เทคนิคการค้นหาข้อมูล

cl_km profile image cl_km
เทคนิคการค้นหาข้อมูล
ความคิดเห็น
guest profile guest

เนื่องจากปัจจุบันมีเว็บไซต์เพิ่มมากขึ้น ทำให้เสียเวลาและยุ่งยากต่อการค้นหาข้อมูล(Search Enging)บนอินเทอร์เน็ตเพราะถ้าเรากรอกคำที่ต้องการค้นหาลงในเคื่รองมือสืบค้นโดยไม่มีเทคนิคการค้นหา ก็จะพบว่า ผลลัพธ์ที่หานั้นมีจำนวนมากเกินไป ดิฉันจึงอยากจะขอเสนอวิธีค้นหาข้อมูลจาก Google

            1. พยายามใช้เครื่งมือสืบค้น ซึ่งรวบรวมรวมข้อมูลที่ตรงกับข้อมูลที่ต้องการค้นหามากที่สุด เช่นถ้าต้องการค้นหารูปภาพก็ให้ค้นหาเว็บที่รวบรวมรูปภาพ

           ตัวอย่างเช่น การค้นหาคลิปวิดีโอที่เกี่ยวกับ  Robot                

    1. เข้าไปยังเว็บไซต์  video.google.com แล้วกรอกคำสำคัญที่ต้องการค้นหาในที่นี้เลือกค้นหา  Robot  
2. คลิกปุ่ม Search Video  
3. จะปรากฏเว็ปของคลิปวิดีโอที่ต้องการขึ้นมา

           2. อ่านคำเนะนำในการใช้เครื่องมือสืบค้นของแต่ละเว็บไซต์ เพราะเครื่องมือของแต่ละเว็บไซต์จะมีความแตกต่างกันในการค้นหา

           3. ไม่ควรยึดติดกับการค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์เพียงเว็บไซต์เดียว

           4. ให้พิมพ์เฉพาะคำสำคัญที่ต้องการสืบค้น ถ้าข้อมูลที่ต้องการค้นหามีความยาวก็ให้ใช้ Space เพื่อแยกคำสำคัญ และอย่าพิมพ์ข้อมูลที่ต้องการค้นหาหมดทุดคำเพราะจะหาไม่เจอ

            5. เลือกใชเครื่องหมาย +, -, * ," " ในการสืบค้นดังนี้ 
 - เครื่องหมาย (+) ใช้สำหรับค้นหาคำทั้งหมดที่ต้องการระบุ เช่น ท่องเที่ยว+เขาใหญ่ หมายถึงให้ค้นหาข้อมูลที่มีคำท่องเที่ยวและคำว่าเขาใหญ่อยู่ด้วยกันแต่ไม่จำเป็นต้องอยู่ติดกัน
- เครื่องหมาย (-) ใช้สำหรับยกเว้นคำที่สืบค้น เช่น ท่องเที่ยว-เขาใหญ่ หมายถึงให้ค้นหาข้อมูลที่มีคำว่าท่องเที่ยวยกเว้นคำว่าเขาใหญ่ 
- เครื่องหมายดอกจัน (*) ใช้สำหรับค้นกหาคำขึ้นต้นที่เหมือนกัน เช่น กรมการ* จะให้ผลลัพธ์เป็นกรรมการพัฒนาชุมชน กรมการปรกครอง กรมศาสนา กรมการค้า เป็นต้น
- เครื่องหมายคำพูด (" ") ใช้สำหรับคำที่เป็นวลี หรือกลุ่ม คำเช่น "ปรีด  พนมยงค์" จะค้นหากลู่มคำ ปรีดี พนมยงค์ อยู่ด้วยกันเป็นกลู่มคำ

guest profile guest

เทคนิคการค้นหาข้อมูลด้วยการใส่คีย์เวิร์ด

 

เทคนิคการค้นหาข้อมูลด้วยการใส่คีย์เวิร์ดต่างๆ ได้แก่

           1. ระบุคีย์เวิร์ดไปมากๆ ให้ครอบคลุมทั้งหมด    เช่น เราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับภาพยนตร์เรื่อง  The Beach   ถ้ากรอกให้ครอบคลุมดังนี้    The Beach movie Leonado

           2. เครื่องหมาย  “ และ    เข้าช่วย    เราจะใช้เครื่องหมาย   “ และ ”  ครอบคำหรือกลุ่มคำที่ต้องการเฉพาะที่อยู่ในเครื่องหมาย    เช่น  “Java programming tutorial”

           3. บีบขอบเขตข้อมูลให้กระชับเข้าด้วยการใช้  Directory    การใช้คีย์เวิร์ดอย่างเดียวอาจทำให้ได้ข้อมูลที่มากเกินไป   หรือมีโอกาสที่จะเบี่ยงเบนจากที่เราต้องการไปมาก   จากปัญหานี้มี Internet Service Directory   หลายๆ แห่งมีการจัดหมวดหมู่ไว้ให้

           4. การใช้เครื่องหมายพิเศษช่วยในการค้นหา    เป็นการใส่ตัวกรอง (Filter) ในการค้นหาซึ่งทำได้หลายแบบ    เช่น

                       - การใช้เครื่องหมาย  +   นำหน้าคีย์เวิร์ด    เพื่อบังคับให้ผลการค้นหาที่ได้ต้องมีข้อความที่ตรงกับคีย์เวิร์ดตัวนั้น    เช่น   เราต้องการค้นหาข้อมูลของสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล   และต้องมีข้อมูลของยอดกองหน้าไมเคิล  โอเวนอยู่ภายในด้วย   ดังนี้    Liverpool +Owen

                       - การใช้เครื่องหมาย  -   นำหน้าคีย์เวิร์ด    เพื่อบังคับให้ผลการค้นหาที่ได้ต้องไม่มีข้อความที่ตรงกับคีย์เวิร์ดตัวนั้น    เช่น   เราต้องการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเสือ   จึงใช้คีย์เวิร์ดว่า   Tiger   แต่กลัวว่าจะมีข้อมูลของ   Tiger Woods   ซึ่งเป็นนักกอร์ฟติดมาด้วย   เราจึงใช้ดังนี้     Tiger –Woods

                       - การใช้เครื่องหมายดอกจัน  ( * )   ติดกับคีย์เวิร์ด    เพื่อแสดงว่าขอให้มีเฉพาะข้อความหรือคำที่ตรงกับคีย์เวิร์ดนั้น   ที่เหลือจะเป็นอะไรก็ได้   เช่นเราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับพี่เบิร์ด  ธงไชย  แมคอินไตย์   แต่ว่าเราสะกดนามสกุลของเขาไม่ถูก   ก็สามารถทำได้ดังนี้    Tongchai Mcin*

           5. ตัวเชื่อมที่นำมาใช้เมื่อใช้หลายคำในการค้นหา   เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่เจาะจงมายิ่งขึ้น

                       AND   ค้นหาเฉพาะเว็บเพจที่มีคำทั้งสองคำอยู่ด้วยกัน

                       OR     ค้นหาเว็บเพจที่มีคำใดคำหนึ่ง  หรือมีทั้งสองคำ

                       NOT   ค้นหาคำที่ไม่มีคำนี้อยู่

แหล่งที่มาhttp://www.jd.in.th/e_learning/media/make_media_bynet/html/search_text.htm

guest profile guest
เทคนิคการค้นหาข้อมูล

เทคนิคการค้นหาให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

๑. บีบประเด็นให้แคบลง   หัวข้อเรื่องที่ต้องการค้นหาต้องพยายามบีบประเด็นให้แคบลง เช่น ต้องการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะหาโดยใช้คำว่า คอมพิวเตอร์ หรือ Computer นี้ค้นหา เพื่อลองดูเนื้อหากว้างๆ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ว่ามีเรื่องใดบ้าง จากนั้นก็บีบหัวข้อเรื่องลง โดยอาจจะเลือกจากหัวข้อที่เว็บไซต์นั้นจัดทำ หรืออาจจะพิมพ์ข้อความเพื่อค้นหาอีกครั้ง

๒. การใช้คำที่ใกล้เคียง   ควรค้นหาคำที่มีความหมายใกล้เคียงกับคำที่กำลังค้นหาด้วย เช่น ต้องการค้นเรื่องเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Computer คำที่เกี่ยวข้องที่สามารถใช้ค้นหาได้ คือ technology, IT เป็นต้น

๓. การใช้คำหลัก (Keyword)   หมายถึง คำหรือข้อความที่เราจะนึกถึงเว็บไซต์นั้นเมื่อเอ่ยถึง เช่น สสวท. จะนึกถึงเว็บไซต์ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี http://www.ipst.ac.th  หรือ schoolnet จะนึกถึงเว็บไซต์เครือข่ายโรงเรียนไทย http://www.school.net.th

๔. หลีกเลี่ยงการใช้ตัวเลข  พยายามเลี่ยงการใช้คำค้นหาที่เป็นคำเดี่ยวๆ หรือเป็นคำที่มีตัวเลขปน แต่ถ้าเลี่ยงไม่ได้ ก็อย่าลืมใส่เครื่องหมายคำพูด (" ") ลงไปด้วย เช่น "windows ๙๘"

๕. ใช้เครื่องหมายบวกและลบช่วย  ใช้เครื่องหมาย + และ - เพื่อช่วยในการค้นหา โดย + เพื่อใช้กับคำที่ต้องการใช้ในการค้นหา และ - เพื่อใช้กับคำที่ไม่ต้องการใช้ในการค้นหา

เครื่องหมาย "+"  หมายถึง การระบุให้ผลลัพธ์ของการค้นหาต้องมีคำนั้นปรากฏอยู่ในหน้าWeb Page ข้อควรระวังคือ เราจะต้องใช้เครื่องหมายบวกติดกับคำหลักนั้นเสมอ ห้ามมีช่องว่างระหว่างเครื่องหมายบวกกับคำหลัก เช่น +เศรษฐกิจ +การเมือง หมายถึง หน้าWeb Pageที่พบจะต้องปรากฏคำว่า "เศรษฐกิจ" และ "การเมือง" อยู่ในหน้าเดียวกันทั้งสองคำ หรือ +เศรษฐกิจ การเมือง สังเกตเห็นว่าที่คำว่า "การเมือง" ไม่ปรากฏเครื่องหมายบวก "+" อยู่ข้างหน้า เหมือนตัวอย่างบน หมายถึง การค้นหาหน้าเอกสารWeb Pageที่จะต้องปรากฏ คำว่า "เศรษฐกิจ" โดยในหน้าเอกสารนั้นอาจจะปรากฏหรือไม่ปรากฏคำว่า "การเมือง" ก็ได้

เครื่องหมายลบ "-" หมายถึง เป็นการระบุให้ผลลัพธ์ของการค้นหาต้องไม่ปรากฏคำนั้น อยู่ในหน้าWeb Page เช่น โรงแรม รีสอร์ท  หมายถึง หน้าWeb Page นั้นต้องมีคำว่า โรงแรม แต่ต้องไม่ปรากฎคำว่า รีสอร์ท อยู่  โดยการใช้งานต้องอยู่ในรูปของ A -B หรือ +A -B โดย A และ B เป็นคำหลักที่ต้องการค้นหา  ตัวอย่าง +มะม่วง -มะม่วงอกร่อง -มะม่วงน้ำดอกไม้ หมายถึง หน้า  Web Page พบจะต้องปรากฎคำว่า "มะม่วง" แต่ต้องไม่ปรากฏคำว่า "มะม่วงอกร่อง" และ "มะม่วงน้ำดอกไม้" อยู่ในหน้าเดียวกัน

๖. หลีกเลี่ยงภาษาพูด  Natural Language หรือเรียกง่ายๆ ว่าคำหรือข้อความที่เป็นภาษาพูด หรือเป็นประโยค ควรสรุปเป็นเพียงกลุ่มคำหรือวลี ที่มีความหมายรวมทั้งหมดไว้

Advanced Search ช่วยในการบีบประเด็นหัวข้อ ให้แคบลง ซึ่งจะทำให้ได้รายชื่อเว็บไซต์ ที่ตรงกับความต้องการของมากขึ้น  Help หรือ Site Map ช่วยในการอธิบาย Option หรือการใช้งาน/แผนผังปลีกย่อยของแต่ละเว็บไซต์


guest profile guest

  เทคนิคในการสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต

                เมื่อเราต้องการค้นหาข้อมูลบางอย่างในอินเทอร์เน็ตนั้น เราจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องบอกหรือระบุความต้องการที่จะค้นหาข้อมูลได้ถูกต้อง  ไม่ เช่นนั้นแล้วผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นหาอาจจะมีมากมาย หรือไม่ตรงกับความต้องการของเรา ดังนั้น ในการค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ตนั้นจะต้องกำหนดคำถามที่ชัดเจน  ตลอดจนใช้เทคนิคต่าง  ๆ   เข้า มาช่วย เพื่อให้ผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นหาตรงกับความต้องการมากที่สุด เทคนิคและวิธีการที่ช่วยให้การค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตประสบความสำเร็จ ได้แก่  

                1. ตั้งประเด็นให้แคบลง เนื่องจากจำนวนข้อมูลที่มีมากมายในอินเทอร์เน็ตทำให้การค้นหาได้ ผลลัพธ์เป็นจำนวนมาก ดังนั้น เราควรเริ่มทำการค้นหาทั่ว ๆ ไปก่อน เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการต่อจากนั้นจึงค่อยระบุหรือใส่ข้อมูลเพิ่มเติม เกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการลงไป เพื่อตั้งประเด็นให้ครอบคลุมมากขึ้น ซึ่งจะทำให้เราได้ข้อมูลที่ตรงความต้องการมากที่สุด

                2. ใช้สิ่งที่เรียกว่าออปชั่น (Option ) เป็นตัวช่วยในการค้นหาข้อมูล ซึ่งเว็บไซต์ที่เป็นSearch Engines ส่วนใหญ่จะมีให้อยู่แล้ว

                3. อย่าค้นหาคำที่เราต้องการเท่านั้น ควรจะค้นหาคำที่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันด้วย

                4. หลีกเลี่ยงการค้นหาคำที่เป็นคำเดี่ยว ๆ หรือมีตัวเลขปนอยู่ เช่น NT หรือ 3D แต่ถ้าต้องการค้นหาจริง ๆ จะต้องใส่เครื่องหมายคำพูดลงไปด้วย ( “ ” )

                5. พวกกลุ่มคำ หรือวลี ก็ต้องใส่เครื่องหมายคำพูดลงไปเช่นเดียวกัน

                6. หลีกเลี่ยงคำจำพวก Natural Language ( ภาษาพูด )

                7. ควรใช้สิ่งที่เรียกว่า Advanced Search หรือ Power Search เข้ามาช่วย เพราะจะ ทำให้ได้ผลลัพธ์ที่ตรงกับความต้องการของเรามากกว่าการค้นหาแบบธรรมดา การสืบค้นแบบขั้นสูง(Advanced search) เป็นการสืบค้นโดยใช้คำสำคัญเป็นคำค้นทำให้การสืบค้นสารสนเทศมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว คือ

                     7.1 ระบุคำค้นให้ตรงกับสารสนเทศที่ต้องการให้มากที่สุด

                     7.2 การค้นหาสารสนเทศ บางครั้งคำค้นอาจมีรูปคำแตกต่างกัน แต่มี

ราก ศัพท์เดียวกัน เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ครบถ้วนจึงใช้การตัดปลายคำเพื่อรวบรวมคำที่มีการสะกด ใกล้เคียงกันเหมือนกัน หรือคำพหูพจน์และเอกพจน์ โดยใช้สัญลักษณ์แทนการสืบค้นเช่น  *   ,   ?   ,   $    เป็นต้น   เช่น  Prevent * หมายถึง ให้สืบค้นคำที่มีคำว่า prevent นำหน้าส่วนตัวหลังจะเป็นอะไรก็ได้

แหล่งที่มา : http://aprilmay.blog.mthai.com/2009/06/29/public-6

guest profile guest
เทคนิคในการหาข้อมูล

ในการค้นหาข้อมูลด้วย Search Engine ส่วนใหญ่แล้วปัญหาที่ผู้ใช้งานทั่วไปมักจะพบเห็น หรือประสบอยู่เสมอๆก็คงจะหนีไปไม่พ้นข้อมูลที่ค้นหาได้มีขนาดมากจนเกินไป ดังนั้นเพื่อ ความสะดวกในการใช้งานคุณจึงน่าที่จะเรียนรู้เทคนิคต่างๆเพื่อช่วยลดหรือจำกัดคำที่ค้น หาให้แคบลงและตรงประเด็นกับเรามากที่สุด 
        1. เลือกรูปแบบการค้นหาให้ตรงกับสิ่งที่คุณต้องการมากที่สุด ส่วนจะเลือกใช้วิธีไหนก็ตามแต่คุณจะเห็นว่า เหมาะสม 
          ยกตัวอย่างเช่น ถ้าคุณต้องการจะค้นหาข้อมูลที่มีลักษณะทั่วไป ไม่ชี้ เฉพาะเจาะจง ก็ควรเลือกบริการสืบค้นข้อมูลแบบ Index อย่างของ sanook เพราะ โอกาสที่จะเจอนั้น เปอร์เซ็นต์สูงกว่าจะมานั่งสุ่มหาโดยใช้วิธีแบบ Search Engine 
         2. ใช้คำมากกว่า 1 คำที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกันช่วยค้นหา เพราะจะได้ผลลัพท์ที่มีขนาด แคบลงและชี้เฉพาะมากขึ้น(ย่อมจะดีกว่าหาคำเดียวโดดๆ) เช่น kanchanaburi+kemapat
        3. ใช้บริการของผู้ให้บริการเฉพาะด้าน เช่น การค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวของ ภาพยนตร์ก็น่าที่จะเลือกใช้  Search Engine ที่ให้บริการใหล้เคียงกับเรื่องพวกนี้ เพราะผลลัพท์ที่ได้น่าจะเป็นที่น่าพอใจกว่า
        4. ใส่เครื่องหมายคำพูดครอบคลุมกลุ่มคำที่ต้องการ เพื่อบอกกับ Search Engine ว่าเรา ต้องการผลการค้นหาที่มีคำในกลุ่มนั้นครบและตรงตามลำดับที่เราพิมพ์ทุกคำ เช่น "kemapat school" เป็นต้น 
         5. การขึ้นต้นของตัวอักษรตัวเล็กเท่ากันหมด Search Engine จะเข้าใจว่าเราต้องการ ให้มันค้นหาคำดังกล่าวแบบไม่ต้องสนใจว่าตัวอักษรที่ได้จะมีขนาดเล็กหรือใหญ่ ดังนั้นหากคุณต้องการอยากที่จะให้มันค้นหาคำตรงตามแบบที่เขียนไว้ก็ให้ใช้ตัว อักษรใหญ่แทน 
        6. ใช้ตัวเชื่อมทาง Logic หรือตรรกศาสตร์เข้ามาช่วยค้นหา มีอยู่ 3 ตัวด้วยกันคือ 
                   - AND สั่งให้หาโดยจะต้องมีคำนั้นๆ มาแสดงด้วยเท่านั้น! โดยไม่จำเป็นว่าจะต้องติดกัน เช่น
                      thailand and kanchanaburi เป็นต้น 
                   - OR สั่งให้หาโดยจะต้องนำคำใดคำหนึ่งที่พิมพ์ลงไปมาแสดง 
                   - NOT สั่งไม่ให้เลือกคำนั้นๆมาแสดง เช่น thailand and kanchanaburi not goft หมายความว่า ให้ทำการหา
                      เว็บที่เกี่ยวข้องกับ thailand และ kanchanaburi แต่ต้องไม่มี goft เป็นต้น 
        7. ใช้เครื่องหมายบวกลบคัดเลือกคำ
                   + หน้าคำที่ต้องการจริงๆ 
                   - (ลบ)ใช้นำหน้าคำที่ไม่ต้องการ 
                  () ช่วยแยกกลุ่มคำ เช่น (pentium+computer)cpu
. ใช้ * เป็นตัวร่วม เช่น com* เป็นการบอกให้หาคำที่มีคำว่า com ขึ้นหน้าส่วนด้านท้ายเป็น อะไรไม่สนใจ    *tor เป็นการให้หาคำที่ลงท้ายด้วย tor ด้านหน้าจะเป็นอะไรไม่สนใจ
guest profile guest
  
     เราลองมานึกดูว่า เว็บไซต์ต่างๆ ทั่วโลกมีมากมายเพียงใด หนึ่งล้านเว็บ พันล้านเว็บ หรือล้านล้านเว็บ คงเป็นการยากที่จะทราบได้ว่ามีเว็บอะไรบ้าง จำนวนเท่าใด และยิ่งยากไปกว่านั้นคือจะค้นหาเว็บที่เราต้องการได้อย่างไร และนั่นคือที่มาของ Search Engine เครื่องมือดีๆ ที่ช่วยในการค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต

