชื่อบุคคลหน่วยงาน หัวเรื่องและสถานที่ทางภูมิศาสตร์ เรียงตามลำดับอักษร การจัดเก็บสารนิเทศตามลำดับอักษร เป็นวิธีการเรียงลำดับสารนิเทศโดยใช้อักษรคือตัวหนังสือเป็นหลัก เป็นระบบ การจัดเก็บสารนิเทศที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุด และเป็นวิธีการพื้นฐานที่นำไปใช้ร่วมกับการจัดเก็บสารนิเทศระบบอื่นๆ เช่น การจัดเก็บสารนิเทศตามพื้นที่ภูมิศาสตร์ ในการจัดเก็บสารนิเทศของหน่วยงาน สำนักงาน หรือสถาบันบริการสารนิเทศ ส่วนใหญ่จัดเก็บสารนิเทศตามลำดับอักษร เป็นพื้นฐาน โดยเฉพาะชื่อบุคคล ชื่อหน่วยงาน ชื่อสถาบัน เช่น การจัดเก็บรายละเอียดทางบรรณานุกรมจะเรียงลำดับตามอักษรชื่อผู้แต่ง และชื่อเรื่อง เป็นต้น


อ้างอิง
www.isc.ob.tc/1%20ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการค้นคืนสารสนเทศ.ppt
http://202.183.233.73/human/member/prisana_mut/retrieval/a_ch2_storage2.pdf



guest profile guest

องค์ประกอบของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ

ระบบการค้นคืนสารนิเทศคือ  ระบบสารนิเทศที่ทำหน้าที่นำเสนอและแจกจ่ายสารนิเทศแก่ผู้ที่ต้องการ ซึ่งระบบสารนิเทศประกอบด้วยระบบการดำเนินงานย่อยๆ 5 ระบบ คือ                                                  

1.การคัดเลือก  เป็นการการรวบรวมสารนิเทศตามเกณฑ์และนโยบายที่กำหนดไว้ ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้  

2. การวิเคราะห์เอกสาร  ได้แก่การจัดหมวดหมู่ การจัดทำรายการ  การทำดรรชนี และการทำสารสังเขป

3. การจัดระเบียบ ในระบบสารนิเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล จะมีการจัดระเบียบแฟ้มข้อมูล โดยทั่วไปจะเรียงลำดับเลขทะเบียน

4. การค้นคืน เป็นกระบวนการสำคัญในการประเมินศักยภาพของระบบสารนิเทศ เป็นจุดเริ่มต้นของการค้นคืน online  เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ คือ ขั้นตอนการวิเคราะห์แนวคิด  และขั้นตอนการกำหนดศัพท์ หลังจากนั้นก็นำคำศัพท์ไปดำเนินการค้น ถ้าคำศัพท์ตรงกับดรรชนีคำค้นของเอกสารนั้น จะได้รับเอกสารจำนวนหนึ่ง หรือผู้ค้นจะทำการปรับปรุงเอกสารให้เป็นที่พอใจของผู้ใช้บริการ

5. การแจกจ่าย เป็นการนำส่งผลการค้นคืนให้แก่ผู้ใช้ ที่มีความต้องการเอกสารเอกสารในเรื่องนั้นๆ โดยทั่วไปคือ รายการอ้างอิงทางบรรณานุกรม โดยการสืบค้นสารสนเทศจะสิ้นสุดเมื่อผู้สืบค้นสารสนเทศได้รับเอกสารเหล่านั้นเรียบร้อยแล้ว องค์ประกอบเหล่านี้เป็นเป็นกิจกรรมทางสติปัญญาซึ่งดำเนินการโดยคน มิใช่เครื่องจักร หรือเรียกอีกนัยหนึ่งว่า ประสิทธิภาพของระบบค้นคืนสารนิเทศ จึงขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ สามารถจำแนกได้ 2 กลุ่มก็คือ

- องค์ประกอบด้านฐานข้อมูล คือเอกสารที่จัดเก็บความละเอียดของดรรชนี  ความเพียงพอของคำศัพท์ ในระบบที่ใช้แทนเนื้อหาของเอกสาร

- องค์ประกอบด้านการใช้ระบบ คือ ความเข้าใจของนักเอกสารสนเทศ ในเรื่องความต้องการของผู้ใช้

รูแบบของระบบค้นคืนสารนิเทศ ระบบค้นคืนสารนิเทศสามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ

1. ระบบค้นคืนที่ให้คำถาม – คำตอบ เป็นการบริการค้นคำตอบสำหรับคำถามที่ต้องการคำตอบ ที่เป็นข้อเท็จจริง

2. ระบบค้นคืนที่ให้ข้อมูลเป็นตัวเลข คือ สัญญาลักษณ์  เป็นระบบจัดเก็บข้อมูลทางฟิสิกส์ เคมี สำมะโนประชากร เป็นต้น

3. ระบบค้นคืนข้อความจากวารสาร เป็นระบบที่จัดเก็บตัวเนื้อหาเอกสารและสามารถเรียกข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งของเอกสารได้ เช่น ฐานข้อมูลทางกฎหมาย เป็นต้น

http://planet.kapook.com/peebom/blog/viewnew/65121

guest profile guest

 กระบวนการค้นคืนสารนิเทศ  ประกอบด้วย


1)      ผู้ใช้ระบบความต้องการใช้สารนเทศ   เป็นการตอบคำถามของผู้ใช้บริการ เพราะระบบความ
ต้องการที่จะใช้สารนเทศของผู้ใช้บริการ
2)  วิเคราะห์ความต้องการใช้    เป็นการวิเคราะห์คำถามเพื่อค้นหาความต้องการใช้สารนเทศ ตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้บริการ
3)  แปลงความต้องการนั้นไปเป็นศัพท์ดรรชนี  ซึ่งเป็นศัพท์ดรรชนีของระบบ  โดยการกำหนด ศัพท์ให้สอดคล้องกับความต้องการ  เพื่อใช้ในการคนคนสารนเทศ
4)  สืบค้นโดยใช้กลวิธีในการสืบค้นแบบตาง ๆ  ดังนี้
4.1) การสืบค้นโดยใช้ชื่อผู้แต่ง (Author    Searching) เป็นการสืบค้นโดยใช้ชื่อผู้แต่งเป็นคำค้น4.2) การสืบค้นโดยใช้หัวเรื่อง  (Subject  Searching)  ผู้ใช้สามารถสืบค้นด้วยหัวเรื่อง ซึ่ง เป็นภาษาควบคุมที่บรรณารักษ์ไดกำหนดไวตามคู่มือ
4.3) การสืบค้นโดยใช้ชื่อเรื่อง (Title  Searching) เป็นการค้นโดยใช้ชื่อเรื่องเป็นคำค้น
4.4) การสืบค้นโดยใช้เลขหมู่ (Call  Number   Searching) ผู้ใช้สามารถสืบค้นโดยสัญลักษณ์ ที่กำหนด    เพื่อใช้ในการค้นหาสารนเทศ  ซึ่งประกอบด้วยเลขหมู่สารนเทศ    อักษรตัวแรกของชื่อผู้ แต่งชาวไทย   หรืออักษรตัวแรกของนามสกุลผู้แตงสำหรบสารนเทศภาษาต่างประเทศ  เลขกำกับอักษร ผู้แต่ง และอักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง
4.5) การสืบค้นโดยใช้คำสำคัญ (Keyword   Searching) ผู้ใช้สามารถสืบค้นด้วยคำท้ายใน ชื่อเรื่อง  หัวเรื่อง   และเขตข้อมูลต่าง ๆ  ในรายการบรรณานุกรม ซึ่งการสืบค้นในลักษณะนี้ ผู้ใช้สามารถใช้คำค้นที่คิดขึ้นเอง  หรือที่เรียกวา  ภาษาธรรมชาติ (UncontrolledVocabulary)  ใน

การสืบค้น  (วณิชากร  แกวกน, 2541 : 16)
4.6) การสืบค้นโดยใช้วลี (Phrase  Searching) เป็นการสืบค้นโดยใช้เครื่องหมายต่างๆ  เพื่อ กำหนดขอบเขตของคำที่ใช้ค้นที่ไม่กว้างหรือแคบเกินไป  (น้ำทิพย์  วิภาวิน, 2543 : 104)
4.7) การสืบค้นโดยใช้คำในดรรชนี  (Cross  Index  Searching)  ผู้ใช้สามารถใช้ ดรรชนีชวยสำหรับการค้นหาคำ  หรือวลีที่ไม่แน่ใจว่าสะกดถูกต้องหรือไม่
4.8) การสืบค้นโดยใช้การตัดคำ (Truncation   Searching) คือ การขยายขอบเขตการสืบค้นให้ครอบคลุมทุกคำทที่มีคำขึ้นตนเหมือนกับคำคนซึ่งจะช่วยลดการพิมพ์คำค้นของกลุ่มคำนั้น ซึ่งผลที่ไดจากการค้น ค้นจะมีจำนวนมาก  แต่จะเป็นประโยชนสำหรับการสืบค้นกับฐาน ข้อมูลที่ใช้ภาษาธรรมชาติในการทำดรรชนี
4.9) การสืบค้นโดยใช้วิธีจำกดคำคนในเขตขอมลที่ต้องการ  (Field  Searching)  สามารถ จำกัดการสืบค้นให้แคบลงตามความต้องการของผู้ใช้เพื่อให้ไดผลการคนให้ตรงกับความต้องการมากยิ่งขึ้น
4.10) การสืบค้นโดยใช้วิธีไล่ดูรายการตามลำดับระเบียน  (Browse Searching )
4.11) การสืบค้นโดยใช้คำศัพท์อิสระ  (Free  Text  Searching) ผู้ใช้ส่วนมากมีก็ไม่ค่อยวางแผนการสืบคนล่วงหน้า  การสืบค้นแบบนี้จึงเป็นที่นิยมมาก  เพราะการสืบค้นด้วยศัพท์อิสระไม่ต้อง เสียเวลาในการหาคำศัพท์สมพันธ์
4.12) การสืบค้นโดยใช้ ตรรกบูลีน ( Boolean  Searching )  หรือการสืบค้นแบบเชื่อมคำที่หลังซึ่งเป็นการสืบค้นที่ผู้ใช้สามารถกำหนดคำค้นขึ้นเองได้และสามารถเชื่อมคำค้นตามที่ต้องการได้โดยใช้คำเชื่อม    AND,    OR,    NOT ซึ่งเป็นการเพิ่มศักยภาพในการสืบคน  ให้ผู้ใช้สามารถค้นได้

ข้อมูลทั้งในเชิงกว้างและเชิงลกมากยึ่งขึ้น                  (วณิชากร  แกวกน, 2541 : 15)
5)  ได้ผลการสืบค้น  เป็นคำตอบที่ได้จากคำถามของผู้ใช้บริการ
6)  ผู้ใช้ตรวจผลของการสืบค้น
6.1)ตรงกับความต้องการถือว่าประสบความสำเร็จในการค้นคืน   และการสืบค้น

เสร็จสินสมบูรณ์
6.2)  ไม่ตรงกับความต้องการ  ถือว่าประสบความล้มเหลวในการค้นคืน  และต้องดำเนิน

 6.2.1) การสืบค้นถูกวิธีหรอไม  ซึ่งผู้ใช้บริการตองตรวจสอบความผิดพลาดก่อนที่จะดำเนินการสืบค้น  หากพบว่าการสืบค้น
6.2.1.1)  ถูกต้อง  ก็แสดงว่าการสืบค้นเสร็จสินสมบูรณ์
6.2.1.2)  ไม่ถูกต้องจะต้องเริ่มต้นการสืบค้นใหม่อีก

 



อ้างอิง


http://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/oasej/include/getdoc.php?id=334&article=123&mode=pdf
guest profile guest
องค์ประกอบของการค้นคืนระบบสารสนเทศ

1.ทรัพยากรสารสนเทศ  ระบบค้นคืนสารสนเทศจะต้องรวบรวม
และจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศสำหรับผู้ใช้โดยคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ และทำเครื่องมือช่วยค้น
   1.1  การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ ต้องคัดเลือกสารสนเทศที่จะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้  หรือเกิดประโยชน์  แก่ผู้ใช้ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมายของหน่วยงานนั้นๆ เช่นกลุ่มผู้ใช้นักธุรกิจ  นักการเมือง  นิสิต นักศึกษา หรือผู้บริหาร  เป็นต้น

   1.2  การทำเครื่องมือช่วยค้น  หลังจากคัดเลือกแล้ว  จะต้องดำเนินการเพื่อให้ค้นคืนได้โดยการทำเครื่องมือช่วยค้น ซึ่งมีหลายประเภท เช่น  รวมรายการทรัพยากรสารสนเทศ หรือนิยมเรียกว่า แค๊ตตาล๊อก (catalogue หรือ catalog) และดรรชนีวารสาร
2.ผู้ใช้ ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้นั้น จำแนกเป็น 2 ลักษณะคือ  1. ผู้ใช้ทราบบางส่วนของสารสนเทศ เช่น ชื่อผู้แต่ง
หรือ ชื่อเรื่องแล้ว
       2. ต้องการสารสนเทศที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
3.การจับคู่ เป็นการเปรียบเทียบคำค้นที่แทนความต้องการของผู้ใข้ กับดรรชนีในเครื่องมือช่วยค้น หากศัพท์ทั้ง 2 กลุ่มนี้ตรงกันทรัพยากรสารสนเทศเหล่านี้จะถูกรวบรวมเป็นสารสนเทศที่ค้นคืนได้หรือผลลัพธ์จากการค้นคืน ซึ่งผู้ใข้พิจารณาอีกครั้งว่าตรงกับความตรงการหรือไม่ การจับคู่เป็นหน้าที่ของระบบค้นคืนสารสนเทศในขณะที่การป้อนคำค้นเข้าสู่ระบบค้นคืนสารสนเทศเป็นหน้าที่ของผู้ใช้ต้องเลือกใช้คำสั่งเพื่อการค้นคืนของระบบค้นคืนซึ่งในแต่ละระบบมีลักษณะแตกต่างกันไป

องค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนของระบบค้นคืน

สารสนเทศ คือทรัพยากร ผู้ใช้ และการจับคู่ ร่วมกัน

ดำเนินการในกระบวนการค้นคืนสารสนเทศโดยผู้ใช้

ซึ่งมีความต้องการสารสนเทศกำหนดคำค้นแทน

ความต้องการสารสนเทศ ระบบการค้นคืนสารสนเทศ

ทำหน้าที่จับคู่ระหว่างคำค้นกับดรรชนีในเครื่องมือ

ช่วยค้นของทรัพยากรสารสนเทศ ผลที่ได้รับ

คือสารสนเทศที่ค้นคืนได้

ซึ่งหากการดำเนินการในแต่ละขั้นตอน

อย่างถูกต้องและเหมาะสมแล้วสารสนเทศที่ค้นคืน

ได้ย่อมเกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้ด้วยเหตุนี้

การค้นคืนสารสนเทศจึงเป็นกระบวนการในการ

ค้นสารสนเทศของผู้ใช้ โดยมีเป้าหมายเพื่อชี้ หรือ

ระบุสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้


guest profile guest

การค้นคืน (Retrieval) หมายถึง การได้รับสิ่งที่ต้องการกลับคืนมา การค้นคืนสารสนเทศ (Information retrieval) จึงเป็น การกระทำใด ๆ ที่คัดเลือกสารสนเทศจากแหล่งเก็บเพื่อทำให้ได้รับสารสนเทศตามที่ต้องการ ซึ่งอาจเป็นข้อมูล หรือ รายการเอกสารซึ่งบรรจุเนื้อหาที่ต้องการ การค้นคืนสารสนเทศมีความหมายเช่นเดียวกับการค้นวรรณกรรม (Literature searching) ซึ่งหมายถึง กระบวนการค้นเอกสาร เพื่อให้ได้เอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หลักการสำคัญของการค้นคืนสารสนเทศ คือ การค้นหาและนำสารสนเทศที่ตรงตามความต้องการ ส่งให้แก่ผู้ใช้อย่างรวดเร็ว ทันการ ระบบใดก็ตามที่ได้รับการออกแบบเพื่ออำนวยความสะดวกในการค้นสิ่งพิมพ์ จึงเรียกว่า ระบบค้นคืนสารสนเทศ ตัวอย่างเช่น บัตรรายการ สิ่งพิมพ์ดรรชนี เป็นต้น

ความรู้ไม่สามารถถ่ายทอดจากบุคคลหนึ่งไปสู่อีกบุคคลหนึ่งโดยตรง เสมอไป จึงต้องมีแหล่งเก็บรวบรวมความรู้ คือ ระบบสารสนเทศ ซึ่งเป็นระบบที่ทำหน้าที่รวบรวม จัดเก็บ และนำสารสนเทศไปใช้ในองค์กร ระบบทำหน้าที่เป็นช่องทาง (Channel) ของสารสนเทศ ระบบประกอบด้วยคน ครุภัณฑ์ และกระบวนการ บ่อยครั้งที่คนมักคิดคงระบบสารสนเทศว่าประกอบด้วยระบบคอมพิวเตอร์และมีฐาน ข้อมูล (Databases) จัดเก็บสารสนเทศเท่านั้น โดยลืมนึกถึง คน ซึ่งทำหน้าที่รวบรวมสารสนเทศจากแหล่งต่าง ๆ และจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูล

ระบบสารสนเทศเป็นการสื่อสารในรูปแบบหนึ่ง ประกอบด้วยการส่งสาร จากแหล่งหนึ่งไปสู่แหล่งหนึ่ง ระหว่างการส่งสาร สารจะมีคุณภาพต่อผู้รับหรือไม่ ขึ้นอยู่กับว่ามีสิ่งรบกวน (Noise) มากน้อยเพียงไร ซึ่งเป็นอุปสรรคทำให้ระบบสารสนเทศ ไม่ตอบสนองความต้องการเท่าที่ควร
guest profile guest

ารค้น คืน    ( retrieve ) หมาย ถึงการได้รับสิ่งที่ต้องการกลับคืนมา การค้นคืนสารสนเทศ (information retrieval)  จึงเป็นการการกระทำใดๆ ที่ให้ได้รับสารนิเทศที่ต้องการ ซึ่งอาจเป็นข้อมูลหรือรายการเอกสารซึ่งบรรจุเนื้อหาที่ต้องการ และส่งให้กับผู้รับอย่างรวดเร็ว

ระบบค้นคืนสารสนเทศ หมายถึง ระบบที่ได้รับการออกแบบเพื่อวัตถุประสงค์ในการค้นคืนสารสนเทศที่จัดเก็บอยู่ ในระบบนั้น ซึ่งอาจค้นโดยแรงงานคน หรือคอมพิวเตอร์ก็ได้

หน้าที่ของระบบการค้นคืน สารสนเทศ เพื่อช่วยแก้ปัญหาการติดตามสารนิเทศใหม่ๆ ซึ่งมีปริมาณเพิ่มขึ้น ระบบสารสนเทศจะช่วยค้น คัดเลือก และกล่นกรองสารนิเทศที่เกี่ยวของ เพื่อการใช้ประโยชน์ต่อไป  ใน ทัศนของ Lancaster ระบบสารสนเทศมีหน้าที่จัดหา จัดระเบียบและควบคุมเพื่อให้มีการเข้าถึงสารนิเทศ

สรุปก็ คือคือ ระบบการค้นคืนสารนิเทคือ  ระบบสารนิเทศที่ทำหน้าที่นำ เสนอและแจกจ่ายสารนิเทศแก่ผู้ที่ต้องการ ซึ่งระบบสารนิเทศประกอบด้วยระบบการดำเนินงานย่อยๆ 5 ระบบ คือ                                                  

1.         การคัดเลือก  เป็นการการรวบรวมสารนิเทศตามเกณฑ์และ นโยบายที่กำหนดไว้ ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้                                                                                                                                                               

2.         การวิเคราะห์เอกสาร  ได้แก่การจัดหมวดหมู่ การจัดทำรายการ  การทำดรรชนี และการทำสารสังเขป

3.          การจัดระเบียบ ในระบบสารนิเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล จะมีการจัดระเบียบแฟ้มข้อมูล โดยทั่วไปจะเรียงลำดับเลขทะเบียน

4.         การค้นคืน เป็นกระบวนการสำคัญในการประเมินศักยภาพของระบบสารนิเทศ เป็นจุดเริ่มต้นของการค้นคืน online  เพื่อให้ตอบสนองความต้อง การของผู้ใช้บริการ คือ ขั้นตอนการวิเคราะห์แนวคิด  และขั้น ตอนการกำหนดศัพท์ หลังจากนั้นก็นำคำศัพท์ไปดำเนินการค้น ถ้าคำศัพท์ตรงกับดรรชนีคำค้นของเอกสารนั้น จะได้รับเอกสารจำนวนหนึ่ง หรือผู้ค้นจะทำการปรับปรุงเอกสารให้เป็นที่พอใจของผู้ใช้บริการ