Search Engine เป็นเครื่องมือหรือโปรแกรมในการค้นหาเว็บต่างๆ โดยมีการเก็บ รายชื่อเว็บไซต์ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ของเว็บไซต์และนำมาจัดเก็บไว้ใน server เพื่อให้สามารถค้นหาและแสดงผลได้สะดวก และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ บาง search engine อาจไม่ได้มีการเก็บข้อมูลใน server ของตัวเอง แต่อาจอาศัยข้อมูลจากเจ้าของ server นั้นๆ

ตัวอย่าง Search Engine ที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ เช่น sanook.com, siamguru.com, google.com, yahoo.com, msn.com, altavista.com, search.com เป็นต้น
วิธีการค้นหา
เพียงพิมพ์คำที่เราต้องการค้นหา หรือที่เราเรียกว่า Key Word และกดปุ่ม Search

ประโยชน์ที่ได้รับจาก Search Engine
  • ค้นหาเว็บที่ต้องการได้สะดวก รวดเร็ว
  • สามารถค้นหาแบบเจาะลึกได้ ไม่ว่าจะเป็น รูปภาพ, ข่าว, MP3 และอื่นๆ อีกมากมาย
  • สามารถค้นหาจากเว็บไซต์เฉพาะทาง ที่มีการจัดทำไว้ เช่น download.com เว็บไซต์เกี่ยวกับข้อมูลและซอร์ฟแวร์ เป็นต้น
  • มีความหลากหลายในการค้นหาข้อมูล
  • รองรับการค้นหา ภาษาไทย

guest profile guest
เทคนิดการค้นหาข้อมูลด้วย search Engine
1.ไม่ควรใช้คำสามํญในการค้นหา เช่น cat,bird เพราะเว็บไซต์ search Engine จะค้นหาโดยการค้นหาทั้งหมด ทุกเรื่องที่มีคำดังกล่าว ซึ่งมีจำนวนมาก พันๆหมื่นๆเว็บไซต์เลยทีเดียว ซึ่งจะทำให้คุณไม่ได้ข้อมูลตามที่ต้องการค้นหา
2.เลือกคำค้นหา(keyword) ให้ดีก่อนที่จะค้นหา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ต้องการอย่างรวดเร็ว
3.ใช้AND เป็นตัวเชื่อมควรจำกัดการค้นหาให้แคบลงโดยการหาคำเฉพาะมาเชื่อมโยงกับคำที่ต้องการค้นหาโดยใช้คำว่าANDเป็นคำเชื่อม
4.หาข้อมูลของกลุ่มคำได้ด้วยเคื่องหมายอัญประกาศ("_") และเครื่องหมาย(+)คุณสามารถหาข้อมูลของวลัหรือกลุ่มคำ ซึ่งเป็นคำติดๆกันสองคำขึ้นไปได้โดยใส่คำค้นหาลงในเครื่องหมายคำพูดเช่น"Cute cat" ผลที่ได้จะมีคำว่า cute cat ติดกัน
5.ใช้ORเป็นตัวเชื่อมเมื่อต้องการนำผลการค้นหาหลายคำมารวมกัน
6.ใช้Not ตัดข้อมูลที่ไม่ต้องการออกเป็นการกำจักการค้นหาให้แคบลงอีกทางหนึ่ง เมื่อคุณไม่ต้องการให้คำใคแสดงผลการค้นหา
7.ใช้Advanced Search เพื่อค้นหาแบบละเอียด ซึ่งเป็นบริการจากเว็บไซต์ทั่วไปซึ่งการค้นหาแบบนี้จะทำให้คุณได้ที่ข้อมูลที่ต้องการจำเพาะเจาะจงจริงๆซึ่งคุณสามารถกำหนดการต้องค่าต่างๆได้เองเช่นคำที่กำหนดให้แสดงหรือไม่แสดง ภาษาที่ต้องการให้แสดง ชนิดของไฟล์ที่ค้นหา

อ้างอิง www.thaicleannet.com/modules
guest profile guest
Search Engine แต่ละแห่งมีวิธีการและการจัดเก็บฐานข้อมูลที่แตกต่างกันไปตามประเภทของ Search Engine ที่แต่ละเว็บไซต์นำมาใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ดังนั้นการที่คุณจะเข้าไปหาข้อมูลหรือเว็บไซต์ โดยวิธีการ Search นั้น อย่างน้อยคุณจะต้องทราบว่า เว็บไซต์ที่คุณเข้าไปใช้บริการ ใช้วิธีการหรือ ประเภทของ Search Engine อะไร เนื่องจากแต่ละประเภทมีความละเอียดในการจัดเก็บข้อมูลต่างกันไป ที่นี้เราลองมาดูซิว่า Search Engine ประเภทใดที่เหมาะกับการค้นหาข้อมูลของคุณ

 

   

 

  1. Keyword Index   เป็นการค้นหาข้อมูล โดยการค้นจากข้อความในเว็บเพจที่ได้ผ่านการสำรวจมาแล้ว จะอ่านข้อความ ข้อมูล อย่างน้อยๆ ก็ประมาณ 200-300 ตัวอักษรแรกของเว็บเพจนั้นๆ โดยการอ่านนี้จะหมายรวมไปถึงอ่านข้อความที่อยู่ในโครงสร้างภาษา HTML ซึ่งอยู่ในรูปแบบของข้อความที่อยู่ในคำสั่ง alt ซึ่งเป็นคำสั่งภายใน TAG คำสังของรูปภาพ แต่จะไม่นำคำสั่งของ TAG อื่นๆ ในภาษา HTML และคำสั่งในภาษา JAVA มาใช้ในการค้นหา วิธีการค้นหาของ Search Engine ประเภทนี้จะให้ความสำคัญกับการเรียงลำดับข้อมูลก่อน-หลัง และความถี่ในการนำเสนอข้อมูลนั้น การค้นหาข้อมูล โดยวิธีการเช่นนี้จะมีความรวดเร็วมาก แต่มีความละเอียดในการจัดแยกหมวดหมู่ของข้อมูลค่อนข้างน้อย เนื่องจากไม่ได้คำนึงถึงรายละเอียดของเนื้อหาเท่าที่ควร แต่หากว่าคุณต้องการแนวทางด้านกว้างของข้อมูล และความรวดเร็วในการค้นหา วิธีการนี้ก็ใช้ได้ผลดี
     
  2. Subject Directories   การจำแนกหมวดหมู่ข้อมูล Search Engine ประเภทนี้ จะจัดแบ่งโดยการวิเคราะห์เนื้อหา รายละเอียด ของแต่ละเว็บเพจ ว่ามีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร โดยการจัดแบ่งแบบนี้จะใช้แรงงานคนในการพิจารณาเว็บเพจ ซึ่งทำให้การจัดหมวดหมู่ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของคนจัดหมวดหมู่แต่ละคนว่าจะจัดเก็บข้อมูลนั้นๆ อยู่ในเครือข่ายข้อมูลอะไร ดังนั้นฐานข้อมูลของ Search Engine ประเภทนี้จะถูกจัดแบ่งตามเนื้อหาก่อน แล้วจึงนำมาเป็นฐานข้อมูลในการค้นหาต่อไป การค้นหาค่อนข้างจะตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และมีความถูกต้องในการค้นหาสูง เป็นต้นว่า หากเราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์ หรือเว็บเพจที่นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Search Engine ก็จะประมวลผลรายชื่อเว็บไซต์ หรือเว็บเพจที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ล้วนๆ มาให้คุณ
     
  3. Metasearch Engines   จุดเด่นของการค้นหาด้วยวิธีการนี้ คือ สามารถเชื่อมโยงไปยัง Search Engine ประเภทอื่นๆ และยังมีความหลากหลายของข้อมูล แต่การค้นหาด้วยวิธีนี้มีจุดด้อย คือ วิธีการนี้จะไม่ให้ความสำคัญกับขนาดเล็กใหญ่ของตัวอักษร และมักจะผ่านเลยคำประเภท Natural Language (ภาษาพูด) ดังนั้น หากคุณจะใช้ Search Engine แบบนี้ละก็ ขอให้ตระหนักถึงข้อบกพร่องเหล่านี้ด้วย
     
            ดังนั้น การเลือกใช้เครื่องมือในการค้นหาจะต้องเข้าใจว่า ข้อมูลที่ต้องการค้นหานั้นมีลักษณะอย่างไร มีขอบข่ายกว้างขวางหรือแคบขนาดไหน แล้วจึงเลือกใช้เว็บไซต์ค้นหาที่ให้บริการตรงกับความต้องการของเรา
guest profile guest
Search Engine แต่ละแห่งมีวิธีการและการจัดเก็บฐานข้อมูลที่แตกต่างกันไปตามประเภทของ Search Engine ที่แต่ละเว็บไซต์นำมาใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ดังนั้นการที่คุณจะเข้าไปหาข้อมูลหรือเว็บไซต์ โดยวิธีการ Search นั้น อย่างน้อยคุณจะต้องทราบว่า เว็บไซต์ที่คุณเข้าไปใช้บริการ ใช้วิธีการหรือ ประเภทของ Search Engine อะไร เนื่องจากแต่ละประเภทมีความละเอียดในการจัดเก็บข้อมูลต่างกันไป ที่นี้เราลองมาดูซิว่า Search Engine ประเภทใดที่เหมาะกับการค้นหาข้อมูลของคุณ

 

 

  1. Keyword Index   เป็นการค้นหาข้อมูล โดยการค้นจากข้อความในเว็บเพจที่ได้ผ่านการสำรวจมาแล้ว จะอ่านข้อความ ข้อมูล อย่างน้อยๆ ก็ประมาณ 200-300 ตัวอักษรแรกของเว็บเพจนั้นๆ โดยการอ่านนี้จะหมายรวมไปถึงอ่านข้อความที่อยู่ในโครงสร้างภาษา HTML ซึ่งอยู่ในรูปแบบของข้อความที่อยู่ในคำสั่ง alt ซึ่งเป็นคำสั่งภายใน TAG คำสังของรูปภาพ แต่จะไม่นำคำสั่งของ TAG อื่นๆ ในภาษา HTML และคำสั่งในภาษา JAVA มาใช้ในการค้นหา วิธีการค้นหาของ Search Engine ประเภทนี้จะให้ความสำคัญกับการเรียงลำดับข้อมูลก่อน-หลัง และความถี่ในการนำเสนอข้อมูลนั้น การค้นหาข้อมูล โดยวิธีการเช่นนี้จะมีความรวดเร็วมาก แต่มีความละเอียดในการจัดแยกหมวดหมู่ของข้อมูลค่อนข้างน้อย เนื่องจากไม่ได้คำนึงถึงรายละเอียดของเนื้อหาเท่าที่ควร แต่หากว่าคุณต้องการแนวทางด้านกว้างของข้อมูล และความรวดเร็วในการค้นหา วิธีการนี้ก็ใช้ได้ผลดี
     
  2. Subject Directories   การจำแนกหมวดหมู่ข้อมูล Search Engine ประเภทนี้ จะจัดแบ่งโดยการวิเคราะห์เนื้อหา รายละเอียด ของแต่ละเว็บเพจ ว่ามีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร โดยการจัดแบ่งแบบนี้จะใช้แรงงานคนในการพิจารณาเว็บเพจ ซึ่งทำให้การจัดหมวดหมู่ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของคนจัดหมวดหมู่แต่ละคนว่าจะจัดเก็บข้อมูลนั้นๆ อยู่ในเครือข่ายข้อมูลอะไร ดังนั้นฐานข้อมูลของ Search Engine ประเภทนี้จะถูกจัดแบ่งตามเนื้อหาก่อน แล้วจึงนำมาเป็นฐานข้อมูลในการค้นหาต่อไป การค้นหาค่อนข้างจะตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และมีความถูกต้องในการค้นหาสูง เป็นต้นว่า หากเราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์ หรือเว็บเพจที่นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Search Engine ก็จะประมวลผลรายชื่อเว็บไซต์ หรือเว็บเพจที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ล้วนๆ มาให้คุณ
     
  3. Metasearch Engines   จุดเด่นของการค้นหาด้วยวิธีการนี้ คือ สามารถเชื่อมโยงไปยัง Search Engine ประเภทอื่นๆ และยังมีความหลากหลายของข้อมูล แต่การค้นหาด้วยวิธีนี้มีจุดด้อย คือ วิธีการนี้จะไม่ให้ความสำคัญกับขนาดเล็กใหญ่ของตัวอักษร และมักจะผ่านเลยคำประเภท Natural Language (ภาษาพูด) ดังนั้น หากคุณจะใช้ Search Engine แบบนี้ละก็ ขอให้ตระหนักถึงข้อบกพร่องเหล่านี้ด้วย
     
            ดังนั้น การเลือกใช้เครื่องมือในการค้นหาจะต้องเข้าใจว่า ข้อมูลที่ต้องการค้นหานั้นมีลักษณะอย่างไร มีขอบข่ายกว้างขวางหรือแคบขนาดไหน แล้วจึงเลือกใช้เว็บไซต์ค้นหาที่ให้บริการตรงกับความต้องการของเรา
guest profile guest

เทคนิคการหาข้อมูลใน Google

เทคนิคการหาข้อมูลใน Google

Search Engine เป็นเครื่องมือที่ทรงคุณค่า แต่ในทางกลับกันก็สร้างโทษมหันต์ จากสถิติเท่าที่ผมได้ยินมาพบว่าเว็บไซต์ที่ค้นหาจาก Google มีเว็บไซต์ที่มีประโยชน์ไม่ถึง 20% ที่เหลือเป็นเว็บที่ไม่มีประโยชน์เท่านั้นยังไม่พอยังเป็นโทษด้วย เช่นเว็บเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจาร หรือเนื้อหาไม่เหมาะสมคาดว่ามีมากกว่า 20-40% ของเว็บทั้งหมด

ข้อควรจำเกี่ยวกับเว็บไซต์ Google

จงท่องไว้ว่า Google เป็นเว็บที่อันตรายมีหลายประเทศที่มีการบล็อกเว็บไซต์นี้
รายการที่อยู่ใน 10 ลำดับแรกถ้าไม่ใช่สุดฮิตจริงๆ ก็มีเป้าหมายในการตลาด
รายการที่อยู่หลังๆส่วนใหญ่จะมีเปอร์เซนต์ที่ซ่อนข้อมูลที่มีค่า และเว็บสุดแย่
รูปภาพทั้งหมดที่ปรากฎใน Google ให้คิดว่ามีลิขสิทธิ์นำไปใช้เพื่อสาธารณะไม่ควร ระวังติดคุก ยกเว้น แต่เจ้าของเว็บจะยินยอมให้ใช้
เราสามารถเลือกค้นหา ซึ่งเป็นจุดเด่นเว็บนี้ หารูป หรือเข้าในสารระบบ กลุ่มข่าวได้ด้วย


ดังนั้นเพื่อให้เราเข้าใจ และใช้เครื่องมือที่มีทั้งคุณและโทษนี้จึงมีคำแนะนำวิธีการใช้ดังนี้

ไม่ควรใช้เครื่อง Notebook หรือเครื่องประจำตัว
ถ้าจำเป็นต้องใช้แนะนำให้ติดตั้งเครื่องมือป้องกันเต็มพิกัด
Update Patch ใหม่สุด
มี Personal firewall
มี Antivirus ที่อัพเดต Signature ใหม่สุดๆ
AntiSpyware
มี IDS/IPS ประจำเครื่องยิ่งดี
ปิดบริการบนเครื่องที่ไม่จำเป็น โดยเฉพาะการใช้ NetBIOS สำหรับเครื่อง Windows และ NFS ในเครื่อง Unix
เมื่อ Browser ทำการขึ้นข้อความใดๆให้เราเลือก No ไว้ก่อน ถ้าอ่านแล้วงงๆ
เมื่อเข้าลิงค์จากรายการที่ค้นหาแล้ว ต้องลงทะเบียนชื่อแนะนำให้ใช้ข้อมูลที่ได้รับผลกระทบน้อยที่สุด เช่นเบอร์โทรศัพท์, Free E-mail เนื่องจากผลของเว็บที่ค้นหาเหล่านี้ส่วนใหญ่เกิน 20% ที่พบมีวัตถุประสงค์ร้าย
ชื่อที่ต้องสงสัยในรายการที่ค้นหาพบ เช่นเป็นหมายเลข IP address หรือไม่มีแหล่งข้อมูลยืนยันว่าปลอดภัย ให้ใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ


วิธีการสืบค้นข้อมูลบน Google

การระบุชื่อองค์กรที่ต้องการค้นหาโดยตรงเช่น Itcompanion เป็นต้น
การค้นหา e-mail ขององค์กรด้วยส่วนใหญ่ Spammer จะใช้กับเพื่อค้นหา E-mail เช่น @itcompanion.co.th
การระบุ E-mail เพื่อค้นหาประวัติของบุคคลนั้นกับการใช้เว็บ
ถ้าต้องการข้อมูลพิเศษให้ดูวิธีการค้นหาตารางด้านล่าง
คำที่ช่วยในการหาข้อมูล

คีย์ที่ใช้
สิ่งที่จะได้

คำที่ต้องการค้นหา
แน่นอนไม่ต้องบอกก็รู้อยู่แล้ว

Top ten, Top hits + คำที่ต้องการ
จะได้เครื่องมือ สถิติ หรือข้อมูลที่อยู่ในกระแส รวมถึงแหล่งข้อมูล

Free download + ชื่อซอฟต์แวร์
จะได้ซอฟต์แวร์ที่ต้องการ หลายครั้งจะแถม Spyware ด้วยระวัง

ระบบปฏิบัติการ + สิ่งที่ต้องการค้นหา
จะได้เครื่องมือต่างๆที่ใช้กับระบบปฏิบัติการที่เราเลือก

Thai + หัวข้อที่ต้องการ
เราจะได้ข้อมูลเกี่ยวกับไทยๆ

ใช้คำใน Top Web site
เช่นเราไปที่ www.download.com และไปดูเครื่องมือ หรือสิ่งที่ต้องการแล้วนำมาค้นหา

ชื่อบุคคล
เราจะพบเกียรติประวัติ ความดัง และข้อมูลส่วนตัวของบุคคลนั้นๆ เช่น ชื่อ Hacker ที่โปรดปราน หรือ Winnie the pooh เป็นต้น

ระบุ Signature ต่างของ Antivirus
เช่น SDAT5000 เป็นการหา Signature ของ Mcafee เป็นต้น

Trend, Statistic, Penetration + คำที่ต้องการ
เป็นการหาข้อมูลเพื่อดูการแนวโน้ม หรือเอกสารในการอ้างอิง หรือบรรยาย

Security + คำที่ต้องการ
ดูข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัย

Software, Tools+ คำที่ต้องการ
เป็นการค้นหาเครื่องมือ

Competition+ คำที่ต้องการ
ดูเว็บเกี่ยวกับคู่แข่ง

Ranking+คำที่ต้องการ
ดูข้อมูลของซอฟต์แวร์นี้

Event
ดูเกี่ยวกับเหตุการณ์ในหัวข้อที่ค้นหา



ข้อมูลจาก http://www.khajorn.com/Contents/Googletechnic.htm
guest profile guest

เทคนิคการค้นหาข้อมูลด้วยการใส่คีย์เวิร์ด

 

เทคนิคการค้นหาข้อมูลด้วยการใส่คีย์เวิร์ดต่างๆ ได้แก่

           1. ระบุคีย์เวิร์ดไปมากๆให้ครอบคลุมทั้งหมด    เช่น เราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับภาพยนตร์เรื่อง  The Beach   ถ้ากรอกให้ครอบคลุมดังนี้  The Beach movie Leonado

           2. เครื่องหมาย  “ และ   เข้าช่วย  เราจะใช้เครื่องหมาย “ และ ” ครอบคำหรือกลุ่มคำที่ต้องการเฉพาะที่อยู่ในเครื่องหมาย    เช่น  “Java programming tutorial”

           3. บีบขอบเขตข้อมูลให้กระชับเข้าด้วยการใช้  Directory  การใช้คีย์เวิร์ดอย่างเดียวอาจทำให้ได้ข้อมูลที่มากเกินไป  หรือมีโอกาสที่จะเบี่ยงเบนจากที่เราต้องการไปมาก  จากปัญหานี้มี Internet Service Directory  หลายๆ แห่งมีการจัดหมวดหมู่ไว้ให้

           4. การใช้เครื่องหมายพิเศษช่วยในการค้นหา    เป็นการใส่ตัวกรอง (Filter) ในการค้นหาซึ่งทำได้หลายแบบ   เช่น

                       - การใช้เครื่องหมาย  +   นำหน้าคีย์เวิร์ด    เพื่อบังคับให้ผลการค้นหาที่ได้ต้องมีข้อความที่ตรงกับคีย์เวิร์ดตัวนั้น    เช่น   เราต้องการค้นหาข้อมูลของสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล   และต้องมีข้อมูลของยอดกองหน้าไมเคิล  โอเวนอยู่ภายในด้วย   ดังนี้    Liverpool +Owen

                       - การใช้เครื่องหมาย  -   นำหน้าคีย์เวิร์ด    เพื่อบังคับให้ผลการค้นหาที่ได้ต้องไม่มีข้อความที่ตรงกับคีย์เวิร์ดตัวนั้น    เช่น   เราต้องการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเสือ   จึงใช้คีย์เวิร์ดว่า   Tiger   แต่กลัวว่าจะมีข้อมูลของ   Tiger Woods   ซึ่งเป็นนักกอร์ฟติดมาด้วย   เราจึงใช้ดังนี้     Tiger –Woods