5.         การแจกจ่าย เป็นการนำส่งผลการค้นคืนให้แก่ผู้ใช้ ที่มีความต้องการเอกสารเอกสารในเรื่องนั้นๆ โดยทั่วไปคือ รายการอ้างอิงทางบรรณานุกรม โดยการสืบค้นสารสนเทศจะสิ้นสุดเมื่อผู้สืบค้นสารสนเทศได้รับเอกสารเหล่านั้น เรียบร้อยแล้ว องค์ประกอบเหล่านี้เป็นเป็นกิจกรรมทางสติปัญญาซึ่งดำเนินการโดยคน มิใช่เครื่องจักร หรือเรียบอีกนัยหนึ่งว่า ประสิทธิภาพของระบบค้นคืนสารนิเทศ จึงขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ สามารถจำแนกได้ 2 กลุ่มก็คือ

-          องค์ประกอบด้านฐานข้อมูล คือเอกสารที่จัดเก็บความละเอียดของดรรชนี  ความเพียงพอของคำศัพท์ ในระบบที่ใช้แทนเนื้อหาของเอกสาร

-          องค์ประกอบด้านการใช้ระบบ คือ ความเข้าใจของนักเอกสารสนเทศ ในเรื่องความต้องการของผู้ใช้

รูแบบของระบบค้นคืนสารนิเทศ

ระบบค้นคืนสารนิเทศสามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ

1. ระบบค้นคืนที่ให้คำถาม – คำตอบ เป็นการบริการค้นคำตอบสำหรับคำถามที่ต้องการคำตอบ ที่เป็นข้อเท็จจริง

2. ระบบค้นคืนที่ให้ข้อมูลเป็นตัวเลข คือ สัญญาลักษณ์  เป็นระบบจัดเก็บข้อมูลทางฟิสิกส์ เคมี สำะโนประชากร เป็นต้น

3. ระบบค้นคืนข้อความจากวารสาร เป็นระบบที่จัดเก็บตัวเนื้อหาเอกสารและสามารถเรียกข้อความส่วนใดส่วนหนึ่ง ของเอกสารได้ เช่น ฐานข้อมูลทางกฎหมาย เป็นต้น

บริการค้นคืนระบบโอแพ็ก

ระบบโอแพ็ก คือ ระบบการค้นหารายการทรัพยากรสารนิเทศด้วยระบบคอมพิวเตอร์ออนไลน์  จะใช้เครื่องปลายทางเป็นเครื่องมือค้นหารายการสารนิเทศที่ต้องการ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จ หรือโปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลในระยะบบห้องสมุดอัตโนมัติ

                         ปัจจุบัน ระบบโอแพ็กได้ใช้ในโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลใน 3 รูปแบบคือ

1.       โปรแกรมสำเร็จที่มีหน่วยงาน องค์กรบริบัษต่างๆที่พัฒนาขึ้นมาใช้แล้วเช่นโปรแกรม ซีดีเอส/ไอซีส ดีเบส ฟอกซ์เบส และบี อาร์เอส

2.       เขียนโปรแกรมเฉพาะแห่งโดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาภาษี

3.       โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ หรือโปรแกรมสำเร็จพร้อมใช้งานในระบบบูรณาการ หรือเรียกทั่วไปว่าระบบเทิร์นคีย์ เช่น URICA  VTLS  TINLIB เป็นต้น

ประโยชน์ ของการค้นคืนระบบโอแพ็ก

-          ผู้ ค้นสามารถค้นรายการสารนิเทศที่ต้องการได้มากวิธีกว่าการค้นคืนจากบัตรรายการ ซึ่งจำกัดการเข้าถึงสารนิเทศด้วยช่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง ในระบบโอแพ็กผู้ค้นสามารถค้นได้จขากดรรชนีหลายประเภท เช่น สามารถค้นได้จากหลักการประสานคำที่เรียกว่า ลัก บลูลีน Boolean  หรือ ค้นคำจากเขตข้อมูล เฉพาะที่ต้องการได้เช่น  เขตข้อมูลปีที่พิมพ์ หมายเลขมาตรฐาน หนังสือสากล เลขเรียกหนังสือ หรือค้นจากคำสำคัญอื่นๆ

-          ทำให้ได้รับความสะดวกค้นคืนรายการสารนิเทศได้ถูกต้อง แม่นยำ และเป็นระบบที่ใช้ง่าย

-          เป็นระบบที่ช่วยกระตุ้นและส่งเสริมให้ผู้ใช้เกิดความต้องการใช้ ทรัพยากรสารนิเทศอย่างคุ้มค่า เนื่องจากความง่ายและสะดวกในการเข้าถึง

-          ผู้ใช้สามารถค้นคืนรายการทรัพยากรสารนิเทศจากสถานที่ๆตนสะดวก หากมีการใช้ระบบเชื่อมโยงเครื่องปลายทางไปยังสถาบันบริการสารนิเทศที่ให้ บริการค้นคืนระบบโอแพ็ก

-          สามารถเชื่อมโยงไปยังรายการทรัพยากรสารนิเทศกับระบบโอแพ็กของ สถาบันบริการอื่นๆทั้งในประเทศและต่างประเทศระบบเครือข่าย

ลักษณะการค้นคืนระบบโอแพ็ก

ผู้ใช้สามารถใช้ระบบเป็นจุดเริ่มต้นของการค้นหา สารนิเทศ ในสถาบันบริการแห่งหนึ่ง เช่นเดียวกับการใช้บัตรรายการ  โดย ทั่วไปผู้ใช้สามารถเลือกค้นได้จากคำหรือวิธีต่างๆดังต่อไปนี้

-          ค้นคืนโดยใช้ชื่อผู้แต่ง        -  ค้นคืนโดยใช้คำสำคัญ

-          ค้นคืนโดยใช้ชื่อเรื่อง          -  ค้น คืนโดยใช้วลี

-          ค้นคืนโดยใช้หัวเรื่อง          -  ค้น คืนโดยใช้คำในดรรชนี

-          ค้นคืนโดยใช้เลขหมู่           -  ค้น คืนโดยใช้การตัดคำ

-          ค้นคืนโดยการจำกัดคำค้นในเขตข้อมูลที่ต้องการ

-          ค้นคืนโดยวิธีไล่ดูรายการตามลำดับระเบียน

   บริการบนอินเตอร์เน็ต

                        อินเตอร์ เน็ตไดรับความนิยมเนื่องมาจากการใช้บิการทางอินเตอร์เน็ตเป็นไปอย่างรวดเร็ว สะดวกในการติดต่อสื่อสารและส่งผ่านข้อมูลและสารสนเทศ

 บริการต่างๆในอินเตอร์เน็ต เป็นที่รู้จักและนิยมใช้กันอย่างกว้างขวาง แยกออกเป็น4 ลักษณะดังนี้

1. บริการถ่ายโอนแฟ้ม หรือเรียกย่อๆ ว่า FPT เป็นบริการที่ช่วยให้ การติดต่อและถ่ายโอน หรือคัดลอกแฟ้มข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์จากเครื่องหนึ่งไปอีกเครื่อง หนึ่งที่เชื่อมต่ออยู่ในอินเตอร์เน็ต ทีร่บริการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลที่อยู่ระยะไกล                       

http://www.maceducation.com/e-knowledge/2418102100/13.htm
http://www.maceducation.com/e-knowledge/2418102100/13.htm
 
guest profile guest

องค์ประกอบของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ


การจัดเก็บและการค้นคืน (knowledge storage and retrieval)
องค์กรต้องกำหนดสิ่งสำคัญที่จะเก็บไว้เป็นองค์ความรู้ และต้องพิจารณาถึงวิธีการในการรักษา และการนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ตามความต้องการ องค์กรต้องเก็บรักษาสิ่งที่องค์กรเรียกว่าเป็นความรู้ไว้ให้ดีที่สุด ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลสารสนเทศ ตลอดจนผลสะท้อนกลับ การวิจัยและ การทดลอง การจัดเก็บเกี่ยวกับด้านเทคนิค เช่น การบันทึกเป็นฐานข้อมูล หรือการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน รวมทั้งที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางมนุษย์ด้วย เช่น  การสร้างและการจดจำของปัจเจกบุคคล เป็นต้น ทั้งนี้การสะสมความรู้ องค์กรควรคำนึงถึง โครงสร้างการจัดเก็บความรู้ ควรเป็นระบบที่สามารถค้นหาและส่งมอบได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ทันเวลาและเหมาะสมกับความต้องการ และจัดให้มีการจำแนกรายการต่าง ๆ ที่อยู่บนพื้นฐานความจำเป็นในการเรียนรู้ องค์กรต้องพิจารณาความแตกต่างของกลุ่มคนในการค้นคืนความรู้ ต้องมีการจัดหมวดหมู่ตามองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ตามวัตถุประสงค์ของงาน ความชำนาญของผู้ใช้ เป็นต้น และองค์กรต้องหาวิธีทำให้พนักงานทราบถึงช่องทางหรือวิธีการสำหรับค้นหาความรู้ เช่น การทำสมุดจัดเก็บรายชื่อ และทักษะของผู้เชี่ยวชาญ เครือข่ายการทำงานตามลำดับชั้น การประชุม การฝึกอบรม เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะนำไปสู่การถ่ายทอดความรู้ในองค์กร 

 

การค้นสารสนเทศโดยมีเป้าหมายเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ตรงกับความต้องการนั้น ต้องอาศัยกระบวนการสำคัญอย่างหนึ่งช่วยดึงสารสนเทศเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้ออกมาจากที่จัดเก็บกระบวนการดังกล่าว คือ การค้นคืนสารสนเทศ (Information retrieval) หมายถึง กระบวนการในการค้นสารสนเทศโดยมีเป้าหมายเพื่อชี้หรือระบุสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ กระบวนการค้นสารสนเทศจะดำเนินไปได้จนบรรลุเป้าหมายนั้น ต้องอาศัยทรัพยากรสารสนเทศที่ได้รวบรวม จัดเก็บและจัดทำเครื่องมือช่วยค้นอย่างเป็นระบบเอื้อต่อการค้น ต้องมีผู้ใช้ซึ่งมีความต้องการสารสนเทศ และทำการค้นสารสนเทศตามที่ต้องการ ในขณะที่ผู้ใช้ค้นสารสนเทศนั้นกระบวนการค้นคืนสารสนเทศจะจับคู่ระหว่างความต้องการ สารสนเทศของผู้ใช้กับทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศส่วนหนึ่งที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้จะถูกจำแนกออกจากทรัพยากรทั้งหมด เป็นสารสนเทศที่ค้นคืนได้ (retrieved information)

 