                       - การใช้เครื่องหมายดอกจัน  ( * )   ติดกับคีย์เวิร์ด    เพื่อแสดงว่าขอให้มีเฉพาะข้อความหรือคำที่ตรงกับคีย์เวิร์ดนั้น   ที่เหลือจะเป็นอะไรก็ได้   เช่นเราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับพี่เบิร์ด  ธงไชย  แมคอินไตย์   แต่ว่าเราสะกดนามสกุลของเขาไม่ถูก   ก็สามารถทำได้ดังนี้    Tongchai Mcin*

           5. ตัวเชื่อมที่นำมาใช้เมื่อใช้หลายคำในการค้นหา   เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่เจาะจงมายิ่งขึ้น

                       AND   ค้นหาเฉพาะเว็บเพจที่มีคำทั้งสองคำอยู่ด้วยกัน

                       OR     ค้นหาเว็บเพจที่มีคำใดคำหนึ่ง  หรือมีทั้งสองคำ

                       NOT   ค้นหาคำที่ไม่มีคำนี้อยู่

ข้อมูลจากhttp://www.jd.in.th/e_learning/media/make_media_bynet/html/search_text.htm

guest profile guest
เทคนิค 8 ประการที่ควรรู้ในการค้นหาข้อมูล
 ในการค้นหาข้อมูลด้วย Search Engine ส่วนใหญ่แล้วปัญหาที่ผู้ใช้งานทั่วไปมักจะพบเห็น หรือประสบอยู่เสมอๆก็คงจะหนี ไปไม่พ้นข้อมูลที่ค้นหาได้มีขนาดมากจนเกินไป ดังนั้นเพื่อ ความสะดวกในการใช้งานคุณจึงน่าที่จะเรียนรู้เทคนิคต่างๆเพื่อ ช่วยลดหรือจำกัดคำที่ค้น หาให้แคบลงและตรงประเด็นกับเรามากที่สุด 
1. เลือกรูปแบบการค้นหาให้ตรงกับสิ่งที่คุณต้องการมากที่สุด ส่วนจะเลือกใช้วิธีไหนก็ตามแต่คุณจะเห็นว่า เหมาะสม ยกตัวอย่างเช่น ถ้าคุณต้องการจะค้นหาข้อมูลที่มีลักษณะทั่วไป ไม่ชี้ เฉพาะเจาะจง ก็ควรเลือกบริการสืบค้นข้อมูล แบบ Index อย่างของ sanook เพราะ โอกาสที่จะเจอนั้น เปอร์เซ็นต์สูงกว่าจะมานั่งสุ่ม หาโดยใช้วิธีแบบ Search Engine 2. ใช้คำมากกว่า 1 คำที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกันช่วยค้นหา เพราะจะได้ผลลัพท์ที่มีขนาด แคบลงและชี้เฉพาะมากขึ้น (ย่อมจะดีกว่าหาคำเดียวโดดๆ) เช่น kanchanaburi+kemapat 3. ใช้บริการของผู้ให้บริการเฉพาะด้าน เช่น การค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวของ ภาพยนตร์ก็น่าที่จะเลือกใช้ Search Engine ที่ให้บริการใหล้เคียงกับเรื่องพวกนี้ เพราะผลลัพท์ที่ได้น่าจะเป็นที่น่าพอใจกว่า 4. ใส่เครื่องหมายคำพูดครอบคลุมกลุ่มคำที่ต้องการ เพื่อบอกกับ Search Engine ว่าเรา ต้องการผลการค้นหาที่มีคำใน กลุ่มนั้นครบและตรงตามลำดับที่เราพิมพ์ทุกคำ เช่น "kemapat school" เป็นต้น 5. การขึ้นต้นของตัวอักษรตัวเล็กเท่ากันหมด Search Engine จะเข้าใจว่าเราต้องการ ให้มันค้นหาคำดังกล่าวแบบ ไม่ต้องสนใจว่าตัวอักษรที่ได้จะมีขนาดเล็กหรือใหญ่ ดังนั้นหากคุณต้องการอยากที่จะให้มันค้นหาคำตรงตามแบบที่ เขียนไว้ก็ให้ใช้ตัว อักษรใหญ่แทน 6. ใช้ตัวเชื่อมทาง Logic หรือตรรกศาสตร์เข้ามาช่วยค้นหา มีอยู่ 3 ตัวด้วยกันคือ - AND สั่งให้หาโดยจะต้องมีคำนั้นๆ มาแสดงด้วยเท่านั้น! โดยไม่จำเป็นว่าจะต้องติดกัน เช่น thailand and kanchanaburi เป็นต้น - OR สั่งให้หาโดยจะต้องนำคำใดคำหนึ่งที่พิมพ์ลงไปมาแสดง - NOT สั่งไม่ให้เลือกคำนั้นๆมาแสดง เช่น thailand and kanchanaburi not goft หมายความว่า ให้ทำการหา เว็บที่เกี่ยวข้องกับ thailand และ kanchanaburi แต่ต้องไม่มี goft เป็นต้น 7. ใช้เครื่องหมายบวกลบคัดเลือกคำ + หน้าคำที่ต้องการจริงๆ - (ลบ)ใช้นำหน้าคำที่ไม่ต้องการ () ช่วยแยกกลุ่มคำ เช่น (pentium+computer)cpu 8. ใช้ * เป็นตัวร่วม เช่น com* เป็นการบอกให้หาคำที่มีคำว่า com ขึ้นหน้าส่วนด้านท้ายเป็น อะไรไม่สนใจ *tor เป็นการให้หาคำที่ลงท้ายด้วย tor ด้านหน้าจะเป็นอะไรไม่สนใจ

 

 

 

 

อ้างอิงhttp://www.kemapat.ac.th/search8.htm
guest profile guest
เทคนิค 8 ประการที่ควรรู้ในการค้นหาข้อมูล
    ในการค้นหาข้อมูลด้วย Search Engine ส่วนใหญ่แล้วปัญหาที่ผู้ใช้งานทั่วไปมักจะพบเห็น หรือประสบอยู่เสมอๆก็คงจะหนี ไปไม่พ้นข้อมูลที่ค้นหาได้มีขนาดมากจนเกินไป ดังนั้นเพื่อ ความสะดวกในการใช้งานคุณจึงน่าที่จะเรียนรู้เทคนิคต่างๆเพื่อ ช่วยลดหรือจำกัดคำที่ค้น หาให้แคบลงและตรงประเด็นกับเรามากที่สุด 
1. เลือกรูปแบบการค้นหาให้ตรงกับสิ่งที่คุณต้องการมากที่สุด ส่วนจะเลือกใช้วิธีไหนก็ตามแต่คุณจะเห็นว่า เหมาะสม ยกตัวอย่างเช่น ถ้าคุณต้องการจะค้นหาข้อมูลที่มีลักษณะทั่วไป ไม่ชี้ เฉพาะเจาะจง ก็ควรเลือกบริการสืบค้นข้อมูล แบบ Index อย่างของ sanook เพราะ โอกาสที่จะเจอนั้น เปอร์เซ็นต์สูงกว่าจะมานั่งสุ่ม หาโดยใช้วิธีแบบ Search Engine 2ใช้คำมากกว่า 1 คำที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกันช่วยค้นหา เพราะจะได้ผลลัพท์ที่มีขนาด แคบลงและชี้เฉพาะมากขึ้น (ย่อมจะดีกว่าหาคำเดียวโดดๆ) เช่น kanchanaburi+kemapat 3. ใช้บริการของผู้ให้บริการเฉพาะด้าน เช่น การค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวของ ภาพยนตร์ก็น่าที่จะเลือกใช้ Search Engine ที่ให้บริการใหล้เคียงกับเรื่องพวกนี้ เพราะผลลัพท์ที่ได้น่าจะเป็นที่น่าพอใจกว่า 4. ใส่เครื่องหมายคำพูดครอบคลุมกลุ่มคำที่ต้องการ เพื่อบอกกับ Search Engine ว่าเรา ต้องการผลการค้นหาที่มีคำใน กลุ่มนั้นครบและตรงตามลำดับที่เราพิมพ์ทุกคำ เช่น "kemapat school" เป็นต้น 5. การขึ้นต้นของตัวอักษรตัวเล็กเท่ากันหมด Search Engine จะเข้าใจว่าเราต้องการ ให้มันค้นหาคำดังกล่าวแบบ ไม่ต้องสนใจว่าตัวอักษรที่ได้จะมีขนาดเล็กหรือใหญ่ ดังนั้นหากคุณต้องการอยากที่จะให้มันค้นหาคำตรงตามแบบที่ เขียนไว้ก็ให้ใช้ตัว อักษรใหญ่แทน 6. ใช้ตัวเชื่อมทาง Logic หรือตรรกศาสตร์เข้ามาช่วยค้นหา มีอยู่ 3 ตัวด้วยกันคือ - AND สั่งให้หาโดยจะต้องมีคำนั้นๆ มาแสดงด้วยเท่านั้น! โดยไม่จำเป็นว่าจะต้องติดกัน เช่น thailand and kanchanaburi เป็นต้น - OR สั่งให้หาโดยจะต้องนำคำใดคำหนึ่งที่พิมพ์ลงไปมาแสดง - NOT สั่งไม่ให้เลือกคำนั้นๆมาแสดง เช่น thailand and kanchanaburi not goft หมายความว่า ให้ทำการหา เว็บที่เกี่ยวข้องกับ thailand และ kanchanaburi แต่ต้องไม่มี goft เป็นต้น 7. ใช้เครื่องหมายบวกลบคัดเลือกคำ + หน้าคำที่ต้องการจริงๆ - (ลบ)ใช้นำหน้าคำที่ไม่ต้องการ () ช่วยแยกกลุ่มคำ เช่น (pentium+computer)cpu 8. ใช้ * เป็นตัวร่วม เช่น com* เป็นการบอกให้หาคำที่มีคำว่า com ขึ้นหน้าส่วนด้านท้ายเป็น อะไรไม่สนใจ *tor เป็นการให้หาคำที่ลงท้ายด้วย tor ด้านหน้าจะเป็นอะไรไม่สนใจ









อ้างอิงhttp://www.kemapat.ac.th/search8.htm
guest profile guest
เทคนิค 8 ประการที่ควรรู้ในการค้นหาข้อมูล 
 ในการค้นหาข้อมูลด้วย Search Engine ส่วนใหญ่แล้วปัญหาที่ผู้ใช้งานทั่วไปมักจะพบเห็น หรือประสบอยู่เสมอๆก็คงจะหนี ไปไม่พ้นข้อมูลที่ค้นหาได้มีขนาดมากจนเกินไป ดังนั้นเพื่อ ความสะดวกในการใช้งานคุณจึงน่าที่จะเรียนรู้เทคนิคต่างๆเพื่อ ช่วยลดหรือจำกัดคำที่ค้น หาให้แคบลงและตรงประเด็นกับเรามากที่สุด

1. เลือกรูปแบบการค้นหาให้ตรงกับสิ่งที่คุณต้องการมากที่สุด ส่วนจะเลือกใช้วิธีไหนก็ตามแต่คุณจะเห็นว่า เหมาะสม ยกตัวอย่างเช่น ถ้าคุณต้องการจะค้นหาข้อมูลที่มีลักษณะทั่วไป ไม่ชี้ เฉพาะเจาะจง ก็ควรเลือกบริการสืบค้นข้อมูล แบบ Index อย่างของ sanook เพราะ โอกาสที่จะเจอนั้น เปอร์เซ็นต์สูงกว่าจะมานั่งสุ่ม หาโดยใช้วิธีแบบ Search Engine

2
ใช้คำมากกว่า 1 คำที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกันช่วยค้นหา เพราะจะได้ผลลัพท์ที่มีขนาด แคบลงและชี้เฉพาะมากขึ้น (ย่อมจะดีกว่าหาคำเดียวโดดๆ) เช่น kanchanaburi+kemapat

3.
ใช้บริการของผู้ให้บริการเฉพาะด้าน เช่น การค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวของ ภาพยนตร์ก็น่าที่จะเลือกใช้ Search Engine ที่ให้บริการใหล้เคียงกับเรื่องพวกนี้ เพราะผลลัพท์ที่ได้น่าจะเป็นที่น่าพอใจกว่า

4. ใส่เครื่องหมายคำพูดครอบคลุมกลุ่มคำที่ต้องการ เพื่อบอกกับ Search Engine ว่าเรา ต้องการผลการค้นหาที่มีคำใน กลุ่มนั้นครบและตรงตามลำดับที่เราพิมพ์ทุกคำ เช่น "kemapat school" เป็นต้น

5.
การขึ้นต้นของตัวอักษรตัวเล็กเท่ากันหมด Search Engine จะเข้าใจว่าเราต้องการ ให้มันค้นหาคำดังกล่าวแบบ ไม่ต้องสนใจว่าตัวอักษรที่ได้จะมีขนาดเล็กหรือใหญ่ ดังนั้นหากคุณต้องการอยากที่จะให้มันค้นหาคำตรงตามแบบที่ เขียนไว้ก็ให้ใช้ตัว อักษรใหญ่แทน
 
6. ใช้ตัวเชื่อมทาง Logic หรือตรรกศาสตร์เข้ามาช่วยค้นหา มีอยู่ 3 ตัวด้วยกันคือ - AND สั่งให้หาโดยจะต้องมีคำนั้นๆ มาแสดงด้วยเท่านั้น! โดยไม่จำเป็นว่าจะต้องติดกัน เช่น thailand and kanchanaburi เป็นต้น - OR สั่งให้หาโดยจะต้องนำคำใดคำหนึ่งที่พิมพ์ลงไปมาแสดง - NOT สั่งไม่ให้เลือกคำนั้นๆมาแสดง เช่น thailand and kanchanaburi not goft หมายความว่า ให้ทำการหา เว็บที่เกี่ยวข้องกับ thailand และ kanchanaburi แต่ต้องไม่มี goft เป็นต้น

7.
ใช้เครื่องหมายบวกลบคัดเลือกคำ + หน้าคำที่ต้องการจริงๆ - (ลบ)ใช้นำหน้าคำที่ไม่ต้องการ () ช่วยแยกกลุ่มคำ เช่น (pentium+computer)cpu

8.
ใช้ * เป็นตัวร่วม เช่น com* เป็นการบอกให้หาคำที่มีคำว่า com ขึ้นหน้าส่วนด้านท้ายเป็น อะไรไม่สนใจ *tor เป็นการให้หาคำที่ลงท้ายด้วย tor ด้านหน้าจะเป็นอะไรไม่สนใจ
อ้างอิง
http://www.kemapat.ac.th/search8.htm
guest profile guest
เทคนิคการค้นหาข้อมูลทางอิเทอร์เน็ต

1.รู้ว่าหาอะไร

2.ใช้เครื่องมีอการค้นหาเว็บไซต์อื่นด้วยเพราะแต่ละเว็บไซต์จะลิงค์เนื้อหาไม่เหมือนกัน เช่น google.com,yahoo.com,looksmart.com

3.ระบุชื่อข้อมุลที่เจาะจงมากที่สุด เช่น ความหมาย.........,ความหมายของ...........,

4.เว็บไซต์ส่วนใหญ่จะไม่อ่านคํากิริยา,คําคุณศัพท์และคําสันธาน

5.การค้นหาด้วยวลี โดยการใส่เครื่องหมาย"......."

6.ใช้เครื่องหมาย*ช่วยในการค้นหาเช่น retriev* แทนคํา retriev

7.ใส่คําค้นหาเป็นภาษาอังกฤษเป็นพิมพ์เล็ก

8.ใส่หัวเรื่องหลักไว้ส่วนด้านหน้าของการค้นหาเนื่องจากเครื่องมือค้นหาจะหาจากคําแรกเสมอ
guest profile guest
เทคนิคการค้นหาข้อมูลทางอิเทอร์เน็ต

1.รู้ว่าหาอะไร

2.ใช้เครื่องมีอการค้นหาเว็บไซต์อื่นด้วยเพราะแต่ละเว็บไซต์จะลิงค์เนื้อหาไม่เหมือนกัน เช่น google.com,yahoo.com,looksmart.com

3.ระบุชื่อข้อมุลที่เจาะจงมากที่สุด เช่น ความหมาย.........,ความหมายของ...........,

4.เว็บไซต์ส่วนใหญ่จะไม่อ่านคํากิริยา,คําคุณศัพท์และคําสันธาน

5.การค้นหาด้วยวลี โดยการใส่เครื่องหมาย"......."

6.ใช้เครื่องหมาย*ช่วยในการค้นหาเช่น retriev* แทนคํา retriev

7.ใส่คําค้นหาเป็นภาษาอังกฤษเป็นพิมพ์เล็ก

8.ใส่หัวเรื่องหลักไว้ส่วนด้านหน้าของการค้นหาเนื่องจากเครื่องมือค้นหาจะหาจากคําแรกเสมอ
guest profile guest
เทคนิคการค้นหาข้อมูลทางอิเทอร์เน็ต
1.รู้ว่าหาอะไร

2.ใช้เครื่องมีอการค้นหาเว็บไซต์อื่นด้วยเพราะแต่ละเว็บไซต์จะลิงค์เนื้อหาไม่เหมือนกัน เช่น google.com,yahoo.com,looksmart.com

3.ระบุชื่อข้อมุลที่เจาะจงมากที่สุด เช่น ความหมาย.........,ความหมายของ...........,

4.เว็บไซต์ส่วนใหญ่จะไม่อ่านคํากิริยา,คําคุณศัพท์และคําสันธาน

5.การค้นหาด้วยวลี โดยการใส่เครื่องหมาย"......."

6.ใช้เครื่องหมาย*ช่วยในการค้นหาเช่น retriev* แทนคํา retriev

7.ใส่คําค้นหาเป็นภาษาอังกฤษเป็นพิมพ์เล็ก

8.ใส่หัวเรื่องหลักไว้ส่วนด้านหน้าของการค้นหาเนื่องจากเครื่องมือค้นหาจะหาจากคําแรกเสมอ
guest profile guest
guest profile guest
Search Engine คือ เครื่องมือการค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต ที่ทุกคนสามารถหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ตก็ได้ โดยกรอก ข้อมูลที่ต้องการค้นหา หรือ Keyword (คีย์เวิร์ด) เข้าไปที่ช่อง Search Box แล้วกด Enter แค่นี้ข้อมูลที่เราค้นหาก็จะถูกแสดงออกมาอย่างมากมาย เพื่อให้เราเลือกข้อมูลตรงกับความต้องการของเรามากที่สุด โดยลักษณะการแสดงผลของ Search Engine นั้นจะทำการแสดงผลแบบ เรียงอันดับ Search Results ผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ของเรา Search Engine โดยทั่วไป
1. การค้นหาในรูปแบบ Index Directory
วิธีการค้นหาข้อมูลแบบ Index นี้ข้อมูลจะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยมากกว่าการค้นหาข้อมูลด้วย วิธีของ Search Engine เพราะจะสามารถคัดแยกข้อมูลออกมาเป็นหมวดหมู่ และจัดแบ่งแยก Site ต่างๆ ออก เป็นประเภท สำหรับวิธีใช้งานสามารถที่จะ Click เลือกข้อมูลที่ต้องการจะดูได้เลยใน Web Browser จากนั้นที่หน้าจอก็จะแสดงรายละเอียดของหัวข้อปลีกย่อยลึกลงมาอีกระดับหนึ่ง ปรากฏขึ้นมาให้เราเลือกอีก ส่วนจะแสดงออกมาให้เลือกมากเท่าไรก็ขึ้นอยู่กับขนาดของฐานข้อมูลใน Index ว่าในแต่ละประเภท จัดรวบรวมเก็บเอาไว้มากน้อยเพียงใด เมื่อได้ข้อมูลตรงกับความต้องการแล้ว สามารถ Click ลงไปยัง Linkเพื่อขอเชื่อมต่อทางเว็บไซต์ก็จะนำเอาผลของข้อมูลดังกล่าวออกมาแสดงผลทันที
2. การค้นหาในรูปแบบ Search Engine
วิธีการอีกอย่างที่นิยมใช้การค้นหาข้อมูลคือการใช้ Search Engine ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่กว่า 70% จะใช้วิธีการค้นหาแบบนี้หลักการทำงานของ Search Engine จะแตกต่างจากการใช้ Index จะมีลักษณะเป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่มหาศาล ที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วไปบน Internet ไม่มีการแสดงข้อมูลออกมาเป็นลำดับขั้นของความสำคัญ การใช้งานจะเหมือนการสืบค้นฐานข้อมูลอื่นๆ คือ ต้องพิมพ์คำสำคัญ (Keyword) ซึ่งเป็นการอธิบายถึงข้อมูลที่ต้องการค้นหานั้นๆ เข้าไปจากนั้น Search Engine ก็จะแสดงข้อมูลและ Websites ต่างๆที่เกี่ยวข้อง
อ้างอิง เอกสารอ้างอิง
กิจโสภณ พรรณโภชน์. (2548). เริ่มคลิ๊กอินเทอร์เน็ต. กรุงเทพมหานคร : บาย เนอเจอร์ พับลิชชิ่ง.
อภิรดี ประดิษฐ์สุวรรณ. (2544, ตุลาคม). “เทคนิคการเข้าถึงข้อมูลด้วย Searc Engine,” วารสารวงการครู. 3 (34).
Search Engine เครื่องมือในการค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต. (ม.ป.ป.). (ออนไลน์).แหล่งที่มา : http://www.it-guides.com/lesson/search_engine_01.html. [20 สิงหาคม 2550].
Search Engine คืออะไร. (2550). (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.makemany.com/?p=157. [20 สิงหาคม 2550].
guest profile guest
คำแนะนำในการค้นหาข้อมูล

เราทำทุกอย่างให้ง่ายแก่คุณในการค้นหาสิ่งที่คุณต้องการ แต่คุณสามารถลองทำตามคำแนะนำเพื่อให้ประสบความสำเร็จในการค้นหาข้อมูลที่ดีกว่า

ระบบค้นหาข้อมูลของเราทำงานอย่างไร?

เราใช้คำที่คุณพิมพ์เพื่อใช้เป็นเงื่อนไขในการค้นหาสำหรับการค้นหาแรกสุด และจะมีการค้นหาคำอื่นที่คล้ายคลึงกัน ระบบค้นหาของเราจะสืบค้นข้อมูลจาก หัวข้อ รหัสโรงแรม คำที่กำหนด สถานที่ตั้ง สถานที่น่าสนใจในบริเวณใกล้เคียง และ ที่อยู่

เมื่อระบุคำในการค้นหาหลากหลายคำ เรายอมรับเงื่อนไขคำว่า และ แต่ไม่รับเงื่อนไขคำว่า แต่ ซึ่งหมายความว่า การค้นหาอาจจะไม่ได้รวมไปถึงทุกคำที่คุณพิมพ์

เงื่อนไขในการค้นหา

สั้นและเฉพาะเจาะจง พิมพ์เพียงแค่ 2-3 คำในการค้นหา มิฉะนั้นผลการค้นหาจะใช้เวลานานและให้ผลลัพธ์ที่มากมาย การระบุเงื่อนไขในการค้นหาจะช่วยจำกัดขอบเขตของผลลัพธ์ให้แคบลง

หากคุณระบุชื่อรหัสโรงแรม 6 หลัก หรือชื่อโรงแรมในช่องค้นหา คุณจะพบหน้ารายละเอียดโรงแรมที่คุณต้องการได้ในทันที

ถ้าคุณระบุสถานที่ในช่องค้นหา คุณจะพบหน้ารายละเอียดสถานที่ได้ในทันที

คำถามที่พบบ่อย

Q. ต้องพิมพ์คำทั้งหมดเลยหรือไม่?
A. ไม่ต้อง แตถ้าพิมพ์ทั้งหมดจะช่วยให้การค้นหาแม่นยำมากยิ่งขึ้น

Q. สามารถใช้การค้นหาแบบระบุเงื่อนไขที่ซับซ้อน (multiple search) ได้หรือไม่?
A. ใช้ได้ แต่ผลลัพธ์ที่ออกมาจะเป็นเพียงผลลัพธ์ที่ตรงตามเงื่อนไขทุกประการเท่านั้น

Q. อักษรพิมพ์ใหญ่มีผลในการค้นหาหรือไม่?
A. ไม่ ระบบค้นหาของเราสามารถใช้ได้ทั้งอักษรพิมพ์เล็กและพิมพ์ใหญ่

Q. rตัวสะกดมีผลในการค้นหาหรือไม่?
A. มี

Q. สามารถใช้คำภาษาไทยในการค้นหาได้หรือไม่?
A. ได้ สามารถใช้ได้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

อ้างอิง:http://www.atsiam.com/th/help/faq_topic_6/faq_172.asp

guest profile guest

เทคนิคการค้นหาให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

๑. บีบประเด็นให้แคบลง   หัวข้อเรื่องที่ต้องการค้นหาต้องพยายามบีบประเด็นให้แคบลง เช่น ต้องการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะหาโดยใช้คำว่า คอมพิวเตอร์ หรือ Computer นี้ค้นหา เพื่อลองดูเนื้อหากว้างๆ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ว่ามีเรื่องใดบ้าง จากนั้นก็บีบหัวข้อเรื่องลง โดยอาจจะเลือกจากหัวข้อที่เว็บไซต์นั้นจัดทำ หรืออาจจะพิมพ์ข้อความเพื่อค้นหาอีกครั้ง

๒. การใช้คำที่ใกล้เคียง   ควรค้นหาคำที่มีความหมายใกล้เคียงกับคำที่กำลังค้นหาด้วย เช่น ต้องการค้นเรื่องเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Computer คำที่เกี่ยวข้องที่สามารถใช้ค้นหาได้ คือ technology, IT เป็นต้น

๓. การใช้คำหลัก (Keyword)   หมายถึง คำหรือข้อความที่เราจะนึกถึงเว็บไซต์นั้นเมื่อเอ่ยถึง เช่น สสวท. จะนึกถึงเว็บไซต์ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี http://www.ipst.ac.th  หรือ schoolnet จะนึกถึงเว็บไซต์เครือข่ายโรงเรียนไทย http://www.school.net.th

๔. หลีกเลี่ยงการใช้ตัวเลข  พยายามเลี่ยงการใช้คำค้นหาที่เป็นคำเดี่ยวๆ หรือเป็นคำที่มีตัวเลขปน แต่ถ้าเลี่ยงไม่ได้ ก็อย่าลืมใส่เครื่องหมายคำพูด (" ") ลงไปด้วย เช่น "windows ๙๘"

๕. ใช้เครื่องหมายบวกและลบช่วย  ใช้เครื่องหมาย + และ - เพื่อช่วยในการค้นหา โดย + เพื่อใช้กับคำที่ต้องการใช้ในการค้นหา และ - เพื่อใช้กับคำที่ไม่ต้องการใช้ในการค้นหา

เครื่องหมาย "+"  หมายถึง การระบุให้ผลลัพธ์ของการค้นหาต้องมีคำนั้นปรากฏอยู่ในหน้าWeb Page ข้อควรระวังคือ เราจะต้องใช้เครื่องหมายบวกติดกับคำหลักนั้นเสมอ ห้ามมีช่องว่างระหว่างเครื่องหมายบวกกับคำหลัก เช่น +เศรษฐกิจ +การเมือง หมายถึง หน้าWeb Pageที่พบจะต้องปรากฏคำว่า "เศรษฐกิจ" และ "การเมือง" อยู่ในหน้าเดียวกันทั้งสองคำ หรือ +เศรษฐกิจ การเมือง สังเกตเห็นว่าที่คำว่า "การเมือง" ไม่ปรากฏเครื่องหมายบวก "+" อยู่ข้างหน้า เหมือนตัวอย่างบน หมายถึง การค้นหาหน้าเอกสารWeb Pageที่จะต้องปรากฏ คำว่า "เศรษฐกิจ" โดยในหน้าเอกสารนั้นอาจจะปรากฏหรือไม่ปรากฏคำว่า "การเมือง" ก็ได้

เครื่องหมายลบ "-" หมายถึง เป็นการระบุให้ผลลัพธ์ของการค้นหาต้องไม่ปรากฏคำนั้น อยู่ในหน้าWeb Page เช่น โรงแรม –รีสอร์ท  หมายถึง หน้าWeb Page นั้นต้องมีคำว่า โรงแรม แต่ต้องไม่ปรากฎคำว่า รีสอร์ท อยู่  โดยการใช้งานต้องอยู่ในรูปของ A -B หรือ +A -B โดย A และ B เป็นคำหลักที่ต้องการค้นหา  ตัวอย่าง +มะม่วง -มะม่วงอกร่อง -มะม่วงน้ำดอกไม้ หมายถึง หน้า  Web Page พบจะต้องปรากฎคำว่า "มะม่วง" แต่ต้องไม่ปรากฏคำว่า "มะม่วงอกร่อง" และ "มะม่วงน้ำดอกไม้" อยู่ในหน้าเดียวกัน

๖. หลีกเลี่ยงภาษาพูด  Natural Language หรือเรียกง่ายๆ ว่าคำหรือข้อความที่เป็นภาษาพูด หรือเป็นประโยค ควรสรุปเป็นเพียงกลุ่มคำหรือวลี ที่มีความหมายรวมทั้งหมดไว้

Advanced Search ช่วยในการบีบประเด็นหัวข้อ ให้แคบลง ซึ่งจะทำให้ได้รายชื่อเว็บไซต์ ที่ตรงกับความต้องการของมากขึ้น  Help หรือ Site Map ช่วยในการอธิบาย Option หรือการใช้งาน/แผนผังปลีกย่อยของแต่ละเว็บไซต์

แหล่งอ้างอิง http://teacher.skw.ac.th/salunyar/40102/unit_02/p_208.htm

guest profile guest
เทคนิคการค้นหาข้อมูล

เนื่องจากปัจจุบันมีเว็บไซต์เพิ่มมากขึ้น ทำให้เสียเวลาและยุ่งยากต่อการค้นหาข้อมูข(Search Enging)บนอินเทอร์เน็ตเพราะถ้าเรากรอกคำที่ต้องการค้นหาลงในเคื่รองมือสืบค้นโดยไม่มีเทคนิคการค้นหา ก็จะพบว่า ผลลัพธ์ที่หานั้นมีจำนวนมากเกินไป ผมจึงอยากจะขอเสนอวิธีค้นหาข้อมูลจาก Google

            1. พยายามใช้เครื่งมือสืบค้น ซึ่งรวบรวมรวมข้อมูลที่ตรงกับข้อมูลที่ต้องการค้นหามากที่สุด เช่นถ้าต้องการค้นหารูปภาพก็ให้ค้นหาเว็บที่รวบรวมรูปภาพ

           ตัวอย่างเช่น การค้นหาคลิปวิดีโอที่เกี่ยวกับ  Robot                

    1. เข้าไปยังเว็บไซต์  video.google.com แล้วกรอกคำสำคัญที่ต้องการค้นหาในที่นี้เลือกค้นหา  Robot  
    2. คลิกปุ่ม Search Video  
    3. จะปรากฏเว็ปของคลิปวิดีโอที่ต้องการขึ้นมา

           2. อ่านคำเนะนำในการใช้เครื่องมือสืบค้นของแต่ละเว็บไซต์ เพราะเครื่องมือของแต่ละเว็บไซต์จะมีความแตกต่างกันในการค้นหา

           3. ไม่ควรยึดติดกับการค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์เพียงเว็บไซต์เดียว

           4. ให้พิมพ์เฉพาะคำสำคัญที่ต้องการสืบค้น ถ้าข้อมูลที่ต้องการค้นหามีความยาวก็ให้ใช้ Space เพื่อแยกคำสำคัญ และอย่าพิมพ์ข้อมูลที่ต้องการค้นหาหมดทุดคำเพราะจะหาไม่เจอ

            5. เลือกใชเครื่องหมาย +, -, * ," " ในการสืบค้นดังนี้
                      - เครื่องหมาย (+) ใช้สำหรับค้นหาคำทั้งหมดที่ต้องการระบุ เช่น ท่องเที่ยว+เขาใหญ่ หมายถึงให้ค้นหาข้อมูลที่มีคำท่องเที่ยวและคำว่าเขาใหญ่อยู่ด้วยกันแต่ไม่จำเป็นต้องอยู่ติดกัน
                      - เครื่องหมาย (-) ใช้สำหรับยกเว้นคำที่สืบค้น เช่น ท่องเที่ยว-เขาใหญ่ หมายถึงให้ค้นหาข้อมูลที่มีคำว่าท่องเที่ยวยกเว้นคำว่าเขาใหญ่
                     - เครื่องหมายดอกจัน (*) ใช้สำหรับค้นกหาคำขึ้นต้นที่เหมือนกัน เช่น กรมการ* จะให้ผลลัพธ์เป็นกรรมการพัฒนาชุมชน กรมการปรกครอง กรมศาสนา กรมการค้า เป็นต้น
                     - เครื่องหมายคำพูด (" ") ใช้สำหรับคำที่เป็นวลี หรือกลุ่ม คำเช่น "ปรีด  พนมยงค์" จะค้นหากลู่มคำ ปรีดี พนมยงค์ อยู่ด้วยกันเป็นกลู่มคำ

แหล่งที่มา http://learners.in.th/blog/kingdom/28235

guest profile guest
เทคนิคการค้นหาข้อมูล
-เลือกหมวดหมู่ที่สนใจ และตรงกับเนื้อหาที่ต้องการให้มากที่สุด -ระบุ คีย์เวิร์ดให้เยอะๆ ให้ครอบคลุมเนื้อหาให้มากที่สุด
-คีย์เวิร์ดต้องไม่กำกวม
-ไม่ต้องใส่คำนำหน้า/คำเชื่อมในคีย์เวิร์ด เช่น the, a, an, and, or wระบุคำที่สนใจไว้ในเครื่องหมายคำพูด
ใส่ตัวกรอง (Filter) ช่วยในการค้นหา
•ใช้เครื่องหมาย + นำหน้าคีย์เวิร์ด เพื่อบังคับให้มีคำที่ระบุ
•ใช้เครื่องหมาย - นำหน้าคีย์เวิร์ด เพื่อบังคับไม่ให้มีคำที่ระบุ wข้อมูลที่เป็นภาพ, เสียง, ภาพเคลื่อนไหว ควรใช้ค้นหาจากเว็บไซต์ที่ให้บริการเฉพาะทาง เช่น siamguru.com, altavista.com
ค้นหาโดยอาศัยกลุ่มข่าว และเว็บบอร์ด
•www.pantip.cm
•www.sanook.com
•www.infopress2000.com
•www.looksmart.com
อ้างอิงhttp://www.stks.or.th/web/presentation/search-it_files/frame.htm
guest profile guest

เทคนิคการค้น หรือ Search

คงไม่ดีแน่ หากเราต้องเริ่มต้นค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต โดยการใช้เมาส์คลิกไปตามลิงค์ต่างๆ เดาสุ่มไปเรื่อยๆ โชคดีที่บนอินเทอร์เน็ตมีเว็บไซต์หลายแห่งที่ให้บริการโปรแกรมค้นหา เว็บไซต์ประเภทนี้ มีมากขึ้นเรื่อยๆ แต่ โดยทั่วไปจะมีรูปแบบการค้นหาแบบใดแบบหนึ่งใน 3 แบบต่อไปนี้

1. เซิร์ชไดเร็กทอรี่ (Search Directories) เป็นการแบ่งกลุ่มเว็บไซต์ตามเนื้อหา เช่นเว็บไซต์ยาฮู (www.yahoo.com) มีหัวข้อต่างๆ ให้เลือกมากมาย เช่น คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต สังคม วัฒนธรรม บันเทิง เมื่อเราคลิ๊กที่ลิงค์ (ไฮเปอร์ลิงค์) หนึ่ง ก็จะเลื่อนลงไประดับลึกของไดเร็กทอรี่ ซึ่งจะมีหัวข้อเรื่องเล็กกว่าเดิม (การเจาะลึกหัวข้อเล็กลงไปเรื่อยๆ เรียกว่า drilling down)
หากต้องการให้เว็บไซต์ของคุณไปปรากฎในไดเร็กทอรี่ของยาฮู หรือ เซิร์ชเอ็นจินประเภทนี้ เราต้องส่งใบสมัครเข้าไป โดยบอกชื่อ-ที่อยู่เว็บไซต์ อธิบายเนื้อหา โดยย่อของเว็บไซต์ อาจระบุกลุ่มเว็บไซต์ที่คิดว่าเหมาะสม จากนั้นรอทีมงานของเขาเข้ามาตรวจสอบ ก่อนที่จะถูกนำเข้าไปเก็บในฐานข้อมูลไดเร็กทอรี่

2. อินเด็กซ์เซิร์ชเอ็นจิน (Indexing Search Engines) ค้นหาเว็บเพจ โดยใช้คำที่มีอยู่ในเว็บเพจนั้น โดยส่งโปรแกรมเข้าไปตรวจสอบเว็บไซต์ และเก็บรายละเอียดในเว็บไซต์มาสร้างเป็นฐานข้อมูล โดยทั่วไปผู้สร้างเว็บไซต์จะบอกข่าวสารบนเว็บไซต์ไว้ในเมตาแท็ก (meta tag) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของต้นฉบับเว็บเพจ เซิร์ชเอ็นจินจะมองหารายละเอียดของเว็บจากเมตาแท็กนี้ แล้วนำมาทำดรรชนี เพื่อช่วยในการค้นหา เมื่อเราสั่งค้นหาด้วยคำสำคัญคีย์เวิร์ด เซิร์ชเอ็นจินจะมองหาในฐานข้อมูลข้างต้น แล้วแสดงผลลัพธ์ออกมา

3. เมตาเซิร์ชเอ็นจิน (META Search Engines) แบบนี้ จะค้นหาจากอินเด็กซ์เซิร์ชเอ็นจินตัวอื่นที่เป็นที่นิยม

การค้นหาให้ได้ผลลัพธ์ดีๆ มากๆ ก็ควรเลือกเซิร์ชเอ็นจินที่มีข้อมูลในฐานข้อมูลมากๆ เช่นของ Yahoo, Excite, Infoseek, AltaVista, Lycos, Hotbot ซึ่งเป็นเว็บเซิร์ชเอ็นจินอันดับต้นๆ เซิร์ชเอ็นจินของไทยก็มีเช่น ที่ siamguru, hunsa, sanook เป็นต้น และถ้าหากใช้เทคนิคการค้นเพิ่มอีกนิด ก็จะทำให้การค้นของเรามีประสิทธิภาพมากขึ้น
ทดลองไปที่ www.lycos.com และพิมพ์คำว่า "cameras" ลงในช่องว่างสำหรับใส่คำค้นหา ผลลัพธ์ที่ได้คือรายการเว็บไซต์เกี่ยวกับ กล้องเกือบ 2 ล้านแห่ง ถ้าตรวจสอบทีละอันจะพบว่าบางอันไม่ใช่เว็บที่เราต้องการ เช่น มีคำว่ากล้องปรากฎอยู่บ้าง แต่ในรายละเอียดพูดถึงหัวข้ออื่น ทางเลือกที่ดีกว่า เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ใกล้เคียงกับความต้องการ ก็ โดยการใช้บูลีนโอเปอร์เรเตอร์ (boolean operator) เข้ามาช่วย (เหมือนกับที่เราเคยเรียนในวิชาคณิตศาสตร์นั่นแหล่ะ) ได้แก่คำว่า และ (AND), หรือ (OR), ไม่ (NOT) คราวนี้ ลองค้นหาอีกที โดยใช้ advanced search หรือบางแห่งเรียก super search (อย่าง siamguru.com ของเราก็ใช้คำนี้ ) ซึ่งมักจะมีบริการในเว็บไซต์เซิร์ชเอ็นจินใหญ่ๆ ลองค้นอีกที คราวนี้ จะค้นหาเว็บไซต์เกี่ยวกับ การขายกล้อง โดยพิมพ์คำ cameras buying เลือก all words (AND match) สั่งค้นหา โดยคลิ๊กตรง Go Get it! ผลลัพธ์จะเหลือแค่ประมาณ 150,000 กว่าๆ เว็บไซต์ ทดลอง cameras buying selling เลือกบูลีน AND เหมือนเดิม ก็จะได้ผลลัพธ์เป็นเว็บไซต์การซื้อ และขายกล้องราว 40,000 กว่าแห่ง

การใช้บูลีนนี้ บางแห่งให้พิมพ์เข้าไปเอง เช่น cameras AND buying, cameras NOT buying บางแห่งใช้เครื่องหมายบวก (+) ลบ (-) เช่น cameras + buying หรือ cameras – selling บางแห่งก็เป็นตัวเลือกให้กดได้เลยเหมือนตัวอย่างข้างต้น ทางที่ดีควรสังเกต และอ่านรายละเอียดบริการภายในเว็บไซต์ แต่ละอัน เพื่อให้ใช้บริการค้นหาได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ


แหล่งที่มา

 

http://thaiparents.net/articles/title.php?t=33

 

 

 

guest profile guest
ถ้าจะเปรียบ อินเทอร์เน็ต เป็นห้องสมุดอันกว้างใหญ่ ก็คงจะไม่ผิดนัก เพราะในปัจจุบัน เครือข่ายอันกว้างใหญ่ไพศาลนี้จัดว่า เป็นแหล่งข้อมูลอันใหญ่มหึมาระดับโลก เรียกว่า ค้นหาอะไรก็เจอ

คุณเองก็คนหนึ่งใช่ไหมล่ะ ที่มักจะเข้าอินเทอร์เน็ตไปเพื่อหาข้อมูลโน่นนี่อยู่บ่อยๆ เรียกว่าถ้าไม่รู้ว่าจะเริ่มหาจากตรงไหนดี ก็ต้องตรงรี่เข้ามาใช้บริการเว็บไซต์ Search Engine กันก่อนเลยทีเดียว ซึ่ง Search Engine ที่เราคุ้นเคยกันดี ก็เช่น http://www.google.co.th, http://www.yahoo.com/ แต่ก่อนที่คุณจะเข้าไปค้นหาข้อมูล สิ่งสำคัญ คือ คุณจะทำอย่างไรให้ได้ข้อมูลที่ต้องการอย่างรวดเร็ว เราจึงมีคำแนะนำมาฝากกัน ดังนี้