ความสำคัญของการค้นคืนสารสนเทศ

ในยุคที่สารสนเทศมีจำนวนมาก มีความหลากหลายทั้งด้านรูปแบบและเนื้อหา เนื่องมาจากการศึกษาและวิทยาการต่าง ๆ ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว และสารสนเทศเหล่านี้อยู่กระจัดกระจายตามองค์กรและสถาบันต่าง ๆ ทั่วทุกมุมโลก การค้นคืนสารสนเทศจึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการเข้าถึงและได้สารสนเทศที่ต้องการ

การค้นคืนสารเทศ ช่วยให้มนุษย์ได้รับสารสนเทศที่ต้องการ อย่างถูกต้อง ครอบคลุม สะดวกและรวดเร็วการได้รับสารสนเทศที่ถูกต้อง   ครอบคลุมและทันเวลาย่อมส่งผลต่อความสำเร็จในกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาค้นคว้า วิจัย ปฏิบัติงาน วางแผน หรือตัดสินใจ

 


องค์ประกอบของการค้นคืนสารสนเทศ

องค์ประกอบพื้นฐาน 3  ส่วน คือ

  1. ทรัพยากรสารสนเทศ

  2. ผู้ใช้ 

  3. การจับคู่ระหว่างความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้กับทรัพยากรสารสนเทศ

 


1. ทรัพยากรสารสนเทศ ระบบค้นคืนสารสนเทศจะต้องรวบรวมและจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศสำหรับผู้ใช้โดยคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ และทำเครื่องมือช่วยค้น

1.1 การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ

 ต้องคัดเลือกสารสนเทศที่จะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้  หรือเกิดประโยชน์ แก่ผู้ใช้ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมายของหน่วยงานนั้นๆ เช่น กลุ่มผู้ใช้เป็นนักธุรกิจ นักการเมืองสิสิต นักศึกษา นักเรียน หรือผู้บริหาร เป็นต้น

1.2 การทำเครื่องมือช่วยค้น

หลังจากคัดเลือกแล้ว จะต้องดำเนินการเพื่อให้ค้นคืนได้ โดยการทำเครื่องมือช่วยค้น ซึ่งมีหลายประเภท เช่น รวมรายการทรัพยากรสารสนเทศ หรือนิยมเรียกว่า แค็ตตาล็อก (catalogue หรือ catalog) และดรรชนีวารสาร

 


2. ผู้ใช้

ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้นั้นจำแนกได้เป็น 2  ลักษณะคือ

2.1. ผู้ใช้ทราบบางส่วนของสารสนเทศ เช่น  ชื่อผู้แต่ง หรือ ชื่อเรื่องแล้ว

2.2. ต้องการสารสนเทศที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

 


3.การจับคู่

การจับคู่ เป็นการเปรียบเทียบคำค้นที่แทนความต้องการของผู้ใช้ กับดรรชนีในเครื่องมือช่วยค้น  หากศัพท์ทั้ง 2 กลุ่มนี้ตรงกันทรัพยากรสารสนเทศเหล่านี้จะถูกรวบรวมเป็นสารสนเทศที่ค้นคืนได้หรือผลลัพธ์จากการค้นคืน ซึ่งผู้ใช้ต้องพิจารณาอีกครั้งว่าตรงกับความต้องการหรือไม่ การจับคู่เป็นหน้าที่ของระบบค้นคืนสารสนเทศในขณะที่การป้อนคำค้นเข้าสู่ระบบค้นคืนสารสนเทศเป็นหน้าที่ของผู้ใช้ การป้อนคำค้นเข้าสู่ระบบนั้น ผู้ใช้ต้องเลือกใช้คำสั่งเพื่อการค้นคืนของระบบค้นคืนซึ่งในแต่ละระบบมีลักษณะแตกต่างกันไป

 


องค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนของระบบค้นคืนสารสนเทศ คือทรัพยากร ผู้ใช้ และการจับคู่ ร่วมกันดำเนินการในกระบวนการค้นคืนสารสนเทศโดยผู้ใช้ซึ่งมีความต้องการสารสนเทศกำหนดคำค้นแทนความต้องการสารสนเทศ ระบบการค้นคืนสารสนเทศทำหน้าที่จับคู่ระหว่างคำค้นกับดรรชนีในเครื่องมือช่วยค้นของทรัพยากรสารสนเทศ ผลที่ได้รับคือสารสนเทศที่ค้นคืนได้ ซึ่งหากการดำเนินการในแต่ละขั้นตอนอย่างถูกต้องและเหมาะสมแล้วสารสนเทศที่ค้นคืนได้ย่อมเกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้ด้วยเหตุนี้ การค้นคืนสารสนเทศจึงเป็นกระบวนการในการค้นสารสนเทศของผู้ใช้ โดยมีเป้าหมายเพื่อชี้ หรือระบุสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้

 

 

 






ที่มา

http://www.kmi.trf.or.th/document/aboutKM/abount.KM.pdf

  http://www.google.co.th/#hl=th&q=%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8.+%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99+3+%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99+%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD.+%40+%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8+...+&aq=&aqi=&aql=&oq=&gs_rfai=&fp=79434384fc6d605b

 

 

 

 

 

guest profile guest

องค์ประกอบพื้นฐาน 3  ส่วน คือ

1.ทรัพยากรสารสนเทศ

2.ผู้ใช้ 

3.การจับคู่ระหว่างความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้กับทรัพยากรสารสนเทศ

1. ทรัพยากรสารสนเทศ

ระบบค้นคืนสารสนเทศจะต้องรวบรวมและจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศสำหรับผู้ใช้โดยคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ และทำเครื่องมือช่วยค้น

1.1   การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ

1.2   การทำเครื่องมือช่วยค้น

1.1 การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ

 ต้องคัดเลือกสารสนเทศที่จะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้  หรือเกิดประโยชน์ แก่ผู้ใช้

ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมายของหน่วยงานนั้นๆ เช่น กลุ่มผู้ใช้เป็นนักธุรกิจ นักการเมือง

สิสิต นักศึกษา นักเรียน หรือผู้บริหาร เป็นต้น

1.2 การทำเครื่องมือช่วยค้น

หลังจากคัดเลือกแล้ว จะต้องดำเนินการเพื่อให้ค้นคืนได้ โดยการทำเครื่องมือช่วยค้น ซึ่งมีหลายประเภท เช่น รวมรายการทรัพยากรสารสนเทศ หรือนิยมเรียกว่า แค็ตตาล็อก

(catalogue หรือ catalog) และดรรชนีวารสาร

2. ผู้ใช้

ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้นั้นจำแนกได้เป็น 2  ลักษณะคือ

1. ผู้ใช้ทราบบางส่วนของสารสนเทศ เช่น  ชื่อผู้แต่ง หรือ ชื่อเรื่องแล้ว

2. ต้องการสารสนเทศที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

3.การจับคู่

การจับคู่ เป็นการเปรียบเทียบคำค้นที่แทนความต้องการของผู้ใช้ กับดรรชนีในเครื่องมือ

ช่วยค้น  หากศัพท์ทั้ง 2 กลุ่มนี้ตรงกันทรัพยากรสารสนเทศเหล่านี้จะถูกรวบรวมเป็นสารสนเทศ

ที่ค้นคืนได้หรือผลลัพธ์จากการค้นคืน ซึ่งผู้ใช้ต้องพิจารณาอีกครั้งว่าตรงกับความต้องการหรือไม่

การจับคู่เป็นหน้าที่ของระบบค้นคืนสารสนเทศในขณะที่การป้อนคำค้นเข้าสู่ระบบค้นคืนสารสนเทศเป็นหน้าที่ของผู้ใช้ การป้อนคำค้นเข้าสู่ระบบนั้น ผู้ใช้ต้องเลือกใช้คำสั่งเพื่อการค้นคืนของระบบค้นคืนซึ่งในแต่ละระบบมีลักษณะแตกต่างกันไป
-----------------------------------------ข้อ2

การค้นสารสนเทศโดยมีเป้าหมายเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ตรงกับความต้องการนั้น 

ต้องอาศัยกระบวนการสำคัญอย่างหนึ่งช่วยดึงสารสนเทศเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับความต้องการ

ของผู้ใช้ออกมาจากที่จัดเก็บกระบวนการดังกล่าว คือ การค้นคืนสารสนเทศ

(Information retrieval) หมายถึง กระบวนการในการค้นสารสนเทศโดยมีเป้าหมายเพื่อชี้หรือระบุสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะกระบวนการค้นสารสนเทศจะดำเนิน

ไปได้จนบรรลุเป้าหมายนั้น ต้องอาศัยทรัพยากรสารสนเทศที่ได้รวบรวม จัดเก็บและ

จัดทำเครื่องมือช่วยค้นอย่างเป็นระบบเอื้อต่อการค้น ต้องมีผู้ใช้ซึ่งมีความต้องการสารสนเทศ และทำการค้นสารสนเทศตามที่ต้องการในขณะที่ผู้ใช้ค้นสารสนเทศนั้นกระบวนการค้นคืนสารสนเทศจะจับคู่ระหว่างความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้กับทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศส่วนหนึ่งที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้จะถูกจำแนกออกจากทรัพยากรทั้งหมดเป็นสารสนเทศที่ค้นคืนได้ (retrieved information)

guest profile guest
การค้นคืนสารสนเทศ

ความเชื่อมโยงระหว่างการจัดเก็บและการค้นคืน

1. การจัดเก็บเพื่อประโยชน์ของการใช้และการเข้าถึงสารสนเทศ
2. การจัดเก็บ มุ่งจัดโครงสร้างในทาง
- กายภาพ เช่น รหัสหมวดหมู่ ดรรชนีเชื่อมโยงไปยังที่จัดเก็บสารสนเทศ (แฟ้มข้อมูล)
- เนื้อหา เช่น ศัพท์ดรรชนี (คำแทนสาระ) สาระสังเขป โครงร่างเนื้อหา (สารบัญ) เป็นต้น

การค้นคืนและการค้น(หา)

- การค้นคืน (retrieval) เป็น การค้นเพื่อให้ได้ผลการค้นตามต้องการ มุ่งเน้นที่ผลการค้นเป็นสำคัญ
- การค้น การค้นหา (searching) เป็นกระบวนการค้น เช่น การค้นจากหนังสือ การค้นจากฐานข้อมูลโดยใช้ชื่อผู้แต่ง
- ระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (Information Storage and Retrieval System – ISAR system) ระบบค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval System – IR system)
- ระบบจัดเก็บและค้นหาสารสนเทศ ใช้น้อย (จากวรรณกรรม)