  1. เคล็ดลับอยู่ที่ Keyword เมื่อคุณอยากรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง คุณต้องเจาะจงเลือกคำค้นหาให้ตรงกับสิ่งที่ต้องการ เช่น ถ้าคุณจะค้นหาข้อมูลของสุนัขพันธุ์บางแก้ว คุณก็ควรจะใช้คำว่า “สุนัขพันธุ์บางแก้ว” มากกว่าคำว่า “สุนัข” เฉย ๆ
  2. ตีวงแคบให้การค้นหา โดยไม่ใช้คำสามัญเพื่อค้นหา เช่น Man, Dog เพราะเป็นคำที่กินความกว้างมาก เมื่อคุณค้นหาเว็บ Search Engine จะแสดงผลออกมาเป็นทุกเว็บไซต์ที่มีคำเหล่านี้ ซึ่งจะมีเยอะมากเป็นหมื่นเป็นพันเว็บไซต์ ทำให้คุณไม่ได้ข้อมูลตามที่ต้องการจริง ๆ
  3. ใช้ AND เป็นตัวเชื่อม ควรจำกัดการค้นหาให้แคบลงด้วยการหาคำเฉพาะมาเชื่อมโยงกับคำที่ต้องการค้นหา โดยใช้คำว่า AND เป็นคำเชื่อม เช่น Cat AND Buy เว็บไซต์ก็จะแสดงผลการค้นหาออกมาเป็นเว็บไซต์ที่มีคำสองคำนี้ในเนื้อหาของเว็บ จะเป็นการช่วยให้การค้นหาของคุณจำเพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น แต่ในบางเว็บไซต์ เช่น http://www.google.co.th ได้ใส่คำว่า AND ให้โดยอัตโนมัติ ไม่ต้องใส่คำว่า AND เป็นตัวเชื่อม
  4. หาข้อมูลของกลุ่มคำได้ ด้วยเครื่องหมายอัญประกาศ ( “_ ”) และเครื่องหมายบวก (+) คุณสามารถหาข้อมูลของวลี หรือกลุ่มคำ ซึ่งเป็นคำติด ๆ กัน สองคำขึ้นไปได้ โดยใส่คำค้นหาลงในเครื่องหมายคำพูด เช่น “Cute Cat” ผลที่ได้จะแสดงเป็นเนื้อหาที่มีคำว่า Cute Cat ติดกัน
  5. ใช้ OR เป็นตัวเชื่อม เมื่อต้องการนำผลการค้นหาของหลายคำมารวมกัน เช่น ต้องการหาที่เที่ยวในเชียงใหม่ และสงขลา ก็จะค้นหาโดยใช้คำว่า ที่ท่องเที่ยว เชียงใหม่ OR สงขลา
  6. ใช้ NOT ตัดข้อมูลที่ไม่ต้องการออก เป็นการจำกัดการค้นหาให้แคบลงอีกทางหนึ่ง เมื่อคุณไม่ต้องการให้คำใดแสดงในผลการค้นหา เช่น Cat Not Buy คุณก็จะได้ข้อมูลที่มีแต่คำว่า Cat โดยไม่มีคำว่า Buy
  7. ใช้ Advanced Search เพื่อค้นหาแบบละเอียด ซึ่งเป็นบริการจากทางเว็บไซต์ Search Engine ทั่วไป โดยการค้นหาในลักษณะนี้จะช่วยให้การค้นหาของคุณได้ข้อมูลที่ต้องการ และจำเพาะเจาะจงจริง ๆ ซึ่งคุณสามารถกำหนดค่าต่างๆ ในการค้นหาได้เอง เช่น คำที่กำหนดให้แสดง หรือไม่แสดง, ภาษาที่ต้องการให้แสดง, ชนิดของไฟล์ที่ค้นหา หรือว่าจะเป็นชื่อโดเมนที่ต้องการ เช่น .com, .net ฯลฯ เป็นต้น

อ้างอิง
www.sarapee.ac.th/index.php/writing/9-writing/30-google

guest profile guest

Search Engine คืออะไร

 ในโลกของ Internet ข้อมูลมีมากมายเหลือเกิน ถ้าจะใช้เวลาในการอ่านทุกสิ่งบน Internet คงต้องใช้เวลาหลายชั่วอายุคน จริงแล้วเราคงไม่มีควมสนใจในทุกเรื่อง แต่คงสนใจเฉพาะเรื่องที่เราสนใจเท่านั้น จึงมีคนคิดเครื่องมือในการช่วยค้นหาข้อมูลที่ ต้องการ นั้นก็คือ Search Engine นั่นเอง 
การค้นหาข้อมูลมีกี่วิธี ? มี 2 วิธีครับ
1. การค้นหาในรูปแบบ Index Directory วิธีการค้นหาข้อมูลแบบ Index นี้ข้อมูลจะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยมากกว่าการค้นหาข้อมูลด้วย วิธี Search Engine โดยมันจะถูกคัดแยกข้อมูลออกมาเป็นหมวดหมู่ และจัดแบ่งแยก Site ต่างๆออก เป็นประเภท สำหรับวิธีใช้งาน คุณสามารถที่ จะ Click เลือกข้อมูลที่ต้องการจะดูได้เลยใน Web Browser จากนั้นที่หน้าจอก็จะแสดงรายละเอียดของหัวข้อปลีกย่อยลึกลง มาอีกระดับหนึ่ง ปรากฏขึ้นมาให้เราเลือกอีก ส่วนจะแสดงออกมาให้เลือกเยอะแค่ไหนอันนี้ก็ขึ้นอยู่กับขนาดของฐานข้อมูลใน Index ว่าในแต่ละประเภท จัดรวบรวมเก็บเอาไว้มากน้อยเพียงใด เมื่อคุณเข้าไปถึงประเภทย่อยที่คุณสนใจแล้ว ที่เว็บเพจจะ แสดงรายชื่อของเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ ประเภทของข้อมูลนั้นๆออกมา หากคุณคิดว่าเอกสารใดสนใจหรือต้องการอยากที่จะดู สามารถ Click ลงไปยัง Link เพื่อขอเชื่อต่อทางไซต์ก็จะนำเอาผลของข้อมูลดังกล่าวออกมาแสดงผลทันที นอกเหนือไปจากนี้ ไซต์ที่แสดงออกมานั้นทางผู้ให้บริการยังได้เรียบเรียงโดยนำเอา Site ที่มีความเกี่ยว ข้องมากที่สุดเอามาไว้ตอนบนสุดของ รายชื่อที่แสดง2. การค้นหาในรูปแบบ Search Engine วิธีการอีกอย่างที่นิยมใช้การค้นหาข้อมูลคือการใช้ Search Engine ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่กว่า 70% จะใช้วิธีการค้นหาแบบนี้ หลักการทำงานของ Search Engine จะแตกต่างจากการใช้ Index ลักษณะของมันจะเป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่มหาศาลที่ กระจัดกระจายอยู่ทั่วไปบน Internet ไม่มีการแสดงข้อมูลออกมาเป็นลำดับขั้นของความสำคัญ การใช้งานจะเหมือนการสืบค้น ฐานข้อมูล อื่นๆคือ คุณจะต้องพิมพ์คำสำคัญ (Keyword) ซึ่งเป็นการอธิบายถึงข้อมูลที่คุณต้องการจะเข้าไป ค้นหานั้นๆเข้าไป จากนั้น Search Engine ก็จะแสดงข้อมูลและ Site ต่างๆที่เกี่ยวข้องออกมา หลักการค้นหาข้อมูลของ Search Enine
สำหรับหลักในการค้นหาข้อมูลของ Search Engine แต่ละตัวจะมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับว่าทางศูนย์บริการ ต้องการจะเก็บข้อมูลแบบไหน แต่โดยส่วนใหญ่แล้วจะมีกลไกใน การค้นหาที่ใกล้เคียงกัน หากจะแตกต่างก็คงจะเป็นเรื่อง ประสิทธิภาพเสียมากกว่า ว่าจะมีข้อมูล เก็บรวบรวมไว้อยู่ในฐานข้อมูลมากน้อยขนาดไหน และพอจะนำเอาออกมาบริการให้กับ ผู้ใช้ ได้ตรงตามความต้องการหรือเปล่า ซึ่งลักษณะของปัจจัยที่ใช้ค้นหาโดยหลักๆจะมีดังนี้ 1. การค้นหาจากชื่อของตำแหน่ง URL ใน เว็บไซต์ต่างๆ
2. การค้นหาจากคำที่มีอยู่ใน Title (ส่วนที่ Browser ใช้แสดงชื่อของเว็บเพจอยู่ทางด้าน ซ้ายบนของหน้าต่างที่แสดง
3. การค้นหาจากคำสำคัญหรือคำสั่ง keyword (อยู่ใน tag คำสั่งใน html ที่มีชื่อว่า meta)
4. การค้นหาจากส่วนที่ใช้อธิบายหรือบอกลักษณะ site การค้นหาข้อมูลด้วย Search Engine 1. เปิดเว็บไซด์ที่ให้บริการ 2. ใส่คำ (keyword) ที่คุณต้องการจะค้นหาลงไปในช่องยาวๆ (text box) ที่มีสร้างเอาไว้ให้ 3. คลิ๊กที่ปุ่ม ค้นหา (กรณีเลือก Search Engine ที่อื่นอาจจะไม่ได้ใช้คำนี้ก็ได้ แล้วแต่ที่คุณเลือก
โปรแกรมจะเริ่มค้นหาคำนั้นๆให้ ตอนนี้คุณก็รอสักพักนึงก่อน จากนั้นรายชื่อของเว็บเพจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลที่ระบุจะ ถูกแสดงออกมาในรูปแบบของลิ้งค์พร้อมคำอธิบายประกอบนิดหน่อย ให้เราอ่านเพื่อใช้ในการตัดสินใจว่ามันเกี่ยวข้องกับ ข้อมูลที่เราต้องการหรือเปล่า ส่วนใหญ่ข้อมูลที่พบมีมากจนเกินกว่าที่จะแสดงให้เห็นหมดในหน้าเดียว มันจะมีตัวแบ่งหน้า ให้เราทางด้าน ล่างสำหรับเลือกไปดูรายละเอียดส่วนอื่นๆที่เหลือในหน้าถัดๆไป แต่โดยมากแล้วข้อมูลที่ใกล้เคียง กับคำที่เรา ต้องการมากที่สุดจะอยู่ในช่วงต้นๆ ของรายการแรกที่ Search Engine นั้นๆตรวจพบ 

 

  นอกจากการค้นหาข้อมูลแล้ว Search Engine บางที่ ยังสามารถค้นหา รูปภาพ ได้อีกด้วยครับ การค้นหาด้วยวิธี Search Engine นั้นมักจะได้ผลลัพธ์ออกมากว้างๆชี้เฉพาะเจาะจงได้ยาก บางครั้งข้อมูลที่ ค้นหามา ได้อาจมีถึงเป็นร้อยเป็นพัน Site แล้วมีใครบ้างหละที่อยากจะมานั้งค้นหาและอ่านดูที่จะเพจ ซึ่งคง ต้องเสียเวลาเป็นวันๆแน่ ซึ่งก็ไม่รับรองด้วยว่าคุณจะได้ข้อมูลที่คุณต้องการหรือไม่ ดังนั้นจิงมีหลักในการค้น หา เพื่อให้ได้ข้อมูลใกล้เคียงความเป็นจริง มากที่สุดค้นหาคำในหน้าเว็บเพจด้วย Browser การค้นหาคำในหน้าเว็บเพจนั้นจะใช้สำหรับกรณีที่คุณเข้าไปค้นหาข้อมูลที่เว็บเพจใด เว็บเพจหนึ่ง แล้วภายในมีข้อความ ปรากฏอยู่เต็มไปหมด จะนั่งไล่ดูทีละบรรทัดคงไม่สะดวก ในลักษณะนี้เราใช้ใช้ browser ช่วยค้นหาให้ คือ 1. ขึ้นแรกให้คุณนำ mouse ไป click ที่ menu Edit 2. แล้วเลือกบรรทัดคำสั่ง Find (on This Page) หรือกดปุ่ม Ctrl + F ที่ keyboard ก็ได้ 3. จากนั้นใส่คำที่ต้องการค้นหาลงไปแล้วก็กดปุ่ม Find Next โปรแกรมก็จะวิ่งหาคำดังกล่าว หากพบมันก็จะกระโดดไปแสดงคำนั้นๆ ซึ่งคุณสามารถกดปุ่ม Find Next เพื่อค้นหาต่อได้ อีกจนกว่าคุณจะพบข้อมูลที่ต้องการ  ข้อแตกต่างระหว่าง Index และ Search Engine 
คำตอบก็ คือวิธีในการค้นหาข้อมูลแบบ Index เค้าจะใช้คนเป็นผู้จัดรวบรวมและทำระบบฐานข้อมูลขึ้นมา ส่วนแบบ Search Engine นั้นระบบฐานข้อมูลของมันจะได้รับการจัดสร้างโดยใช้ Software ที่มีหน้าที่เกี่ยวกับงานทางด้านนี้ โดยเฉพาะมาเป็นตัวควบคุมและจัดการ ซึ่งเจ้า Software ตัวนี้จะมี ชื่อเรียกว่า Spiders การทำงานข้องมันจะใช้วิธีการเดิน ลัดเลาะไปตามเครือข่ายต่างๆที่เชื่อมโยงถึงกันอยู่เต็มไปหมดใน Internet เพื่อค้นหา Website ที่เกิดขึ้นมาใหม่ๆ รวมทั้งยัง สามารถตรวจสอบหาความเปลี่ยนแปลงของ ข้อมูลใน Site เดิมที่มีอยู่ ว่าที่ใดถูกอัพเดตแล้วบ้าง จากนั้นมันก็จะนำเอาข้อมูล ทั้งหมดที่สำรวจเข้ามา ได้เก็บใส่เข้าไปในฐานข้อมูลของตนอัตโนมัติ ยกตัวอย่างของผู้ให้บริการประเภทนี้เช่น Excite , google เป็นต้น

 

ที่มา  http://www.kemapat.ac.th/searchengine.htm 
guest profile guest

1. Google Search คืออะไร ?

Google Search เป็นเครื่องมือที่ให้บริการค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต( Search Engine) ของเว็บไซต์ Google.com ที่โด่งดังที่สุดในปัจจุบันครับ ผู้ใช้งานเพียงเข้าเว็บไซต์ www.Google.com จากนั้นพิมพ์คำหรือข้อความ( Keyword) เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการค้นหา เพียงชั่วอึดใจหลังกดปุ่ม Enter Google Search ก็จะแสดงเว็บไซต์ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับ Keyword เหล่านั้นทันที

ไม่เฉพาะแต่เพียงการค้นหาข้อมูลในรูปของเว็บไซต์เท่านั้น Google Search ยังสามารถค้นหาข้อมูลที่เป็นไฟล์รูปภาพ( Images) , กลุ่มข่าว( News Groups) และ สารบบเว็บ( Web Directory) ได้อย่างแม่นยำอย่างน่าทึ่งอีกด้วย ปัจจุบันเว็บไซต์ Google ได้รับความนิยมอย่างมากจากผู้ที่ต้องการค้นหาข้อมูลผ่านเว็บไซต์ โดยมีผู้เข้าใช้กว่า 250 ล้านครั้งต่อวันเลยทีเดียวครับ

บริการค้นหาข้อมูลของ Google Search แบ่งหมวดหมู่ของการค้นหาออกเป็น 4 หมวดหลักด้วยกัน คือ

 

 

1. เว็บ ( Web) เป็นการค้นหาข้อมูลในรูปแบบของเว็บไซต์ต่าง ๆ ทั่วโลก โดยการแสดงผลจะแสดงเว็บไซต์ที่มีคำที่เป็น Keyword อยู่ภายเว็บไซต์นั้น

2. รูปภาพ ( Images) เป็นการค้นหาไฟล์รูปภาพจากการแปลคำ Keyword

3. กลุ่มข่าว ( News Groups) เป็นการค้นหาข่าวสารจากกลุ่มสมาชิกที่ใช้บริการ Google News Groups เพื่อรับส่งข่าวสารกันเองระหว่างสมาชิก โดยมีการระบุชื่อผู้เขียนข่าว , หัวข้อข่าว , วันที่และเวลาที่โพสต์ข่าว

4. สารบบเว็บ ( Web Directory) Google มีการจัดประเภทของเว็บไซต์ออกเป็นหมวดหมู่ ซึ่งผู้ใช้สามารถค้นหาเว็บในเรื่องที่ต้องการตามหมวดหมู่ที่มีอยู่แล้วได้เลยทันทีครับ


2. รูปแบบการค้นหาข้อมูลด้วย Google ที่ควรทราบ

การค้นหาโดยทั่วไปส่วนใหญ่แล้วจะใช้ Keyword เป็นเครื่องมือในการนำทางการค้นหาอย่างเดียว แต่ถ้าผู้ใช้รู้จักใช้เครื่องหมายบางตัวร่วมด้วย ก็จะทำให้ขอบเขตการค้นหาของ Google แคบลง ทำให้ผู้ใช้ได้ข้อมูลที่ตรงกับความต้องการมากขึ้น เครื่องหมายที่สามารถนำมาช่วยในการค้นหาได้ มีดังนี้

- การใช้เครื่องหมายบวก (+) เชื่อมคำ

โดยปกติ Google จะไม่ใส่ใจในในการค้นหาข้อมูลจากการพิมพ์ Keyword ประเภท Common Word( คำง่ายๆ ) เช่น at, with, on, what, when, where, how, the, to, of แต่เนื่องจากเป็นบางครั้งคำเหล่านี้เป็นคำสำคัญของประโยคที่ผู้ใช้จำเป็นต้องค้นหา ดังนั้นเครื่องหมาย + จะช่วยเชื่อมคำ โดยมีเงื่อนไข ว่า ก่อนหน้าเครื่องหมาย + ต้องมีการเว้นวรรค 1 เคาะด้วย เช่น หากต้องการค้นหาเว็บไซต์เกี่ยวกับเกมส์ที่มีชื่อว่า Age of Empire ถ้าผู้ใช้พิมพ์ Keyword Age of Empire Google ก็จะทำการค้นหาแยกคำโดยไม่สนใจคำว่า of และจะค้นหาคำว่า Age หรือ Empire เพียงสองคำ แต่ถ้าผู้ใช้ระบุว่า Age +of Empire Google จะทำการค้นหาทั้งคำว่า Age, of และ Empire ครับ

 

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข (+)

- ตัดบางคำที่ไม่ต้องการค้นหาด้วยเครื่องหมายลบ ( - )

จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถตัดเรื่องที่ผู้ใช้ไม่ต้องการ หรือไม่เกี่ยวข้องออกไปได้ เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการ ล่องแก่ง แต่ไม่ต้องการ การล่องแก่งที่เกี่ยวข้องกับจังหวัดตาก ให้ผู้ใช้พิมพ์ Keyword ว่า ล่องแก่ง -ตาก (เช่นเดียวกับเครื่องหมาย + ต้องเว้นวรรคก่อนหน้าเครื่องหมายด้วย) Google จะทำการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการล่องแก่ง แต่ไม่มีจังหวัดตากเข้ามาเกี่ยวข้อง

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข (-)

- การค้นหาด้วยเครื่องหมายคำพูด ("...")

เหมาะสำหรับการค้นหาคำ Keyword ที่มีลักษณะเป็น ประโยควลีหรือกลุ่มคำ ที่ผู้ใช้ต้องการให้แสดงผลทุกคำในประโยค โดยไม่แยกคำ เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการหาเว็บไซต์เกี่ยวกับเพลงที่มีชื่อว่า If I Let You Go ให้พิมพ์ว่า " If I Let You Go" Google จะทำการค้นหาประโยค " If I Let You Go" ทั้งประโยคโดยไม่แยกคำค้นหา

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข ("...")

- การค้นหาด้วยคำว่า OR

เป็นการสั่งให้ Google ค้นหาข้อมูลเพิ่มมากขึ้น เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับ การล่องแก่ง ทั้งในจังหวัดตาก และปราจีนบุรี ให้ผู้ใช้พิมพ์ Keyword ว่า ล่องแก่ง ตาก OR ปราจีนบุรี Google จะทำการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการล่องแก่งทั้งในจังหวัดตาก และกาญจนบุรี

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข OR

- ไม่ต้องใช้คำว่า " AND" ในการแยกคำค้นหา

แต่เดิมการใช้ Keyword ที่มากกว่า 1 คำในการค้นหาเว็บไซต์แบบแยกคำ ผู้ใช้จำเป็นต้องใช้ AND ในการแยกคำเหล่านั้นครับ ปัจจุบันไม่ต้องใช้ AND แล้วครับ เพราะ Google จะทำการแยกคำให้โดยอัตโนมัติเมื่อผู้ใช้ทำการเว้นวรรคคำเหล่านั้น เช่น ถ้าผู้ใช้พิมพ์คำว่า Thai Travel Nature เมื่อคลิกปุ่มค้นหา ก็จะพบว่าในรายชื่อหรือเนื้อหาของเว็บที่ปรากฏจะมีคำว่า Thai ,Travel และ Nature อยู่ในนั้นด้วยครับ

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข AND

- Google จะไม่ใส่ใจใน Common Word

คำศัพท์พื้นๆ อย่าง the, where, is, how, a, to และอื่นๆ รวมทั้งตัวเลขและตัวอักษรเดี่ยวๆ Google มักไม่ให้ความสำคัญและใส่ใจที่จะค้นหาครับ เนื่องจากเครื่องมือที่ Google ใช้จัดเก็บและรวบรวมเว็บทั่วโลกจะค่อนข้างเสียเวลาในการเก็บรวบรวมเว็บที่มีคำเหล่านี้ (ซึ่งมีเยอะมากๆ) แต่ถ้าหากจำเป็น ผู้ใช้จะต้องใช้เครื่องหมาย " + " ในการเชื่อมคำเหล่านี้ด้วยครับ หรืออีกทางก็คือผู้ใช้อาจจะระบุคำที่ต้องค้นหาทั้งหมดในรูปของวลีภายใต้เครื่องหมาย " ……. " ครับ

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข Common Word

- ค้นหารูปได้แสนง่าย

ความสามารถที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่ชอบกันนักหนา และสร้างชื่อให้กับ Google ก็คือการค้นหารูปภาพด้วย Google Search ครับ วิธีการใช้ก็คือ

            1. คลิกเมนูลิ้งค รูปภาพ จากนั้นก็พิมพ์ชื่อภาพที่ต้องการค้นหา และคลิกปุ่มค้นหารูปภาพ ดังรูป

 

            2. จะปรากฏรูปภาพทั้งหมดที่ต้องการดังรูปครับ


3. เทคนิคการค้นหาข้อมูลด้วย Google แบบพิเศษ


- Google ค้นหาไฟล์ได้

Google สามารถค้นหาไฟล์เอกสารที่สำคัญๆ ได้ดังนี้

Adobe Portable Document Format ( ไฟล์นามสกุล . pdf)
Adobe PostScript ( ไฟล์นามสกุล . ps)
Lotus 1-2-3 ( ไฟล์นามสกุล . wk1, .wk2, .wk3, .wk4, .wk5, .wki, .wks และ . wku)
Lotus WordPro ( ไฟล์นามสกุล . lwp)
MacWrite ( ไฟล์นามสกุล . mw)
Microsoft Excel ( ไฟล์นามสกุล . xls)
Microsoft PowerPoint ( ไฟล์นามสกุล . ppt)
Microsoft Word ( ไฟล์นามสกุล . doc)
Microsoft Works ( ไฟล์นามสกุล . wks, .wps, .wdb)
Microsoft Write ( ไฟล์นามสกุล . wri)
Rich Text Format ( ไฟล์นามสกุล . rtf)
Shockwave Flash ( ไฟล์นามสกุล . swf)
Text ( ไฟล์นามสกุล . ans, .txt)

รูปแบบของการค้นหาคือ ให้ผู้ใช้พิมพ์ "ชื่อเรื่องหรือชื่อเอกสาร" filetype: นามสกุลของไฟล์ ในช่อง Google ตัวอย่างเช่น "การเลี้ยงไก่" filetype:doc ซึ่งหมายถึง การค้นหาไฟล์เอกสารที่มีนามสกุล . doc เรื่อง การเลี้ยงไก่ นั่นเอง

 

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข filetype:

- เว็บไซต์ที่ถูกลบไปแล้ว Google ก็ยังค้นหาได้อยู่

เพราะก่อนหน้านี้เว็บไซต์ที่ถูกลบเหล่านั้นได้ถูกบรรจุหรือจัดเก็บไว้ในเครื่องที่เรียกว่า Cache ของ Google ไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้วนั่นเองครับ เช่น บางลิงค์ที่ผู้ใช้งานคลิกเข้าชมไม่ได้อันเนื่องมาจากถูกลบออกไปแล้ว ผู้งานก็เพียงแต่คลิกที่เมนู หน้าที่ถูกเก็บไว้ ครับ

 

ภาพตัวอย่าง

- ค้นหาหน้าเว็บที่มีข้อมูลคล้ายกันได้

ในบางครั้งเมื่อ Cache จะไม่สามารถช่วยผู้ใช้ค้นหาเว็บไซต์นั้นได้ แต่ผู้ใช้งานสามารถค้นหาเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาคล้ายกัน โดคลิกไปยังเมนู หน้าที่คล้ายกัน ครับ

Google สามารถค้นหาเว็บทั้งหมดที่เชื่อมมายังเว็บนั้นได้

โดยพิมพ์ link: ชื่อ URL ของเว็บ ในช่อง Search ของ Google เช่น link:www.plawan.com เป็นการค้นหาลิงค์ที่เชื่อมมายังเว็บของปลาวาฬดอตคอมเป็นต้น

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข link:

- Google สามารถหาคำเฉพาะเจาะจงในเว็บไซต์นั้นๆ ได้

โดยพิมพ์ คำที่ค้นหา site: ชื่อ URL ของเว็บ ในช่อง Search ของ Google เช่น Google Earth site:www.kapook.com ซึ่งเป็นการหาหน้าเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับ Google Earth ในเว็บไซต์ของ Kapook นั่งเองครับ

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข site:
- ค้นหาแบบวัดดวงกันบ้าง

จะวัดดวงค้นหาเว็บไซต์ด้วย Google กันสักครั้งคงไม่เป็นไร เพราะถ้าดวงดีผู้ใช้ก็จะได้ไม่เสียเวลามานั่นเลือกให้เมื่อตุ้มครับ โดยพิมพ์ Keyword สำหรับค้นหาเว็บไซต์ที่ต้องการจากนั้นคลิกที่ปุ่ม ดีใจจัง ค้นหาแล้วเจอเลย

ภาพตัวอย่างการใช้ปุ่ม ดีใจจัง ค้นหาแล้วเจอเลย

- ค้นหาบทสรุปของหนังสือก่อนตัดสินใจซื้อ

ก่อนการตัดสินใจที่จะซื้อหนังสือสักเล่ม ผู้ใช้น่าจะทราบก่อนว่าเนื้อหามีอะไรบ้าง หรือมีโอกาสได้ดูสารบัญของหนั้งสือเล่มนั้นเสียก่อนครับ Google Search สามารถบอกผู้ใช้ได้เพียงใส่ชื่อหนังสือหลังคำว่า books about ชื่อหนังสือ เช่น books about Harry Potter

 

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข books about

- ใช้ Google แทนเครื่องคิดเลขได้

ผู้ใช้สามารถใช้ Google คำนวนตัวเลขด้วยเครื่องหมายในการคำนวนหลักๆ เช่น

+ = บวก   - = ลบ   * = คูณ   / = หาร   ^ = ยกกำลัง

 

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข Calculator

- ค้นหาความหมายหรือนิยามของศัพท์เฉพาะ(เป็นภาษาอังกฤษ)

Google สามารถค้นหาศัพท์เฉพาะได้ด้วยการพิมพ์ define: ศัพท์เฉพาะ

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข define:

- ค้นหาเว็บไซต์รวมรูปดีๆ

นอกจากการใช้เมนู รูปภาพ ( Images) ในการค้นหารูปภาพแล้ว ผู้ใช้ยังค้นหาภาพได้ด้วยการพิมพ ชื่อภาพ pictures

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข pictures

- ค้นหารีวิวภาพยนตร์สนุกๆ

ผู้ใช้สามารถค้นหารีวิวหรือตัวอย่างภาพยนตร์ด้วย Google ได้ง่ายๆ ด้วยการพิมพ์ movie: ชื่อภาพยนตร์

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข movie:

- ค้นเนื้อหาข้อมูลในเว็บไซต์ที่ต้องการ

ผู้ใช้สามารถค้นหาข้อมูลเฉพาะในเว็บไซต์ที่ต้องการได้ โดยการพิมพ์ ชื่อข้อมูลค้นหา site: เว็บไซต์ที่จะค้นหา ยกตัวอย่างเช่น การค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับ Spyware ในเว็บไซต์ของกระปุก โดยการพิมพ์ Spyware site: www.kapook.com

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข การค้นเนื้อหาข้อมูลในเว็บไซต์ที่ต้องการ


4. การค้นหาข้อมูลแบบละเอียด( Advance Search)

เพื่อความแม่นยำในการค้นหาข้อมูล ผู้ใช้สามารถกำหนดเงื่อนไขในแบบที่ละเอียดได้ไม่ยากครับ เพราะ Google ได้เพิ่มรูปแบบในการกำหนดเงื่อนไขสำเร็จรูปมาให้เรียบร้อยแล้ว โดยคลิกไปยังเมนู ค้นหาแบบละเอียด ด้านขวามือ ก็จะเข้าสู่หน้าค้นหาดังรูป

รูปแบบการค้นหาข้อมูลของ Google ในแบบสำเร็จรูปนี้ค่อนข้างใช้งานง่ายครับ เนื่องจากเป็นภาษาไทยทั้งหมด ผู้ใช้เพียงพิมพ์ Keyword ที่ต้องการค้นหากอรปกับใช้ตัวเลือกด้านล่างเพื่อให้ขอบข่ายการหาเฉพาะเจาะจงในสิ่งที่ต้องการครับ

อ้างอิง http://www.kapook.com/google/search/#2

guest profile guest

เทคนิคการสืบค้นข้อมูล

      เทคนิคในการสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต

                เมื่อเราต้องการค้นหาข้อมูลบางอย่างในอินเทอร์เน็ตนั้น เราจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องบอกหรือระบุความต้องการที่จะค้นหาข้อมูลได้ถูกต้อง  ไม่เช่นนั้นแล้วผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นหาอาจจะมีมากมาย หรือไม่ตรงกับความต้องการของเรา ดังนั้น ในการค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ตนั้นจะต้องกำหนดคำถามที่ชัดเจน  ตลอดจนใช้เทคนิคต่าง  ๆ   เข้ามาช่วย เพื่อให้ผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นหาตรงกับความต้องการมากที่สุด เทคนิคและวิธีการที่ช่วยให้การค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตประสบความสำเร็จ ได้แก่  

                1. ตั้งประเด็นให้แคบลง เนื่องจากจำนวนข้อมูลที่มีมากมายในอินเทอร์เน็ตทำให้การค้นหาได้ ผลลัพธ์เป็นจำนวนมาก ดังนั้น เราควรเริ่มทำการค้นหาทั่ว ๆ ไปก่อน เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการต่อจากนั้นจึงค่อยระบุหรือใส่ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการลงไป เพื่อตั้งประเด็นให้ครอบคลุมมากขึ้น ซึ่งจะทำให้เราได้ข้อมูลที่ตรงความต้องการมากที่สุด

                2. ใช้สิ่งที่เรียกว่าออปชั่น (Option ) เป็นตัวช่วยในการค้นหาข้อมูล ซึ่งเว็บไซต์ที่เป็นSearch Engines ส่วนใหญ่จะมีให้อยู่แล้ว

                3. อย่าค้นหาคำที่เราต้องการเท่านั้น ควรจะค้นหาคำที่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันด้วย

                4. หลีกเลี่ยงการค้นหาคำที่เป็นคำเดี่ยว ๆ หรือมีตัวเลขปนอยู่ เช่น NT หรือ 3D แต่ถ้าต้องการค้นหาจริง ๆ จะต้องใส่เครื่องหมายคำพูดลงไปด้วย ( “ ” )

                5. พวกกลุ่มคำ หรือวลี ก็ต้องใส่เครื่องหมายคำพูดลงไปเช่นเดียวกัน

                6. หลีกเลี่ยงคำจำพวก Natural Language ( ภาษาพูด )

                7. ควรใช้สิ่งที่เรียกว่า Advanced Search หรือ Power Search เข้ามาช่วย เพราะจะ ทำให้ได้ผลลัพธ์ที่ตรงกับความต้องการของเรามากกว่าการค้นหาแบบธรรมดา การสืบค้นแบบขั้นสูง(Advanced search) เป็นการสืบค้นโดยใช้คำสำคัญเป็นคำค้นทำให้การสืบค้นสารสนเทศมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว คือ

                     7.1 ระบุคำค้นให้ตรงกับสารสนเทศที่ต้องการให้มากที่สุด

                     7.2 การค้นหาสารสนเทศ บางครั้งคำค้นอาจมีรูปคำแตกต่างกัน แต่มี

รากศัพท์เดียวกัน เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ครบถ้วนจึงใช้การตัดปลายคำเพื่อรวบรวมคำที่มีการสะกดใกล้เคียงกันเหมือนกัน หรือคำพหูพจน์และเอกพจน์ โดยใช้สัญลักษณ์แทนการสืบค้นเช่น  *   ,   ?   ,   $    เป็นต้น   เช่น  Prevent * หมายถึง ให้สืบค้นคำที่มีคำว่า prevent นำหน้าส่วนตัวหลังจะเป็นอะไรก็ได้

                ตัวอย่าง

                                Prevent prevents prevented preventing prevention …….

                      7.3  การใช้ตรรกะแบบบูลีน ( Boolean logic ) คือ การใช้ตัวเชื่อม  AND, OR,NOT,  NEAR,  AND NOT   เชื่อมคำหรือวลี  เพื่อให้สามารถสืบค้นสารสนเทศได้ตามความต้องการของผู้ใช้มากขึ้น เช่น

                                AND ใช้เชื่อมคำค้นเมื่อต้องการให้สืบค้นรายการที่มีคำทั้งสองคำ ผลการค้นจะได้สารสนเทศจำนวนน้อยลง

                                OR ใช้เชื่อมคำค้น ระหว่างคำที่พ้องความหมายกัน หรือความหมายใกล้เคียงกัน ผลการค้นจะได้สารสนเทศจำนวนมากขึ้น

                                NOT ใช้เชื่อมคำค้นเมื่อต้องการให้สืบค้นรายการที่มีเฉพาะคำแรกไม่มีคำที่สอง ผลการค้นจะได้สารสนเทศเฉพาะเรื่องแรก ไม่มีเรื่องที่สอง (เสาวคนธ์ คงสุข, 2544 :  215 – 216)

                                NEAR  หมายถึง มีคำนั้นอยู่ใกล้คำที่ต้องการค้น ห่างจากกันไม่เกิน  10  คำในประโยคเดียวกัน

 

ที่มา  http://aprilmay.blog.mthai.com/2009/06/29/public-6

guest profile guest

เทคนิคในการค้นหาข้อมูล


ในการค้นหาข้อมูลด้วย Search Engine ส่วนใหญ่แล้วปัญหาที่ผู้ใช้งานทั่วไปมักจะพบเห็น หรือประสบอยู่เสมอๆก็คงจะหนีไปไม่พ้นข้อมูลที่ค้นหาได้มีขนาดมากจนเกินไป ดังนั้นเพื่อ ความสะดวกในการใช้งานคุณจึงน่าที่จะเรียนรู้เทคนิคต่างๆเพื่อช่วยลดหรือจำกัดคำที่ค้น หาให้แคบลงและตรงประเด็นกับเรามากที่สุด

1.
เลือกรูปแบบการค้นหาให้ตรงกับสิ่งที่คุณต้องการมากที่สุด(อย่างที่ผมได้เคยบอก ไว้ตั้งแต่ตอนต้นว่ามีอยู่ 2 แบบ)ส่วนจะเลือกใช้วิธีไหนก็ตามแต่คุณจะเห็นว่า เหมาะสม ยกตัวอย่างเช่น ถ้าคุณต้องการจะค้นหาข้อมูลที่มีลักษณะทั่วไป ไม่ชี้ เฉพาะเจาะจง ก็ควรเลือกบริการสืบค้นข้อมูลแบบ Index อย่างของ yahoo เพราะ โอกาสที่จะเจอนั้น เปอร์เซ็นต์สูงกว่าจะมานั่งสุ่มหาโดยใช้วิธีแบบ Search Engine

2.
ใช้คำมากกว่า 1 คำที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกันช่วยค้นหา เพราะจะได้ผลลัพท์ที่มีขนาด แคบลงและชี้เฉพาะมากขึ้น (ย่อมจะดีกว่าหาคำเดียวโดดๆ)

3.
ใช้บริการของผู้ให้บริการเฉพาะด้าน เช่นการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวของ ภาพยนตร์ก็น่าที่จะเลือกใช้ Search Engine ที่ให้บริการใหล้เคียงกับเรื่องพวกนี้ เพราะผลลัพท์ที่ได้น่าจะเป็นที่น่าพอใจกว่า

4.
ใส่เครื่องหมายคำพูดครอบคลุมกลุ่มคำที่ต้องการ เพื่อบอกกับ Search Engine ว่าเรา ต้องการผลการค้นหาที่มีคำในกลุ่มนั้นครบและตรงตามลำดับที่เราพิมพ์ทุกคำ เช่น "free shareware" เป็นต้น

5.
การขึ้นต้นของตัวอักษรตัวเล็กเท่ากันหมด Search Engine จะเข้าใจว่าเราต้องการ ให้มันค้นหาคำดังกล่าวแบบไม่ต้องสนใจว่าตัวอักษรที่ได้จะมีขนาดเล็กหรือใหญ่ ดังนั้นหากคุณต้องการอยากที่จะให้มันค้นหาคำตรงตามแบบที่เขียนไว้ก็ให้ใช้ตัว อักษรใหญ่แทน

6.
ใช้ตัวเชื่อมทาง Logic หรือตรรกศาสตร์เข้ามาช่วยค้นหา มีอยู่ 3 ตัวด้วยกันคือ - AND สั่งให้หาโดยจะต้องมีคำนั้นๆมาแสดงด้วยเท่านั้น! โดยไม่จำเป็นว่าจะต้องติดกัน เช่น phonelink AND pager เป็นต้น - OR สั่งให้หาโดยจะต้องนำคำใดคำหนึ่งที่พิมพ์ลงไปมาแสดง - NOT สั่งไม่ให้เลือกคำนั้นๆมาแสดง เช่น food and cheese not butter หมายความว่า ให้ทำการหาเว็บที่เกี่ยวข้องกับ food และ cheese แต่ต้องไม่มี butter เป็นต้น

7.
ใช้เครื่องหมายบวกลบคัดเลือกคำ + หน้าคำที่ต้องการจริงๆ - (ลบ)ใช้นำหน้าคำที่ไม่ต้องการ () ช่วยแยกกลุ่มคำ เช่น (pentium+computer)cpu

8.
ใช้ * เป็นตัวร่วม เช่น com* เป็นการบอกให้หาคำที่มีคำว่า com ขึ้นหน้าส่วนด้านท้ายเป็น อะไรไม่สนใจ *tor เป็นการให้หาคำที่ลงท้ายด้วย tor ด้านหน้าจะเป็นอะไรไม่สนใจ
guest profile guest

เทคนิคในการค้นหาข้อมูล


ในการค้นหาข้อมูลด้วย Search Engine ส่วนใหญ่แล้วปัญหาที่ผู้ใช้งานทั่วไปมักจะพบเห็น หรือประสบอยู่เสมอๆก็คงจะหนีไปไม่พ้นข้อมูลที่ค้นหาได้มีขนาดมากจนเกินไป ดังนั้นเพื่อ ความสะดวกในการใช้งานคุณจึงน่าที่จะเรียนรู้เทคนิคต่างๆเพื่อช่วยลดหรือจำกัดคำที่ค้น หาให้แคบลงและตรงประเด็นกับเรามากที่สุด

1.
เลือกรูปแบบการค้นหาให้ตรงกับสิ่งที่คุณต้องการมากที่สุด(อย่างที่ผมได้เคยบอก ไว้ตั้งแต่ตอนต้นว่ามีอยู่ 2 แบบ)ส่วนจะเลือกใช้วิธีไหนก็ตามแต่คุณจะเห็นว่า เหมาะสม ยกตัวอย่างเช่น ถ้าคุณต้องการจะค้นหาข้อมูลที่มีลักษณะทั่วไป ไม่ชี้ เฉพาะเจาะจง ก็ควรเลือกบริการสืบค้นข้อมูลแบบ Index อย่างของ yahoo เพราะ โอกาสที่จะเจอนั้น เปอร์เซ็นต์สูงกว่าจะมานั่งสุ่มหาโดยใช้วิธีแบบ Search Engine

2.
ใช้คำมากกว่า 1 คำที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกันช่วยค้นหา เพราะจะได้ผลลัพท์ที่มีขนาด แคบลงและชี้เฉพาะมากขึ้น (ย่อมจะดีกว่าหาคำเดียวโดดๆ)

3.
ใช้บริการของผู้ให้บริการเฉพาะด้าน เช่นการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวของ ภาพยนตร์ก็น่าที่จะเลือกใช้ Search Engine ที่ให้บริการใหล้เคียงกับเรื่องพวกนี้ เพราะผลลัพท์ที่ได้น่าจะเป็นที่น่าพอใจกว่า