การค้นคืนสารสนเทศ

• การค้นคืน วิธีการค้นหาแบ่งออกเป็น
– browsing หรือ การสำรวจเลือกดู
– searching หรือ analytical search หรือ การค้นด้วยคำหรือลักษณะของสารสนเทศ เช่น สี ขนาด
• จุดประสงค์หลัก คือ ให้ค้นคืนสารสนเทศที่ “เข้าเรื่อง” (relevance) หรือ “ตรงกับความต้องการ” (pertinence)

ความซับซ้อนของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ


• สารสนเทศปริมาณมาก
• สารสนเทศในรูปแอนะล็อก และ ดิจิทัล
• สารสนเทศต่างรูปลักษณ์หรือรูปแบบ (format) เช่น เอกสาร บทความ หนังสือ วารสาร แผ่นพับ
• สารสนเทศต่างประเภท เช่น เสียง ภาพลักษณ์ ภาพกราฟิก และข้อความ

ตัวแบบการค้น

• ตัวแบบการค้น เป็น หลักการหรือแนวคิดในการพิจารณาการจับคู่หรือเปรียบเทียบ ระหว่างข้อคำถาม และดรรชนีแทนสารสนเทศที่สะสมไว้ ให้สามารถค้นคืนสารสนเทศที่เข้าเรื่องหรือตรงกับความต้องการ
• ตัวแบบบูเลียน (Boolean model) เป็นการจับคู่แบบตรงกันระหว่างศัพท์ดรรชนีและคำค้น
• ตัวแบบเวกเตอร์
• แทนเอกสารและข้อคำถามในรูปเวกเตอร์ (คณิตศาสตร์) โดยกำหนดค่าน้ำหนักของคำ ด้วยความถี่ของคำที่ปรากฎในเอกสาร และคำที่ปรากฎในฐานข้อมูล (มวลเอกสาร)
• ตัวแบบความน่าจะเป็น
• จัดลำดับเอกสารในมวลทรัพยากรสารสนเทศตามความน่าจะเป็นด้านความเข้าเรื่องของแต่ละเอกสารกับข้อคำถาม โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย

เทคโนโลยีที่สนับสนุน

• ปัญญาประดิษฐ์
– ระบบผู้เชี่ยวชาญ
– โปรแกรมตัวแทนอัจฉริยะ
– การประมวลผลภาษาธรรมชาติ
• การใช้ภาษาธรรมชาติสำหรับข้อคำถาม ได้แก่ Ask
• การค้นคืนสารสนเทศหลายภาษา หรือ การค้นคืนสารสนเทศข้ามภาษา

 แหล่งข้อมูลอ้างอิง

http://seashore.buu.ac.th/~50124473/245271/.../google-week01.ppt

http://lib.kru.ac.th/eBook/1635203/5203-20.html

http://planet.kapook.com/peebom/blog/viewnew/65121

http://suanpalm3.kmutnb.ac.th/teacher/.../ochin107255214161.pdf
guest profile guest

องค์ประกอบของการจัดเก็บสารสนเทศ

ในระบบสารสนเทศประกอบด้วยงานหลัก 4 ประการคือ การนำข้อมูล สารสนเทศเข้าสู่ระบบ การประมวลผลสารสนเทศ การจัดเก็บสารสนเทศและการแสดงผลลัพธ์ที่นำไปใช้ได้ตามที่ต้องการ

1.  การนำข้อมูล : สารสนเทศเข้าสู่ระบบ : สามารถทำได้หลายรูปแบบ เช่น การนำข้อมูลจากแหล่งข้อมูล (source data) เข้าสู่ระบบ ได้แก่ ใบรับเงินจากรายการที่สั่งซื้อ หรือ เป็นการเรียก ข้อมูลเก่า (ที่เคยบันทึกไว้แล้ว) เพื่อนำมาตรวจสอบ หรือเป็นการตอบรับหรือปฏิเสธจากหน้าจอ หรือเป็นการสั่งให้ทำงาน ได้แก่ สั่งให้ออกใบส่งของ หรือเป็นการส่งข้อความแก่ผู้ใช้คนอื่น ในระบบ รวมทั้งการปรับปรุงข้อมูลโดยเฉพาะการพิมพ์เอกสาร ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนแปลงข้อความหรือแก้ไข ตัวเลขให้ถูกต้องได้

2.  การประมวลผล : ในระบบสารสนเทศสามารถประมวลผลข้อมูล / สารสนเทศได้หลายวิธี ได้แก่ การจัดเรียงข้อมูล การเรียกใช้ข้อมูลที่จัดเก็บไว้แล้วและปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยขึ้น การสรุป สารสนเทศ การคัดเลือกสารสนเทศ (ได้แก่ เลือกรายชื่อลูกค้าที่ใช้บริการมานานกว่า 5 ปี) รวมทั้งการคำนวณทางคณิตศาสตร์และการเปรียบเทียบทางตรรกะ

3.  การจัดเก็บสารสนเทศ : ระบบสารสนเทศปัจจุบันสามารถจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ทั้งที่อยู่ในรูปของตัวเลข ตัวอักษร สัญลักษณ์ต่าง ๆ และภาพประกอบ ได้แก่ กราฟิก ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และ เสียง ไว้ในรูปของฐานข้อมูลและ Web base รวมทั้งฐานความรู้ (Knowledge base)

4.   การแสดงผลลัพธ์ : ผลลัพธ์จากระบบสารสนเทศที่ออกมาในรูปของรายงานเอกสารทุกประเภท เรียกว่า hard copy ส่วน soft copy เป็นการแสดงผลบนหน้าจอภาพหรือระบบ เสียง รวมทั้งคำสั่งที่ใช้ควบคุมหุ่นยนต์หรือการทำงานในระบบอัตโนมัติต่าง

ระบบสารสนเทศสามารถจัดการได้เป็น 2 รูปแบบคือ

  1. จัดการตามหน้าที่ของงานในองค์กร(Function – Base System) ตัวอย่างเช่น ภายใต้งานหลักขององค์กร ได้แก่ การเงิน การบัญชี การขาย การตลาด งานบุคคล การผลิต มีการใช้ระบบสารสนเทศกับการตรวจสอบสินค้าคงคลัง หรือเพื่อการคิดเงินเดือนลูกจ้าง หรือการทำบัญชี เป็นต้น ดังนั้นฐานข้อมูลที่สร้างขึ้นและผลลัพธ์ที่ออกมาก็จะใช้เฉพาะงานนั้นๆ เท่านั้น

   2. จัดการในรูปของระบบผสมผสานเบ็ดเสร็จหรือบูรณาการ (Integrated System) นั่นคือ ข้อมูลสารสนเทศจะถูกจัดเป็นฐานข้อมูลที่สามารถเข้าถึงและแลกเปลี่ยนระหว่างหน่วยงานตามหน้าที่ต่างๆ 
การนำข้อมูลเข้าสู่ระบบสารสนเทศ
การที่เราสร้างระบบสารสนเทศก็เพื่อจะเรียกใช้ สารสนเทศที่ต้องการอย่างถูกต้องและรวดเร็ว ดังนั้นเมื่อมีระบบฐานข้อมูลช่วยจัดการข้อมูล / สารสนเทศ ให้อยู่ในระบบระเบียบง่ายแก่การเข้าถึงแล้ว เรายังสามารถเพิ่มเติมแก้ไขข้อมูลได้ตามวัตถุประสงค์ของธุรกิจนั้น การเพิ่มเติมแก้ไขข้อมูลในที่นี้ คือการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบสารสนเทศ (data entry) ผู้ใช้สามารถส่งผ่านทาง terminal ที่เป็นเครื่อง PC ของระบบ สารสนเทศและประมวลผลข้อมูลและประมวลผลข้อมูลได้ 2 วิธี คือวามสัมพันธ์กัน

  1. Batch processing คือ การประมวลผลข้อมูลที่ได้รับการรวบรวมไว้เป็นกลุ่มข้อมูล แล้วส่งเข้าสู่ระบบสารสนเทศเพื่อนำไปประมวลผลเป็นครั้งคราว ตัวอย่างเช่น การคิดเงินเดือนพนักงาน ฝ่ายบุคคลจะเก็บรวบรวมข้อมูลลูกจ้างที่ทำงาน (รายวัน, รายสัปดาห์ หรือรายเดือน) เช่น จำนวนชั่วโมง อัตราค่าจ้าง จำนวนชั่วโมงที่ทำงานล่วงเวลา (ถ้ามี) ตามรอบเวลาการทำงาน (เช่น รายวัน, รายวันสัปดาห์, รายเดือน) แล้ว จึงส่งข้อมูลที่รวบรวมไว้นี้เข้าสู่ระบบสารสนเทศเพื่อคำนวณเงินเดือนหรือค่าจ้างของทุกคนต่อไป

2.  Transaction-oriented processing คือ การประมวลผลข้อมูลทุกครั้งที่มีการส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบ ตัวอย่างเช่น การสั่งซื้อสินค้าทุกครั้งที่มีลูกค้าสั่งซื้อ (ในเวลาทำการ) ข้อมูลลูกค้าและรายการสินค้าที่สั่งจะถูกส่งเข้าสู่ระบบเพื่อประมวลผล ได้แก่ เปรียบเทียบจำนวนสินค้าในโกดัง ตรวจสอบราคา และตอบลูกค้าได้ทันทีว่าสินค้าที่สั่งนั้นมีหรือไม่ ส่งแล้วหรือรอส่งของจากผู้ผลิต จำนวนเงิน วันกำหนดส่ง เป็นต้น เป็นการตอบรับทันที ไม่เหมือน batch processing ที่จะต้องรอรวบรวมข้อมูลก่อน องค์ประกอบของการค้นคืนสารสนเทศ

องค์ประกอบพื้นฐาน 3  ส่วน คือ

1. ทรัพยากรสารสนเทศ

2. ผู้ใช้ 

3. การจับคู่ระหว่างความต้องการสารสนเทศ ของผู้ใช้กับทรัพยากรสารสนเทศ

1. ทรัพยากรสารสนเทศ

ระบบค้นคืนสารสนเทศจะต้องรวบรวมและจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศสำหรับผู้ใช้โดยคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ และทำเครื่องมือช่วยค้น

  1.1 การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ

  1.2 การทำเครื่องมือช่วยค้น

      1.1 การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ  ต้องคัดเลือกสารสนเทศที่จะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้  หรือเกิดประโยชน์ แก่ผู้ใช้ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมายของหน่วยงานนั้นๆ เช่น กลุ่มผู้ใช้เป็นนักธุรกิจ นักการเมือง นิสิต นักศึกษา นักเรียน หรือผู้บริหาร เป็นต้น

         1.2 การทำเครื่องมือช่วยค้น หลังจากคัดเลือกแล้ว จะต้องดำเนินการเพื่อให้ค้นคืนได้ โดยการทำเครื่องมือช่วยค้น ซึ่งมีหลายประเภท เช่น รวมรายการทรัพยากรสารสนเทศ หรือนิยมเรียกว่า แค็ตตาล็อก