4.
ใส่เครื่องหมายคำพูดครอบคลุมกลุ่มคำที่ต้องการ เพื่อบอกกับ Search Engine ว่าเรา ต้องการผลการค้นหาที่มีคำในกลุ่มนั้นครบและตรงตามลำดับที่เราพิมพ์ทุกคำ เช่น "free shareware" เป็นต้น

5.
การขึ้นต้นของตัวอักษรตัวเล็กเท่ากันหมด Search Engine จะเข้าใจว่าเราต้องการ ให้มันค้นหาคำดังกล่าวแบบไม่ต้องสนใจว่าตัวอักษรที่ได้จะมีขนาดเล็กหรือใหญ่ ดังนั้นหากคุณต้องการอยากที่จะให้มันค้นหาคำตรงตามแบบที่เขียนไว้ก็ให้ใช้ตัว อักษรใหญ่แทน

6.
ใช้ตัวเชื่อมทาง Logic หรือตรรกศาสตร์เข้ามาช่วยค้นหา มีอยู่ 3 ตัวด้วยกันคือ - AND สั่งให้หาโดยจะต้องมีคำนั้นๆมาแสดงด้วยเท่านั้น! โดยไม่จำเป็นว่าจะต้องติดกัน เช่น phonelink AND pager เป็นต้น - OR สั่งให้หาโดยจะต้องนำคำใดคำหนึ่งที่พิมพ์ลงไปมาแสดง - NOT สั่งไม่ให้เลือกคำนั้นๆมาแสดง เช่น food and cheese not butter หมายความว่า ให้ทำการหาเว็บที่เกี่ยวข้องกับ food และ cheese แต่ต้องไม่มี butter เป็นต้น

7.
ใช้เครื่องหมายบวกลบคัดเลือกคำ + หน้าคำที่ต้องการจริงๆ - (ลบ)ใช้นำหน้าคำที่ไม่ต้องการ () ช่วยแยกกลุ่มคำ เช่น (pentium+computer)cpu

8.
ใช้ * เป็นตัวร่วม เช่น com* เป็นการบอกให้หาคำที่มีคำว่า com ขึ้นหน้าส่วนด้านท้ายเป็น อะไรไม่สนใจ *tor เป็นการให้หาคำที่ลงท้ายด้วย tor ด้านหน้าจะเป็นอะไรไม่สนใจ

อ้างอิง  http://raktukkonnaka.spaces.live.com/blog/cns!C6A83A39A6E3D506!174.entry
guest profile guest
Search
            นโลกไซเบอร์สเปซมีข้อมูลมากมายมหาศาล การที่จะค้นหาข้อมูลจำนวนมากมายอย่างนี้เราไม่อาจจะคลิกเพื่อค้นหาข้อมูลพบได้ง่ายๆ จำเป็นจะต้องอาศัยการค้นหาข้อมูลด้วยเครื่องมือค้นหาที่เรียกว่า Search Engine เข้ามาช่วยเพื่อความสะดวกและรวดเร็ว เว็บไซต์ที่ให้บริการค้นหาข้อมูลมีมากมายหลายที่ทั้งของคนไทยและต่างประเทศ

 

24hrsความหมาย/ประเภทของ Search Engine

            การค้นหาข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีอยู่เบ็นจำนวนมาก ถ้าเราเปิดไปทีละหน้าจออาจจะต้องเสียเวลาในการค้นหา และอาจหาข้อมูลที่เราต้องการไม่พบ การที่เราจะค้นหาข้อมูลให้พบอย่างรวดเร็วจะต้องใช้เว็บไซต์สำหรับการค้นหาข้อมูลที่เรียกว่า Seaech Engine Site ซึ่งจะทำหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้อน คำหรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่กำหนด คลิกปุ่มค้นหา (หรือกดปุ่ม Enter) เท่านั้น รอสักครู่ข้อมูลอย่างย่อๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้เราเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ทันที

 

Google Yahoo

 

            Search Engine แต่ละแห่งมีวิธีการและการจัดเก็บฐานข้อมูลที่แตกต่างกันไปตามประเภทของ Search Engine ที่แต่ละเว็บไซต์นำมาใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ดังนั้นการที่คุณจะเข้าไปหาข้อมูลหรือเว็บไซต์ โดยวิธีการ Search นั้น อย่างน้อยคุณจะต้องทราบว่า เว็บไซต์ที่คุณเข้าไปใช้บริการ ใช้วิธีการหรือ ประเภทของ Search Engine อะไร เนื่องจากแต่ละประเภทมีความละเอียดในการจัดเก็บข้อมูลต่างกันไป ที่นี้เราลองมาดูซิว่า Search Engine ประเภทใดที่เหมาะกับการค้นหาข้อมูลของคุณ

 

Siamguru Sanook

 

  1. Keyword Index   เป็นการค้นหาข้อมูล โดยการค้นจากข้อความในเว็บเพจที่ได้ผ่านการสำรวจมาแล้ว จะอ่านข้อความ ข้อมูล อย่างน้อยๆ ก็ประมาณ 200-300 ตัวอักษรแรกของเว็บเพจนั้นๆ โดยการอ่านนี้จะหมายรวมไปถึงอ่านข้อความที่อยู่ในโครงสร้างภาษา HTML ซึ่งอยู่ในรูปแบบของข้อความที่อยู่ในคำสั่ง alt ซึ่งเป็นคำสั่งภายใน TAG คำสังของรูปภาพ แต่จะไม่นำคำสั่งของ TAG อื่นๆ ในภาษา HTML และคำสั่งในภาษา JAVA มาใช้ในการค้นหา วิธีการค้นหาของ Search Engine ประเภทนี้จะให้ความสำคัญกับการเรียงลำดับข้อมูลก่อน-หลัง และความถี่ในการนำเสนอข้อมูลนั้น การค้นหาข้อมูล โดยวิธีการเช่นนี้จะมีความรวดเร็วมาก แต่มีความละเอียดในการจัดแยกหมวดหมู่ของข้อมูลค่อนข้างน้อย เนื่องจากไม่ได้คำนึงถึงรายละเอียดของเนื้อหาเท่าที่ควร แต่หากว่าคุณต้องการแนวทางด้านกว้างของข้อมูล และความรวดเร็วในการค้นหา วิธีการนี้ก็ใช้ได้ผลดี
     
  2. Subject Directories   การจำแนกหมวดหมู่ข้อมูล Search Engine ประเภทนี้ จะจัดแบ่งโดยการวิเคราะห์เนื้อหา รายละเอียด ของแต่ละเว็บเพจ ว่ามีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร โดยการจัดแบ่งแบบนี้จะใช้แรงงานคนในการพิจารณาเว็บเพจ ซึ่งทำให้การจัดหมวดหมู่ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของคนจัดหมวดหมู่แต่ละคนว่าจะจัดเก็บข้อมูลนั้นๆ อยู่ในเครือข่ายข้อมูลอะไร ดังนั้นฐานข้อมูลของ Search Engine ประเภทนี้จะถูกจัดแบ่งตามเนื้อหาก่อน แล้วจึงนำมาเป็นฐานข้อมูลในการค้นหาต่อไป การค้นหาค่อนข้างจะตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และมีความถูกต้องในการค้นหาสูง เป็นต้นว่า หากเราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์ หรือเว็บเพจที่นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Search Engine ก็จะประมวลผลรายชื่อเว็บไซต์ หรือเว็บเพจที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ล้วนๆ มาให้คุณ
     
  3. Metasearch Engines   จุดเด่นของการค้นหาด้วยวิธีการนี้ คือ สามารถเชื่อมโยงไปยัง Search Engine ประเภทอื่นๆ และยังมีความหลากหลายของข้อมูล แต่การค้นหาด้วยวิธีนี้มีจุดด้อย คือ วิธีการนี้จะไม่ให้ความสำคัญกับขนาดเล็กใหญ่ของตัวอักษร และมักจะผ่านเลยคำประเภท Natural Language (ภาษาพูด) ดังนั้น หากคุณจะใช้ Search Engine แบบนี้ละก็ ขอให้ตระหนักถึงข้อบกพร่องเหล่านี้ด้วย
     
            ดังนั้น การเลือกใช้เครื่องมือในการค้นหาจะต้องเข้าใจว่า ข้อมูลที่ต้องการค้นหานั้นมีลักษณะอย่างไร มีขอบข่ายกว้างขวางหรือแคบขนาดไหน แล้วจึงเลือกใช้เว็บไซต์ค้นหาที่ให้บริการตรงกับความต้องการของเรา

อ้างอิง
-http://www.yupparaj.ac.th/CAI/search/index.html
guest profile guest

การค้นหาข้อมูลมี  2  วิธี  คือ (การค้นหาข้อมูลและสารระบบ :: 2553)
                1. การค้นหาในรูปแบบ Index Directory
                2. การค้นหาในรูปแบบ Search Engine

การค้นหาในรูปแบบ Index Directory
                                วิธีการค้นหาข้อมูลแบบ Index นี้  ข้อมูลจะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยมากกว่าการค้นหาข้อมูลด้วย วิธี Search Engine  โดยมันจะถูกคัดแยกข้อมูลออกมาเป็นหมวดหมู่ และจัดแบ่งแยก Site ต่าง ๆ ออกเป็นประเภท  สำหรับวิธีใช้งานสามารถที่จะ Click  เลือกข้อมูลที่ต้องการดูได้ใน Web Browser จากนั้นที่หน้าจอก็จะแสดงรายละเอียดของหัวข้อปลีกย่อยลึกลงมาอีกระดับหนึ่ง ปรากฏขึ้นมาให้เลือกอีก  ส่วนจะแสดงออกมาให้เลือกมากแค่ไหน   คงขึ้นอยู่กับขนาดของฐานข้อมูลใน Index ว่าในแต่ละประเภทจัดรวบรวมเก็บเอาไว้มากน้อยเพียงใด  เมื่อเข้าไปถึงประเภทย่อยที่สนใจแล้ว ที่เว็บเพจจะแสดงรายชื่อของเอกสารที่เกี่ยวข้องกับประเภทของข้อมูลนั้น ๆ ออกมา หากคิดว่าเอกสารใดสนใจหรือต้องการที่จะดู  สามารถ Click ลงไปยัง  Link  เพื่อขอเชื่อมต่อ ทางไซต์จะนำเอาผลของข้อมูลดังกล่าวออกมาแสดงผลทันที  นอกเหนือไปจากนี้ไซต์ที่แสดงออกมานั้นทางผู้ให้บริการยังได้เรียบเรียงโดยนำเอา Site ที่มีความเกี่ยวข้องมากที่สุดเอามาไว้ตอนบนสุดของรายชื่อที่แสดง
การค้นหาในรูปแบบ Search Engine  

วิธีการอีกอย่างที่นิยมใช้การค้นหาข้อมูลคือการใช้ Search Engine ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่กว่า 70% จะใช้วิธีการค้นหาแบบนี้ หลักการทำงานของ Search Engine จะแตกต่างจากการใช้ Index ลักษณะของมันจะเป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่มหาศาลที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วไปบน Internet  ไม่มีการแสดงข้อมูลออกมาเป็นลำดับขั้นของความสำคัญ การใช้งานจะเหมือนการสืบค้นฐานข้อมูลอื่น ๆ คือ จะต้องพิมพ์คำสำคัญ (Keyword) ซึ่งเป็นการอธิบายถึงข้อมูลที่ต้องการจะเข้าไปค้นหา

จากนั้น Search Engine ก็จะแสดงข้อมูลและ Site ต่างๆที่เกี่ยวข้องออกมา
เทคนิคในการค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เนท  (เทคนิคการค้นหาข้อมูล โรงเรียนเขมภัทร์ศึกษา :: 2553)

                ในการค้นหาข้อมูลด้วย Search Engine ส่วนใหญ่แล้วปัญหาที่ผู้ใช้งานทั่วไปมักจะพบเห็น หรือประสบอยู่เสมอๆก็คงจะเป็นข้อมูลที่ค้นหาได้มีขนาดมากจนเกินไป ดังนั้นเพื่อความสะดวกในการใช้งานจึงน่าที่จะเรียนรู้เทคนิคต่างๆเพื่อช่วยลดหรือจำกัดคำที่ค้น หาให้แคบลงและตรงประเด็นมากที่สุด
1.เลือกรูปแบบการค้นหาให้ตรงกับสิ่งทีต้องการมากที่สุด ส่วนจะเลือกใช้วิธีไหนก็ตามแต่จะเห็นว่าเหมาะสม

ยกตัวอย่างเช่น

                - ถ้าต้องการจะค้นหาข้อมูลที่มีลักษณะทั่วไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง ก็ควรเลือกบริการสืบค้นข้อมูล

                แบบ Index อย่างของ sanook เพราะ โอกาสที่จะเจอนั้น เปอร์เซ็นต์สูงกว่าจะมานั่งสุ่ม

                หาโดยใช้วิธีแบบ Search Engine

2.ใช้คำมากกว่า 1 คำที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกันช่วยค้นหา เพราะจะได้ผลลัพท์ที่มีขนาด แคบลงและชี้เฉพาะมากขึ้น(ย่อมจะดีกว่าหาคำเดียวโดดๆ) เช่น  kanchanaburi+kemapat

3. ใช้บริการของผู้ให้บริการเฉพาะด้าน เช่น การค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวของ ภาพยนตร์ก็น่าที่จะเลือกใช้Search Engine ที่ให้บริการใหล้เคียงกับเรื่องพวกนี้ เพราะผลลัพท์ที่ได้น่าจะเป็นที่น่าพอใจกว่า

4. ใส่เครื่องหมายคำพูดครอบคลุมกลุ่มคำที่ต้องการ เพื่อบอกกับ Search Engine ว่าเรา ต้องการผลการค้นหาที่มีคำในกลุ่มนั้นครบและตรงตามลำดับที่เราพิมพ์ทุกคำ เช่น "kemapat school" เป็นต้น

5. การขึ้นต้นของตัวอักษรตัวเล็กเท่ากันหมด Search Engine จะเข้าใจว่าเราต้องการ ให้มันค้นหาคำดังกล่าวแบบไม่ต้องสนใจว่าตัวอักษรที่ได้จะมีขนาดเล็กหรือใหญ่ ดังนั้นหากต้องการอยากที่จะให้มันค้นหาคำตรงตามแบบที่เขียนไว้ก็ให้ใช้ตัว อักษรใหญ่แทน

6. ใช้ตัวเชื่อมทาง Logic หรือตรรกศาสตร์เข้ามาช่วยค้นหา มีอยู่ 3 ตัวด้วยกันคือ

           - AND สั่งให้หาโดยจะต้องมีคำนั้นๆ มาแสดงด้วยเท่านั้น! โดยไม่จำเป็นว่าจะต้องติดกัน เช่น

                      thailand and kanchanaburi เป็นต้น

           - OR สั่งให้หาโดยจะต้องนำคำใดคำหนึ่งที่พิมพ์ลงไปมาแสดง

           - NOT สั่งไม่ให้เลือกคำนั้นๆมาแสดง เช่น thailand and kanchanaburi not goft หมายความว่า ให้ทำการหาเว็บที่เกี่ยวข้องกับ thailand และ kanchanaburi แต่ต้องไม่มี goft เป็นต้น

7. ใช้เครื่องหมายบวกลบคัดเลือกคำ + หน้าคำที่ต้องการจริงๆ

            - (ลบ)ใช้นำหน้าคำที่ไม่ต้องการ

           (..) ช่วยแยกกลุ่มคำ เช่น (pentium+computer)cpu

8. ใช้ * เป็นตัวร่วม เช่น com* เป็นการบอกให้หาคำที่มีคำว่า com ขึ้นหน้าส่วนด้านท้ายเป็น อะไรไม่สนใจ

*tor เป็นการให้หาคำที่ลงท้ายด้วย tor ด้านหน้าจะเป็นอะไรไม่สนใจ




guest profile guest
เพิ่มเติม *

อ้างอิง url :: http://www.kemapat.ac.th/search8.htm

               ::  http://pirun.ku.ac.th/~g4966078/mim.doc
guest profile guest

เทคนิคการค้นหาข้อมูลด้วย Google


วิธีที่หนึ่ง

พิมพ์คำเหล่านี้ ใน Google Search
(1)
" parent directory " /spectralab 4.3213/ -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(2)
" parent directory " DVDRip -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(3)
" parent directory "Xvid -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(4)
" parent directory " Gamez -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(5)
" parent directory " MP3 -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(6)
" parent directory " Name of Singer or album -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums


หมายเหตุ ให้คุณเปลี่ยน คำที่ตามหลัง parent directory เช่น MP3 Gamez appz DVDRip เป็นสิ่งที่คุณอยากได้ แล้วก้อค้นหา คุณจะพบกับ ความมหัศจรรย์ใน Google

วิธีที่สอง

พิมพ์คำต่อไปนี้ใน Google

?intitle:index.of? mp3
จากนั้นแค่เพิ่มชื่อ เพลง อัลบั้ม นักร้อง ลงไป เช่น ?intitle:index.of? mp3 myfavoritesongs

วิธีที่สาม

พิมพ์คำต่อไปนี้ใน Google

inurl:micr0s0f filetype:iso

จากนั้น ก้อเปลี่ยน คำว่า micr0s0f กับคำว่า iso เป็นคำที่คุณต้องการ เช่น inurl:myc0mpany filetype:zip

เพิ่มเติม

1.Google จะใช้ and (และ) อยู่ในประโยคเสมอ เช่น ค้นหา harvest moon back to nature Google จะค้นหาแบบ harvest AND moon AND back... (พูดง่ายๆคือค้นหาแบบแยกคำ)

2. การใช้ OR (หรือ) คือการให้ Google หาข้อมูลมากขึ้นจาก คำA และ คำB (พูดง่ายๆ คือนำผลที่ได้ มารวมกันรวมกัน) วิธีใช้ พิมพ์ OR ด้วยตัวใหญ่ระหว่างคำที่ต้องการ เช่น vacation london OR paris คือหาทั้งใน London และ Paris

3. Google จะละคำทั่วๆไป (เช่น the, to, of) และตัวอักษรเดี่ยว เพราะจะทำให้ค้นหาช้าลง แต่ถ้าคำพวกนั้นสามารถช่วยให้หาข้อมูลง่ายขึ้น ก็ต้องใช้เครื่องหมาย + ช่วยโดยนำไปอยู่หน้าคำนั้น (ต้องเว้นวรรคก่อนด้วย) เช่น back +to nature หรือ final fantasy +x

4. Google สามารถกันขอบเขตการค้นหาให้เล็กลงด้วยการใช้ Advanced Search หรือ การค้นหา แบบพิเศษ ใน Google ภาษาไทย

5. Google สามารถตัดคำพ้องรูปได้โดยใช้เครื่องหมาย - ช่วยโดยการนำไปอยู่คำที่จะตัด เช่น คำว่า bass มี 2 ความหมายคือ เกี่ยวกับปลา และดนตรีเราจะตัดที่มีความหมายเกี่ยวกับดนตรีออกโดยพิมพ์ bass -music หมายความว่า bass ที่ไม่มีคำว่า music นอกจากนี้มันยังสามารถตัดอย่างอื่นได้อีก เช่น "front mission 3" -filetype pdf หมายความว่า เรื่องเกี่ยวกับ front mission 3 แต่ไม่แสดงไฟล์ PDF

6. การค้นหาแบบทั้งวลี (คือการค้นหาทั้งกลุ่มคำ) ให้ใช้เครื่องหมาย " " เช่น "Breath of fire IV"

7. Google สามารถแปลเว็บภาษา Italian, French, Spanish, German, และ Portuguese เป็น ภาษาอังกฤษได้ (โดยคลิ้กที่คำว่า "Translate this page" ด้านข้างชื่อเว็บ)

8. Google สามารถหาไฟล์ในรูปแบบอื่นๆที่ไม่ใช่ HTML ได้ ประเภทไฟล์ที่รองรับคือ

Adobe Portable Document Format (นามสกุลของไฟล์ pdf)
Adobe PostScript (นามสกุลของไฟล์ ps)
Lotus 1-2-3 (นามสกุลของไฟล์ wk1, wk2, wk3, wk4, wk5, wki, wks, wku)
Lotus WordPro (นามสกุลของไฟล์ lwp)
MacWrite (นามสกุลของไฟล์ mw)
Microsoft Excel (นามสกุลของไฟล์ xls)
Microsoft PowerPoint (นามสกุลของไฟล์ ppt)
Microsoft Word (นามสกุลของไฟล์ doc)
Microsoft Works (นามสกุลของไฟล์ wks, wps, wdb)
Microsoft Write (นามสกุลของไฟล์ wri)
Rich Text Format (นามสกุลของไฟล์ rtf)
Text (นามสกุลของไฟล์ ans หรือ txt)

วิธีใช้ filetype:นามสกุลของไฟล์ เช่น "Chrono Cross" filetype:pdf หมายความว่าเอกสารของ Chrono Cross ที่เป็น PDF และมันยังมีความสามารถดูไฟล์เหล่านั้นในรูปแบบของ HTML ได้ (โดยคลิ้ก View as HTML หรือ รูปแบบ HTML ใน Google ไทย)