(catalogue หรือ catalog) และดรรชนีวารสาร

2. ผู้ใช้   

ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้นั้นจำแนกได้เป็น 2  ลักษณะคือ

 1. ผู้ใช้ทราบบางส่วนของสารสนเทศ เช่น  ชื่อผู้แต่ง หรือ ชื่อเรื่องแล้ว

2. ต้องการสารสนเทศที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

3.การจับคู่

การจับคู่ เป็นการเปรียบเทียบคำค้นที่แทนความต้องการของผู้ใช้ กับดรรชนีในเครื่องมือช่วยค้น  หากศัพท์ทั้ง 2 กลุ่มนี้ตรงกันทรัพยากรสารสนเทศเหล่านี้จะถูกรวบรวมเป็นสารสนเทศที่ค้นคืนได้หรือผลลัพธ์จากการค้นคืน ซึ่งผู้ใช้ต้องพิจารณาอีกครั้งว่าตรงกับความต้องการหรือไม่  การจับคู่เป็นหน้าที่ของระบบค้นคืนสารสนเทศในขณะที่การป้อนคำค้นเข้าสู่ระบบค้นคืนสารสนเทศเป็นหน้าที่ของผู้ใช้ การป้อนคำค้นเข้าสู่ระบบนั้น ผู้ใช้ต้องเลือกใช้คำสั่งเพื่อการค้นคืนของระบบค้นคืนซึ่งในแต่ละระบบมีลักษณะแตกต่างกันไป

องค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนของระบบค้นคืนสารสนเทศ คือทรัพยากร ผู้ใช้ และการจับคู่ ร่วมกันดำเนินการในกระบวนการค้นคืนสารสนเทศโดยผู้ใช้ซึ่งมีความต้องการสารสนเทศกำหนดคำค้นแทนความต้องการสารสนเทศ ระบบการค้นคืนสารสนเทศทำหน้าที่จับคู่ระหว่างคำค้นกับดรรชนีในเครื่องมือช่วยค้นของทรัพยากรสารสนเทศ ผลที่ได้รับคือสารสนเทศที่ค้นคืนได้ ซึ่งหากการดำเนินการในแต่ละขั้นตอนอย่างถูกต้องและเหมาะสมแล้วสารสนเทศที่ค้นคืนได้ย่อมเกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้ด้วยเหตุนี้ การค้นคืนสารสนเทศจึงเป็นกระบวนการในการค้นสารสนเทศของผู้ใช้ โดยมีเป้าหมายเพื่อชี้ หรือระบุสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้

ที่มา: http://seashore.buu.ac.th/~50124473/245271/.../google-week01.ppt
http://jittpanyaphong.tripod.com/Page3.html

guest profile guest
การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศสารสนเทศ 

คือ ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ที่ได้ถูกบันทึก ประมวลผล และนำออกเผยแพร่เป็นประโยชน์ต่อส่วนบุคคลและสังคม ก่อนนำออกเผยแพร่นั้นสถาบันบริการสารสนเทศ จะมีกระบวนการในการจัดเก็บสารสนเทศ (information storage) ซึ่งเป็นกระบวนการในการคัดเลือกสารสนเทศ ทั้งจากแหล่งภายใน และภายนอกสถาบันรนำมาวิเคราะห์จัดหมวดหมู่ควบคุมโครงสร้าง จัดทำสื่อการจัดเก็บไม่ว่าจะเป็นด้วยแรงมนุษย์หรือด้วยเครื่องจักร สำหรับการค้นหาและค้นคืนสารสนเทศ (information retrieval) ซึ่งเป็นกระบวนการในการค้นสารสนเทศสำหรับผู้ใช้โดยมีเป้าหมายเพื่อชี้หรือระบุหรือดึงสารสนเทศเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้ออกมาจากที่จัดเก็บ เมื่อผู้ใช้ได้แหล่งสารสนเทศที่ต้องการขั้นตอนต่อไปคือ การถ่ายโอนสารสนเทศ (information transfer) หมายถึง การที่สารสนเทศที่ค้นพบ ได้รับการเปิดเผยหรือส่งต่อไปยังบุคคลอื่นที่ต้องการ

การค้นคืน ( retrieve ) 

        หมายถึง  การได้รับสิ่งที่ต้องการกลับคืนมา การค้นคืนสารสนเทศ (information retrieval)  จึงเป็นการการกระทำใดๆ ที่ให้ได้รับสารนิเทศที่ต้องการ ซึ่งอาจเป็นข้อมูลหรือรายการเอกสารซึ่งบรรจุเนื้อหาที่ต้องการ และส่งให้กับผู้รับอย่างรวดเร็ว

ระบบค้นคืนสารสนเทศ 

หมายถึง ระบบที่ได้รับการออกแบบเพื่อวัตถุประสงค์ในการค้นคืนสารสนเทศที่จัดเก็บอยู่ในระบบนั้น ซึ่งอาจค้นโดยแรงงานคน หรือคอมพิวเตอร์ก็ได้

หน้าที่ของระบบการค้นคืนสารสนเทศ เพื่อช่วยแก้ปัญหาการติดตามสารนิเทศใหม่ๆ ซึ่งมีปริมาณเพิ่มขึ้น ระบบสารสนเทศจะช่วยค้น คัดเลือก และกล่นกรองสารนิเทศที่เกี่ยวของ เพื่อการใช้ประโยชน์ต่อไป  ในทัศนของ Lancaster ระบบสารสนเทศมีหน้าที่จัดหา จัดระเบียบและควบคุมเพื่อให้มีการเข้าถึงสารนิเทศ

 

สรุป  ระบบการค้นคืนสารสนเทศระบบ คือ สารนิเทศที่ทำหน้าที่นำเสนอและแจกจ่ายสารนิเทศแก่ผู้ที่ต้องการ ซึ่งระบบสารนิเทศประกอบด้วยระบบการดำเนินงานย่อยๆ 5 ระบบ คือ                                                  

1.  การคัดเลือก  เป็นการการรวบรวมสารนิเทศตามเกณฑ์และนโยบายที่กำหนดไว้ ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้                                                                                         2.  การวิเคราะห์เอกสาร  ได้แก่การจัดหมวดหมู่ การจัดทำรายการ  การทำดรรชนี และการทำสารสังเขป
3.  การจัดระเบียบ ในระบบสารนิเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล จะมีการจัดระเบียบแฟ้มข้อมูล โดยทั่วไปจะเรียงลำดับเลขทะเบียน
4.   การค้นคืน เป็นกระบวนการสำคัญในการประเมินศักยภาพของระบบสารนิเทศ เป็นจุดเริ่มต้นของการค้นคืน online  เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ คือ ขั้นตอนการวิเคราะห์แนวคิด  และขั้นตอนการกำหนดศัพท์ หลังจากนั้นก็นำคำศัพท์ไปดำเนินการค้น ถ้าคำศัพท์ตรงกับดรรชนีคำค้นของเอกสารนั้น จะได้รับเอกสารจำนวนหนึ่ง หรือผู้ค้นจะทำการปรับปรุงเอกสารให้เป็นที่พอใจของผู้ใช้บริการ
5.   การแจกจ่าย เป็นการนำส่งผลการค้นคืนให้แก่ผู้ใช้ ที่มีความต้องการเอกสารเอกสารในเรื่องนั้นๆ โดยทั่วไปคือ รายการอ้างอิงทางบรรณานุกรม โดยการสืบค้นสารสนเทศจะสิ้นสุดเมื่อผู้สืบค้นสารสนเทศได้รับเอกสารเหล่านั้นเรียบร้อยแล้ว องค์ประกอบเหล่านี้เป็นเป็นกิจกรรมทางสติปัญญาซึ่งดำเนินการโดยคน มิใช่เครื่องจักร หรือเรียบอีกนัยหนึ่งว่า ประสิทธิภาพของระบบค้นคืนสารนิเทศ จึงขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ สามารถจำแนกได้ 2 กลุ่มก็คือ
       -   องค์ประกอบด้านฐานข้อมูล คือเอกสารที่จัดเก็บความละเอียดของดรรชนี  ความเพียงพอของคำศัพท์ ในระบบที่ใช้แทนเนื้อหาของเอกสาร
-   องค์ประกอบด้านการใช้ระบบ คือ ความเข้าใจของนักเอกสารสนเทศ ในเรื่องความต้องการของผู้ใช้

รูปแบบของระบบค้นคืนสารนิเทศ

ระบบค้นคืนสารนิเทศสามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ

1. ระบบค้นคืนที่ให้คำถาม – คำตอบ เป็นการบริการค้นคำตอบสำหรับคำถามที่ต้องการคำตอบ ที่เป็นข้อเท็จจริง

2. ระบบค้นคืนที่ให้ข้อมูลเป็นตัวเลข คือ สัญญาลักษณ์  เป็นระบบจัดเก็บข้อมูลทางฟิสิกส์ เคมี สำมะโนประชากร เป็นต้น

3. ระบบค้นคืนข้อความจากวารสาร เป็นระบบที่จัดเก็บตัวเนื้อหาเอกสารและสามารถเรียกข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งของเอกสารได้ เช่น ฐานข้อมูลทางกฎหมาย เป็นต้น

 


 องค์ประกอบพื้นฐาน 3  ส่วน คือ

 

 

 

1. ทรัพยากรสารสนเทศ

2. ผู้ใช้ 

3. การจับคู่ระหว่างความต้องการสารสนเทศ ของผู้ใช้กับทรัพยากรสารสนเทศ

1. ทรัพยากรสารสนเทศ

            ระบบค้นคืนสารสนเทศจะต้องรวบรวมและจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศสำหรับผู้ใช้โดยคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ และทำเครื่องมือช่วยค้น

        1.1 การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
1.2 การทำเครื่องมือช่วยค้น

      1.1 การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ  ต้องคัดเลือกสารสนเทศที่จะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้  หรือเกิดประโยชน์ แก่ผู้ใช้ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมายของหน่วยงานนั้นๆ เช่น กลุ่มผู้ใช้เป็นนักธุรกิจ นักการเมือง นิสิต นักศึกษา นักเรียน หรือผู้บริหาร เป็นต้น

         1.2 การทำเครื่องมือช่วยค้น หลังจากคัดเลือกแล้ว จะต้องดำเนินการเพื่อให้ค้นคืนได้ โดยการทำเครื่องมือช่วยค้น ซึ่งมีหลายประเภท เช่น รวมรายการทรัพยากรสารสนเทศ หรือนิยมเรียกว่า แค็ตตาล็อก (catalogue หรือ catalog) และดรรชนีวารสาร

2. ผู้ใช้   

        ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้นั้นจำแนได้เป็น 2 ลักษณะ คือ ต้องการสารสนเทศที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

3.การจับคู่

การจับคู่ เป็นการเปรียบเทียบคำค้นที่แทนความต้องการของผู้ใช้ กับดรรชนีในเครื่องมือช่วยค้น  หากศัพท์ทั้ง 2 กลุ่มนี้ตรงกันทรัพยากรสารสนเทศเหล่านี้จะถูกรวบรวมเป็นสารสนเทศที่ค้นคืนได้หรือผลลัพธ์จากการค้นคืน ซึ่งผู้ใช้ต้องพิจารณาอีกครั้งว่าตรงกับความต้องการหรือไม่  การจับคู่เป็นหน้าที่ของระบบค้นคืนสารสนเทศในขณะที่การป้อนคำค้นเข้าสู่ระบบค้นคืนสารสนเทศเป็นหน้าที่ของผู้ใช้ การป้อนคำค้นเข้าสู่ระบบนั้น ผู้ใช้ต้องเลือกใช้คำสั่งเพื่อการค้นคืนของระบบค้นคืนซึ่งในแต่ละระบบมีลักษณะแตกต่างกันไป

องค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนของระบบค้นคืนสารสนเทศ คือทรัพยากร ผู้ใช้ และการจับคู่ ร่วมกันดำเนินการในกระบวนการค้นคืนสารสนเทศโดยผู้ใช้ซึ่งมีความต้องการสารสนเทศกำหนดคำค้นแทนความต้องการสารสนเทศ ระบบการค้นคืนสารสนเทศทำหน้าที่จับคู่ระหว่างคำค้นกับดรรชนีในเครื่องมือช่วยค้นของทรัพยากรสารสนเทศ ผลที่ได้รับคือสารสนเทศที่ค้นคืนได้ ซึ่งหากการดำเนินการในแต่ละขั้นตอนอย่างถูกต้องและเหมาะสมแล้วสารสนเทศที่ค้นคืนได้ย่อมเกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้ด้วยเหตุนี้ การค้นคืนสารสนเทศจึงเป็นกระบวนการในการค้นสารสนเทศของผู้ใช้ โดยมีเป้าหมายเพื่อชี้ หรือระบุสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้

 

 

 

 

http://stouis4.blogspot.com/2007/06/13703-1.html
http://planet.kapook.com/peebom/blog/viewnew/65121

 

guest profile guest
การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศสารสนเทศ 

คือ ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ที่ได้ถูกบันทึก ประมวลผล และนำออกเผยแพร่เป็นประโยชน์ต่อส่วนบุคคลและสังคม ก่อนนำออกเผยแพร่นั้นสถาบันบริการสารสนเทศ จะมีกระบวนการในการจัดเก็บสารสนเทศ (information storage) ซึ่งเป็นกระบวนการในการคัดเลือกสารสนเทศ ทั้งจากแหล่งภายใน และภายนอกสถาบันรนำมาวิเคราะห์จัดหมวดหมู่ควบคุมโครงสร้าง จัดทำสื่อการจัดเก็บไม่ว่าจะเป็นด้วยแรงมนุษย์หรือด้วยเครื่องจักร สำหรับการค้นหาและค้นคืนสารสนเทศ (information retrieval) ซึ่งเป็นกระบวนการในการค้นสารสนเทศสำหรับผู้ใช้โดยมีเป้าหมายเพื่อชี้หรือระบุหรือดึงสารสนเทศเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้ออกมาจากที่จัดเก็บ เมื่อผู้ใช้ได้แหล่งสารสนเทศที่ต้องการขั้นตอนต่อไปคือ การถ่ายโอนสารสนเทศ (information transfer) หมายถึง การที่สารสนเทศที่ค้นพบ ได้รับการเปิดเผยหรือส่งต่อไปยังบุคคลอื่นที่ต้องการ

การค้นคืน ( retrieve ) 

        หมายถึง  การได้รับสิ่งที่ต้องการกลับคืนมา การค้นคืนสารสนเทศ (information retrieval)  จึงเป็นการการกระทำใดๆ ที่ให้ได้รับสารนิเทศที่ต้องการ ซึ่งอาจเป็นข้อมูลหรือรายการเอกสารซึ่งบรรจุเนื้อหาที่ต้องการ และส่งให้กับผู้รับอย่างรวดเร็ว

ระบบค้นคืนสารสนเทศ 

หมายถึง ระบบที่ได้รับการออกแบบเพื่อวัตถุประสงค์ในการค้นคืนสารสนเทศที่จัดเก็บอยู่ในระบบนั้น ซึ่งอาจค้นโดยแรงงานคน หรือคอมพิวเตอร์ก็ได้

หน้าที่ของระบบการค้นคืนสารสนเทศ เพื่อช่วยแก้ปัญหาการติดตามสารนิเทศใหม่ๆ ซึ่งมีปริมาณเพิ่มขึ้น ระบบสารสนเทศจะช่วยค้น คัดเลือก และกล่นกรองสารนิเทศที่เกี่ยวของ เพื่อการใช้ประโยชน์ต่อไป  ในทัศนของ Lancaster ระบบสารสนเทศมีหน้าที่จัดหา จัดระเบียบและควบคุมเพื่อให้มีการเข้าถึงสารนิเทศ

 

สรุป  ระบบการค้นคืนสารสนเทศระบบ คือ สารนิเทศที่ทำหน้าที่นำเสนอและแจกจ่ายสารนิเทศแก่ผู้ที่ต้องการ ซึ่งระบบสารนิเทศประกอบด้วยระบบการดำเนินงานย่อยๆ 5 ระบบ คือ                                                  

1.  การคัดเลือก  เป็นการการรวบรวมสารนิเทศตามเกณฑ์และนโยบายที่กำหนดไว้ ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้                                                                                         2.  การวิเคราะห์เอกสาร  ได้แก่การจัดหมวดหมู่ การจัดทำรายการ  การทำดรรชนี และการทำสารสังเขป
3.  การจัดระเบียบ ในระบบสารนิเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล จะมีการจัดระเบียบแฟ้มข้อมูล โดยทั่วไปจะเรียงลำดับเลขทะเบียน
4.   การค้นคืน เป็นกระบวนการสำคัญในการประเมินศักยภาพของระบบสารนิเทศ เป็นจุดเริ่มต้นของการค้นคืน online  เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ คือ ขั้นตอนการวิเคราะห์แนวคิด  และขั้นตอนการกำหนดศัพท์ หลังจากนั้นก็นำคำศัพท์ไปดำเนินการค้น ถ้าคำศัพท์ตรงกับดรรชนีคำค้นของเอกสารนั้น จะได้รับเอกสารจำนวนหนึ่ง หรือผู้ค้นจะทำการปรับปรุงเอกสารให้เป็นที่พอใจของผู้ใช้บริการ
5.   การแจกจ่าย เป็นการนำส่งผลการค้นคืนให้แก่ผู้ใช้ ที่มีความต้องการเอกสารเอกสารในเรื่องนั้นๆ โดยทั่วไปคือ รายการอ้างอิงทางบรรณานุกรม โดยการสืบค้นสารสนเทศจะสิ้นสุดเมื่อผู้สืบค้นสารสนเทศได้รับเอกสารเหล่านั้นเรียบร้อยแล้ว องค์ประกอบเหล่านี้เป็นเป็นกิจกรรมทางสติปัญญาซึ่งดำเนินการโดยคน มิใช่เครื่องจักร หรือเรียบอีกนัยหนึ่งว่า ประสิทธิภาพของระบบค้นคืนสารนิเทศ จึงขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ สามารถจำแนกได้ 2 กลุ่มก็คือ
       -   องค์ประกอบด้านฐานข้อมูล คือเอกสารที่จัดเก็บความละเอียดของดรรชนี  ความเพียงพอของคำศัพท์ ในระบบที่ใช้แทนเนื้อหาของเอกสาร
-   องค์ประกอบด้านการใช้ระบบ คือ ความเข้าใจของนักเอกสารสนเทศ ในเรื่องความต้องการของผู้ใช้

รูปแบบของระบบค้นคืนสารนิเทศ

ระบบค้นคืนสารนิเทศสามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ

1. ระบบค้นคืนที่ให้คำถาม – คำตอบ เป็นการบริการค้นคำตอบสำหรับคำถามที่ต้องการคำตอบ ที่เป็นข้อเท็จจริง

2. ระบบค้นคืนที่ให้ข้อมูลเป็นตัวเลข คือ สัญญาลักษณ์  เป็นระบบจัดเก็บข้อมูลทางฟิสิกส์ เคมี สำมะโนประชากร เป็นต้น

3. ระบบค้นคืนข้อความจากวารสาร เป็นระบบที่จัดเก็บตัวเนื้อหาเอกสารและสามารถเรียกข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งของเอกสารได้ เช่น ฐานข้อมูลทางกฎหมาย เป็นต้น

 


 องค์ประกอบพื้นฐาน 3  ส่วน คือ

 

 

 

 

 

1. ทรัพยากรสารสนเทศ

2. ผู้ใช้ 

3. การจับคู่ระหว่างความต้องการสารสนเทศ ของผู้ใช้กับทรัพยากรสารสนเทศ

1. ทรัพยากรสารสนเทศ

            ระบบค้นคืนสารสนเทศจะต้องรวบรวมและจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศสำหรับผู้ใช้โดยคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ และทำเครื่องมือช่วยค้น

        1.1 การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
1.2 การทำเครื่องมือช่วยค้น

      1.1 การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ  ต้องคัดเลือกสารสนเทศที่จะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้  หรือเกิดประโยชน์ แก่ผู้ใช้ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมายของหน่วยงานนั้นๆ เช่น กลุ่มผู้ใช้เป็นนักธุรกิจ นักการเมือง นิสิต นักศึกษา นักเรียน หรือผู้บริหาร เป็นต้น

         1.2 การทำเครื่องมือช่วยค้น หลังจากคัดเลือกแล้ว จะต้องดำเนินการเพื่อให้ค้นคืนได้ โดยการทำเครื่องมือช่วยค้น ซึ่งมีหลายประเภท เช่น รวมรายการทรัพยากรสารสนเทศ หรือนิยมเรียกว่า แค็ตตาล็อก (catalogue หรือ catalog) และดรรชนีวารสาร

2. ผู้ใช้   

        ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้นั้นจำแนได้เป็น 2 ลักษณะ คือ ต้องการสารสนเทศที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

3.การจับคู่

การจับคู่ เป็นการเปรียบเทียบคำค้นที่แทนความต้องการของผู้ใช้ กับดรรชนีในเครื่องมือช่วยค้น  หากศัพท์ทั้ง 2 กลุ่มนี้ตรงกันทรัพยากรสารสนเทศเหล่านี้จะถูกรวบรวมเป็นสารสนเทศที่ค้นคืนได้หรือผลลัพธ์จากการค้นคืน ซึ่งผู้ใช้ต้องพิจารณาอีกครั้งว่าตรงกับความต้องการหรือไม่  การจับคู่เป็นหน้าที่ของระบบค้นคืนสารสนเทศในขณะที่การป้อนคำค้นเข้าสู่ระบบค้นคืนสารสนเทศเป็นหน้าที่ของผู้ใช้ การป้อนคำค้นเข้าสู่ระบบนั้น ผู้ใช้ต้องเลือกใช้คำสั่งเพื่อการค้นคืนของระบบค้นคืนซึ่งในแต่ละระบบมีลักษณะแตกต่างกันไป

องค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนของระบบค้นคืนสารสนเทศ คือทรัพยากร ผู้ใช้ และการจับคู่ ร่วมกันดำเนินการในกระบวนการค้นคืนสารสนเทศโดยผู้ใช้ซึ่งมีความต้องการสารสนเทศกำหนดคำค้นแทนความต้องการสารสนเทศ ระบบการค้นคืนสารสนเทศทำหน้าที่จับคู่ระหว่างคำค้นกับดรรชนีในเครื่องมือช่วยค้นของทรัพยากรสารสนเทศ ผลที่ได้รับคือสารสนเทศที่ค้นคืนได้ ซึ่งหากการดำเนินการในแต่ละขั้นตอนอย่างถูกต้องและเหมาะสมแล้วสารสนเทศที่ค้นคืนได้ย่อมเกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้ด้วยเหตุนี้ การค้นคืนสารสนเทศจึงเป็นกระบวนการในการค้นสารสนเทศของผู้ใช้ โดยมีเป้าหมายเพื่อชี้ หรือระบุสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้

 

 

 

 

 

 

http://stouis4.blogspot.com/2007/06/13703-1.html
http://planet.kapook.com/peebom/blog/viewnew/65121

 

guest profile guest

องค์ประกอบของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ


การจัดเก็บและการค้นคืน (
knowledge storage and retrieval) องค์กรต้องกำหนดสิ่งสำคัญที่จะเก็บไว้เป็นองค์ความรู้ และต้องพิจารณาถึงวิธีการในการรักษา และการนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ตามความต้องการ องค์กรต้องเก็บรักษาสิ่งที่องค์กรเรียกว่าเป็นความรู้ไว้ให้ดีที่สุด ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลสารสนเทศ ตลอดจนผลสะท้อนกลับ การวิจัยและ การทดลอง การจัดเก็บเกี่ยวกับด้านเทคนิค เช่น การบันทึกเป็นฐานข้อมูล หรือการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน รวมทั้งที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางมนุษย์ด้วย เช่น  การสร้างและการจดจำของปัจเจกบุคคล เป็นต้น ทั้งนี้การสะสมความรู้ องค์กรควรคำนึงถึง โครงสร้างการจัดเก็บความรู้ ควรเป็นระบบที่สามารถค้นหาและส่งมอบได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ทันเวลาและเหมาะสมกับความต้องการ และจัดให้มีการจำแนกรายการต่าง ๆ ที่อยู่บนพื้นฐานความจำเป็นในการเรียนรู้ องค์กรต้องพิจารณาความแตกต่างของกลุ่มคนในการค้นคืนความรู้ ต้องมีการจัดหมวดหมู่ตามองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ตามวัตถุประสงค์ของงาน ความชำนาญของผู้ใช้ เป็นต้น และองค์กรต้องหาวิธีทำให้พนักงานทราบถึงช่องทางหรือวิธีการสำหรับค้นหาความรู้ เช่น การทำสมุดจัดเก็บรายชื่อ และทักษะของผู้เชี่ยวชาญ เครือข่ายการทำงานตามลำดับชั้น การประชุม การฝึกอบรม เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะนำไปสู่การถ่ายทอดความรู้ในองค์กร 

 

การค้นสารสนเทศโดยมีเป้าหมายเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ตรงกับความต้องการนั้น ต้องอาศัยกระบวนการสำคัญอย่างหนึ่งช่วยดึงสารสนเทศเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้ออกมาจากที่จัดเก็บกระบวนการดังกล่าว คือ การค้นคืนสารสนเทศ (Information retrieval) หมายถึง กระบวนการในการค้นสารสนเทศโดยมีเป้าหมายเพื่อชี้หรือระบุสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ กระบวนการค้นสารสนเทศจะดำเนินไปได้จนบรรลุเป้าหมายนั้น ต้องอาศัยทรัพยากรสารสนเทศที่ได้รวบรวม จัดเก็บและจัดทำเครื่องมือช่วยค้นอย่างเป็นระบบเอื้อต่อการค้น ต้องมีผู้ใช้ซึ่งมีความต้องการสารสนเทศ และทำการค้นสารสนเทศตามที่ต้องการ ในขณะที่ผู้ใช้ค้นสารสนเทศนั้นกระบวนการค้นคืนสารสนเทศจะจับคู่ระหว่างความต้องการ สารสนเทศของผู้ใช้กับทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศส่วนหนึ่งที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้จะถูกจำแนกออกจากทรัพยากรทั้งหมด เป็นสารสนเทศที่ค้นคืนได้ (retrieved information)

 


ความสำคัญของการค้นคืนสารสนเทศ

ในยุคที่สารสนเทศมีจำนวนมาก มีความหลากหลายทั้งด้านรูปแบบและเนื้อหา เนื่องมาจากการศึกษาและวิทยาการต่าง ๆ ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว และสารสนเทศเหล่านี้อยู่กระจัดกระจายตามองค์กรและสถาบันต่าง ๆ ทั่วทุกมุมโลก การค้นคืนสารสนเทศจึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการเข้าถึงและได้สารสนเทศที่ต้องการ

การค้นคืนสารเทศ ช่วยให้มนุษย์ได้รับสารสนเทศที่ต้องการ อย่างถูกต้อง ครอบคลุม สะดวกและรวดเร็วการได้รับสารสนเทศที่ถูกต้อง   ครอบคลุมและทันเวลาย่อมส่งผลต่อความสำเร็จในกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาค้นคว้า วิจัย ปฏิบัติงาน วางแผน หรือตัดสินใจ

 


องค์ประกอบของการค้นคืนสารสนเทศ

องค์ประกอบพื้นฐาน 3  ส่วน คือ

  1. ทรัพยากรสารสนเทศ

  2. ผู้ใช้ 

  3. การจับคู่ระหว่างความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้กับทรัพยากรสารสนเทศ

 


1. ทรัพยากรสารสนเทศ
ระบบค้นคืนสารสนเทศจะต้องรวบรวมและจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศสำหรับผู้ใช้โดยคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ และทำเครื่องมือช่วยค้น

1.1 การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ

 ต้องคัดเลือกสารสนเทศที่จะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้  หรือเกิดประโยชน์ แก่ผู้ใช้ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมายของหน่วยงานนั้นๆ เช่น กลุ่มผู้ใช้เป็นนักธุรกิจ นักการเมืองสิสิต นักศึกษา นักเรียน หรือผู้บริหาร เป็นต้น

1.2 การทำเครื่องมือช่วยค้น

หลังจากคัดเลือกแล้ว จะต้องดำเนินการเพื่อให้ค้นคืนได้ โดยการทำเครื่องมือช่วยค้น ซึ่งมีหลายประเภท เช่น รวมรายการทรัพยากรสารสนเทศ หรือนิยมเรียกว่า แค็ตตาล็อก (catalogue หรือ catalog) และดรรชนีวารสาร

 


2. ผู้ใช้

ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้นั้นจำแนกได้เป็น 2  ลักษณะคือ

2.1. ผู้ใช้ทราบบางส่วนของสารสนเทศ เช่น  ชื่อผู้แต่ง หรือ ชื่อเรื่องแล้ว

2.2. ต้องการสารสนเทศที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

 


3.การจับคู่

การจับคู่ เป็นการเปรียบเทียบคำค้นที่แทนความต้องการของผู้ใช้ กับดรรชนีในเครื่องมือช่วยค้น  หากศัพท์ทั้ง 2 กลุ่มนี้ตรงกันทรัพยากรสารสนเทศเหล่านี้จะถูกรวบรวมเป็นสารสนเทศที่ค้นคืนได้หรือผลลัพธ์จากการค้นคืน ซึ่งผู้ใช้ต้องพิจารณาอีกครั้งว่าตรงกับความต้องการหรือไม่ การจับคู่เป็นหน้าที่ของระบบค้นคืนสารสนเทศในขณะที่การป้อนคำค้นเข้าสู่ระบบค้นคืนสารสนเทศเป็นหน้าที่ของผู้ใช้ การป้อนคำค้นเข้าสู่ระบบนั้น ผู้ใช้ต้องเลือกใช้คำสั่งเพื่อการค้นคืนของระบบค้นคืนซึ่งในแต่ละระบบมีลักษณะแตกต่างกันไป

 


องค์ประกอบทั้ง
3 ส่วนของระบบค้นคืนสารสนเทศ คือทรัพยากร ผู้ใช้ และการจับคู่ ร่วมกันดำเนินการในกระบวนการค้นคืนสารสนเทศโดยผู้ใช้ซึ่งมีความต้องการสารสนเทศกำหนดคำค้นแทนความต้องการสารสนเทศ ระบบการค้นคืนสารสนเทศทำหน้าที่จับคู่ระหว่างคำค้นกับดรรชนีในเครื่องมือช่วยค้นของทรัพยากรสารสนเทศ ผลที่ได้รับคือสารสนเทศที่ค้นคืนได้ ซึ่งหากการดำเนินการในแต่ละขั้นตอนอย่างถูกต้องและเหมาะสมแล้วสารสนเทศที่ค้นคืนได้ย่อมเกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้ด้วยเหตุนี้ การค้นคืนสารสนเทศจึงเป็นกระบวนการในการค้นสารสนเทศของผู้ใช้ โดยมีเป้าหมายเพื่อชี้ หรือระบุสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้

 

 

 






ที่มา

  http://www.kmi.trf.or.th/document/aboutKM/abount.KM.pdf

  http://www.google.co.th/#hl=th&q=%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8.+%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99+3+%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99+%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD.+%40+%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8+...+&aq=&aqi=&aql=&oq=&gs_rfai=&fp=79434384fc6d605b

 

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน

13 ปีที่ผ่านมา
13 ปีที่ผ่านมา