9. Google สามารถเก็บ Cached ของเว็บที่จะเข้าชมไว้ได้ (โดยคลิ้กที่ Cached หรือ ถูกเก็บไว้ ใน Google ภาษาไทย) ประโยชน์ของมันคือช่วยให้เราสามารถเข้าเว็บบางเว็บที่อาจโดนลบไปแล้ว โดยข้อมูลที่ได้เป็นข้อมูลก่อนถูกลบ (ใหม่สุดที่มันจะมีได้)

10.Google สามารถค้นหาหน้าที่คล้ายกัน (โดยคลิ้ก Similar pages หรือ หน้าที่คล้ายกัน ใน Google ภาษาไทย) โดยจะค้นหาข้อมูลที่คล้ายๆ กันให้เรา เช่น ถ้าเรากำลังหาข้อมูลการวิจัย ความสามารถนี้จะช่วยให้หาข้อมูลได้มากมายในเวลาที่รวดเร็วโดยไม่ต้องเป็น ห่วงเรื่อง keyword

11.Google สามารถค้นหา link ทั้งหมดที่เชื่อมไปยังเว็บนั้นได้ วิธีใช้ link:ชื่อ URL เช่น link:www.google.com แต่คุณไม่สามารถใช้ความสามารถนี้ร่วมกับการหาแบบอื่นๆ ได้

12.Google สามารถค้นหาเว็บที่จำเพาะเจาะจงได้ โดยพิมพ์ คำที่คุณต้องการเจาะจง site:ชื่อ URL เช่น ถ้าคุณต้องการหาเว็บเกี่ยวกับการเข้า (admission) มหาวิทยาลัย Stanford ให้พิมพ์ admission site:www.stanford.edu

13.ถ้าคุณมีเวลาน้อย (และคิดว่าโชคดี) Google มีบริการการค้นหาด่วน (ชื่อบริการ I'm Feeling Lucky) โดยที่ Google จะนำเว็บที่อยู่ลำดับแรกของการค้นหา ส่งให้คุณเลย (link ไปเว็บนั้นให้เสร็จ) เช่น คุณต้องการค้นหาเว็บมหาวิทยาลัย Stanford อย่างด่วนให้พิมพ์ Stanford แล้วกด I'm Feeling Lucky หรือ ใช่เลย! เจอแน่ๆ ใน Google ไทย

14.Google สามารถหาแผนที่ของสหรัฐอเมริกาได้โดยพิมพ์ ที่อยู่ ชื่อถนน พร้อมด้วยชื่อรัฐ เช่น 165 University Ave Palo Alto CA Google จะจัดการส่งแผนที่คุณภาพสูงมาให้คุณ

15.Google สามารถหาเบอร์โทร (เฉพาะอเมริกา) หรือพิมพ์เบอร์โทรแล้วหาบริษัทได้โดยพิมพ์
first name (or first initial), last name, city (state is optional)
first name (or first initial), last name, state
first name (or first initial), last name, area code
first name (or first initial), last name, zip code
phone number, including area code
last name, city, state
last name, zip code
แล้วแต่ว่าคุณจะใช้แบบไหน

16.Google สามารถค้นหา Catalog สินค้าได้ (เข้าไปที่ http://catalogs.google.com)
17.Google สามารถเก็บข้อมูลลักษณะการใช้ที่คุณต้องการได้โดยเข้าไปที่ Preferences หรือ ตัวเลือก ใน Google ไทย

guest profile guest

รับทำ SEO เทคนิคพิเศษ ในการค้นหาข้อมูล หรือ DATAต่าง ๆ ทั่วโลก

รับทำ SEO เทคนิคพิเศษ ในการค้นหาข้อมูล หรือ DATAต่าง ๆ ทั่วโลก

หากเว็บไซต์ของคุณ”ติดหน้าแรก Google

จะมีผู้คนนับล้านรายที่ได้พบเห็นเว็บไซต์ของคุณ ได้เห็นสินค้าที่คุณนำเสนอได้เห็นให้บริการที่คุณส่งมอบให้กับเขาเหล่านั้นและนี่ก็จะเป็นหนทางสำคัญประการหนึ่งในการให้บริการรับทำ SEO “การตลาดออนไลน์” ด้วยให้บริการ โปรโมทเว็บไซต์ฟรี โฆษณาเว็บไซต์ ของท่านทำไมต้องติดหน้าแรก Google

นักท่องอินเตอร์เน็ต onlineหลายคน คงเคยใช้ให้บริการรับทำ SEO เทคนิคพิเศษ ในการค้นหาข้อมูล หรือ DATAต่าง ๆ ทั่วโลก ไม่ว่าจะของ Google, MSN, Yahoo ซึ่งทั้ง 3 ค่ายนี้ต่างก็เป็น การทำ รับทำ SEO เทคนิคพิเศษ ที่ได้รับความนิยมระดับโลกเลยทีเดียว ไม่ว่าเราจะพิมพ์ “คำค้นหา” หรือที่เรียกกันว่า “Keyword” อะไรก็ได้ ลงไปตามความต้องการเพียงชั่วพริบตา ติดหน้าแรก Google จะทำการค้นหาหน้าเว็บไซต์ที่มี “Keyword” ที่เราพิมพ์ลงไปนั้นขึ้นมาทันที และบ่อยครั้งที่เราทำการค้นหาไปแล้ว พบว่ามีหน้าเว็บไซต์จำนวนมากที่มี “Keyword” ตามที่เราพิมพ์ลงไป แสดงออกมานับสิบๆหน้า

guest profile guest
Search Engine เป็นเครื่องมือที่ทรงคุณค่า แต่ในทางกลับกันก็สร้างโทษมหันต์ จากสถิติเท่าที่ผมได้ยินมาพบว่าเว็บไซต์ที่ค้นหาจาก Google มีเว็บไซต์ที่มีประโยชน์ไม่ถึง 20% ที่เหลือเป็นเว็บที่ไม่มีประโยชน์เท่านั้นยังไม่พอยังเป็นโทษด้วย เช่นเว็บเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจาร หรือเนื้อหาไม่เหมาะสมคาดว่ามีมากกว่า 20-40% ของเว็บทั้งหมด

ข้อควรจำเกี่ยวกับเว็บไซต์ Google

จงท่องไว้ว่า Google เป็นเว็บที่อันตรายมีหลายประเทศที่มีการบล็อกเว็บไซต์นี้
รายการที่อยู่ใน 10 ลำดับแรกถ้าไม่ใช่สุดฮิตจริงๆ ก็มีเป้าหมายในการตลาด
รายการที่อยู่หลังๆส่วนใหญ่จะมีเปอร์เซนต์ที่ซ่อนข้อมูลที่มีค่า และเว็บสุดแย่
รูปภาพทั้งหมดที่ปรากฎใน Google ให้คิดว่ามีลิขสิทธิ์นำไปใช้เพื่อสาธารณะไม่ควร ระวังติดคุก ยกเว้น แต่เจ้าของเว็บจะยินยอมให้ใช้
เราสามารถเลือกค้นหา ซึ่งเป็นจุดเด่นเว็บนี้ หารูป หรือเข้าในสารระบบ กลุ่มข่าวได้ด้วย


ดังนั้นเพื่อให้เราเข้าใจ และใช้เครื่องมือที่มีทั้งคุณและโทษนี้จึงมีคำแนะนำวิธีการใช้ดังนี้

ไม่ควรใช้เครื่อง Notebook หรือเครื่องประจำตัว
ถ้าจำเป็นต้องใช้แนะนำให้ติดตั้งเครื่องมือป้องกันเต็มพิกัด
Update Patch ใหม่สุด
มี Personal firewall
มี Antivirus ที่อัพเดต Signature ใหม่สุดๆ
AntiSpyware
มี IDS/IPS ประจำเครื่องยิ่งดี
ปิดบริการบนเครื่องที่ไม่จำเป็น โดยเฉพาะการใช้ NetBIOS สำหรับเครื่อง Windows และ NFS ในเครื่อง Unix
เมื่อ Browser ทำการขึ้นข้อความใดๆให้เราเลือก No ไว้ก่อน ถ้าอ่านแล้วงงๆ
เมื่อเข้าลิงค์จากรายการที่ค้นหาแล้ว ต้องลงทะเบียนชื่อแนะนำให้ใช้ข้อมูลที่ได้รับผลกระทบน้อยที่สุด เช่นเบอร์โทรศัพท์, Free E-mail เนื่องจากผลของเว็บที่ค้นหาเหล่านี้ส่วนใหญ่เกิน 20% ที่พบมีวัตถุประสงค์ร้าย
ชื่อที่ต้องสงสัยในรายการที่ค้นหาพบ เช่นเป็นหมายเลข IP address หรือไม่มีแหล่งข้อมูลยืนยันว่าปลอดภัย ให้ใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ


วิธีการสืบค้นข้อมูลบน Google

การระบุชื่อองค์กรที่ต้องการค้นหาโดยตรงเช่น Itcompanion เป็นต้น
การค้นหา e-mail ขององค์กรด้วยส่วนใหญ่ Spammer จะใช้กับเพื่อค้นหา E-mail เช่น @itcompanion.co.th
การระบุ E-mail เพื่อค้นหาประวัติของบุคคลนั้นกับการใช้เว็บ
ถ้าต้องการข้อมูลพิเศษให้ดูวิธีการค้นหาตารางด้านล่าง
คำที่ช่วยในการหาข้อมูล

คีย์ที่ใช้
สิ่งที่จะได้

คำที่ต้องการค้นหา
แน่นอนไม่ต้องบอกก็รู้อยู่แล้ว

Top ten, Top hits + คำที่ต้องการ
จะได้เครื่องมือ สถิติ หรือข้อมูลที่อยู่ในกระแส รวมถึงแหล่งข้อมูล

Free download + ชื่อซอฟต์แวร์
จะได้ซอฟต์แวร์ที่ต้องการ หลายครั้งจะแถม Spyware ด้วยระวัง

ระบบปฏิบัติการ + สิ่งที่ต้องการค้นหา
จะได้เครื่องมือต่างๆที่ใช้กับระบบปฏิบัติการที่เราเลือก

Thai + หัวข้อที่ต้องการ
เราจะได้ข้อมูลเกี่ยวกับไทยๆ

ใช้คำใน Top Web site
เช่นเราไปที่ www.download.com และไปดูเครื่องมือ หรือสิ่งที่ต้องการแล้วนำมาค้นหา

ชื่อบุคคล
เราจะพบเกียรติประวัติ ความดัง และข้อมูลส่วนตัวของบุคคลนั้นๆ เช่น ชื่อ Hacker ที่โปรดปราน หรือ Winnie the pooh เป็นต้น

ระบุ Signature ต่างของ Antivirus
เช่น SDAT5000 เป็นการหา Signature ของ Mcafee เป็นต้น

Trend, Statistic, Penetration + คำที่ต้องการ
เป็นการหาข้อมูลเพื่อดูการแนวโน้ม หรือเอกสารในการอ้างอิง หรือบรรยาย

Security + คำที่ต้องการ
ดูข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัย

Software, Tools+ คำที่ต้องการ
เป็นการค้นหาเครื่องมือ

Competition+ คำที่ต้องการ
ดูเว็บเกี่ยวกับคู่แข่ง

Ranking+คำที่ต้องการ
ดูข้อมูลของซอฟต์แวร์นี้

Event
ดูเกี่ยวกับเหตุการณ์ในหัวข้อที่ค้นหา



guest profile guest

Search Engine เป็นเครื่องมือที่ทรงคุณค่า แต่ในทางกลับกันก็สร้างโทษมหันต์ จากสถิติเท่าที่ผมได้ยินมาพบว่าเว็บไซต์ที่ค้นหาจาก Google มีเว็บไซต์ที่มีประโยชน์ไม่ถึง 20% ที่เหลือเป็นเว็บที่ไม่มีประโยชน์เท่านั้นยังไม่พอยังเป็นโทษด้วย เช่นเว็บเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจาร หรือเนื้อหาไม่เหมาะสมคาดว่ามีมากกว่า 20-40% ของเว็บทั้งหมด

ข้อควรจำเกี่ยวกับเว็บไซต์ Google

จงท่องไว้ว่า Google เป็นเว็บที่อันตรายมีหลายประเทศที่มีการบล็อกเว็บไซต์นี้
รายการที่อยู่ใน 10 ลำดับแรกถ้าไม่ใช่สุดฮิตจริงๆ ก็มีเป้าหมายในการตลาด
รายการที่อยู่หลังๆส่วนใหญ่จะมีเปอร์เซนต์ที่ซ่อนข้อมูลที่มีค่า และเว็บสุดแย่
รูปภาพทั้งหมดที่ปรากฎใน Google ให้คิดว่ามีลิขสิทธิ์นำไปใช้เพื่อสาธารณะไม่ควร ระวังติดคุก ยกเว้น แต่เจ้าของเว็บจะยินยอมให้ใช้
เราสามารถเลือกค้นหา ซึ่งเป็นจุดเด่นเว็บนี้ หารูป หรือเข้าในสารระบบ กลุ่มข่าวได้ด้วย


ดังนั้นเพื่อให้เราเข้าใจ และใช้เครื่องมือที่มีทั้งคุณและโทษนี้จึงมีคำแนะนำวิธีการใช้ดังนี้

ไม่ควรใช้เครื่อง Notebook หรือเครื่องประจำตัว
ถ้าจำเป็นต้องใช้แนะนำให้ติดตั้งเครื่องมือป้องกันเต็มพิกัด
Update Patch ใหม่สุด
มี Personal firewall
มี Antivirus ที่อัพเดต Signature ใหม่สุดๆ
AntiSpyware
มี IDS/IPS ประจำเครื่องยิ่งดี
ปิดบริการบนเครื่องที่ไม่จำเป็น โดยเฉพาะการใช้ NetBIOS สำหรับเครื่อง Windows และ NFS ในเครื่อง Unix
เมื่อ Browser ทำการขึ้นข้อความใดๆให้เราเลือก No ไว้ก่อน ถ้าอ่านแล้วงงๆ
เมื่อเข้าลิงค์จากรายการที่ค้นหาแล้ว ต้องลงทะเบียนชื่อแนะนำให้ใช้ข้อมูลที่ได้รับผลกระทบน้อยที่สุด เช่นเบอร์โทรศัพท์, Free E-mail เนื่องจากผลของเว็บที่ค้นหาเหล่านี้ส่วนใหญ่เกิน 20% ที่พบมีวัตถุประสงค์ร้าย
ชื่อที่ต้องสงสัยในรายการที่ค้นหาพบ เช่นเป็นหมายเลข IP address หรือไม่มีแหล่งข้อมูลยืนยันว่าปลอดภัย ให้ใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ


วิธีการสืบค้นข้อมูลบน Google

การระบุชื่อองค์กรที่ต้องการค้นหาโดยตรงเช่น Itcompanion เป็นต้น
การค้นหา e-mail ขององค์กรด้วยส่วนใหญ่ Spammer จะใช้กับเพื่อค้นหา E-mail เช่น @itcompanion.co.th
การระบุ E-mail เพื่อค้นหาประวัติของบุคคลนั้นกับการใช้เว็บ
ถ้าต้องการข้อมูลพิเศษให้ดูวิธีการค้นหาตารางด้านล่าง
คำที่ช่วยในการหาข้อมูล

คีย์ที่ใช้
สิ่งที่จะได้

คำที่ต้องการค้นหา
แน่นอนไม่ต้องบอกก็รู้อยู่แล้ว

Top ten, Top hits + คำที่ต้องการ
จะได้เครื่องมือ สถิติ หรือข้อมูลที่อยู่ในกระแส รวมถึงแหล่งข้อมูล

Free download + ชื่อซอฟต์แวร์
จะได้ซอฟต์แวร์ที่ต้องการ หลายครั้งจะแถม Spyware ด้วยระวัง

ระบบปฏิบัติการ + สิ่งที่ต้องการค้นหา
จะได้เครื่องมือต่างๆที่ใช้กับระบบปฏิบัติการที่เราเลือก

Thai + หัวข้อที่ต้องการ
เราจะได้ข้อมูลเกี่ยวกับไทยๆ

ใช้คำใน Top Web site
เช่นเราไปที่ www.download.com และไปดูเครื่องมือ หรือสิ่งที่ต้องการแล้วนำมาค้นหา

ชื่อบุคคล
เราจะพบเกียรติประวัติ ความดัง และข้อมูลส่วนตัวของบุคคลนั้นๆ เช่น ชื่อ Hacker ที่โปรดปราน หรือ Winnie the pooh เป็นต้น

ระบุ Signature ต่างของ Antivirus
เช่น SDAT5000 เป็นการหา Signature ของ Mcafee เป็นต้น

Trend, Statistic, Penetration + คำที่ต้องการ
เป็นการหาข้อมูลเพื่อดูการแนวโน้ม หรือเอกสารในการอ้างอิง หรือบรรยาย

Security + คำที่ต้องการ
ดูข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัย

Software, Tools+ คำที่ต้องการ
เป็นการค้นหาเครื่องมือ

Competition+ คำที่ต้องการ
ดูเว็บเกี่ยวกับคู่แข่ง

Ranking+คำที่ต้องการ
ดูข้อมูลของซอฟต์แวร์นี้

Event
ดูเกี่ยวกับเหตุการณ์ในหัวข้อที่ค้นหา

guest profile guest

Search Engine เป็นเครื่องมือที่ทรงคุณค่า แต่ในทางกลับกันก็สร้างโทษมหันต์ จากสถิติเท่าที่ผมได้ยินมาพบว่าเว็บไซต์ที่ค้นหาจาก Google มีเว็บไซต์ที่มีประโยชน์ไม่ถึง 20% ที่เหลือเป็นเว็บที่ไม่มีประโยชน์เท่านั้นยังไม่พอยังเป็นโทษด้วย เช่นเว็บเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจาร หรือเนื้อหาไม่เหมาะสมคาดว่ามีมากกว่า 20-40% ของเว็บทั้งหมด

ข้อควรจำเกี่ยวกับเว็บไซต์ Google

จงท่องไว้ว่า Google เป็นเว็บที่อันตรายมีหลายประเทศที่มีการบล็อกเว็บไซต์นี้
รายการที่อยู่ใน 10 ลำดับแรกถ้าไม่ใช่สุดฮิตจริงๆ ก็มีเป้าหมายในการตลาด
รายการที่อยู่หลังๆส่วนใหญ่จะมีเปอร์เซนต์ที่ซ่อนข้อมูลที่มีค่า และเว็บสุดแย่
รูปภาพทั้งหมดที่ปรากฎใน Google ให้คิดว่ามีลิขสิทธิ์นำไปใช้เพื่อสาธารณะไม่ควร ระวังติดคุก ยกเว้น แต่เจ้าของเว็บจะยินยอมให้ใช้
เราสามารถเลือกค้นหา ซึ่งเป็นจุดเด่นเว็บนี้ หารูป หรือเข้าในสารระบบ กลุ่มข่าวได้ด้วย


ดังนั้นเพื่อให้เราเข้าใจ และใช้เครื่องมือที่มีทั้งคุณและโทษนี้จึงมีคำแนะนำวิธีการใช้ดังนี้

ไม่ควรใช้เครื่อง Notebook หรือเครื่องประจำตัว
ถ้าจำเป็นต้องใช้แนะนำให้ติดตั้งเครื่องมือป้องกันเต็มพิกัด
Update Patch ใหม่สุด
มี Personal firewall
มี Antivirus ที่อัพเดต Signature ใหม่สุดๆ
AntiSpyware
มี IDS/IPS ประจำเครื่องยิ่งดี
ปิดบริการบนเครื่องที่ไม่จำเป็น โดยเฉพาะการใช้ NetBIOS สำหรับเครื่อง Windows และ NFS ในเครื่อง Unix
เมื่อ Browser ทำการขึ้นข้อความใดๆให้เราเลือก No ไว้ก่อน ถ้าอ่านแล้วงงๆ
เมื่อเข้าลิงค์จากรายการที่ค้นหาแล้ว ต้องลงทะเบียนชื่อแนะนำให้ใช้ข้อมูลที่ได้รับผลกระทบน้อยที่สุด เช่นเบอร์โทรศัพท์, Free E-mail เนื่องจากผลของเว็บที่ค้นหาเหล่านี้ส่วนใหญ่เกิน 20% ที่พบมีวัตถุประสงค์ร้าย
ชื่อที่ต้องสงสัยในรายการที่ค้นหาพบ เช่นเป็นหมายเลข IP address หรือไม่มีแหล่งข้อมูลยืนยันว่าปลอดภัย ให้ใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ


วิธีการสืบค้นข้อมูลบน Google

การระบุชื่อองค์กรที่ต้องการค้นหาโดยตรงเช่น Itcompanion เป็นต้น
การค้นหา e-mail ขององค์กรด้วยส่วนใหญ่ Spammer จะใช้กับเพื่อค้นหา E-mail เช่น @itcompanion.co.th
การระบุ E-mail เพื่อค้นหาประวัติของบุคคลนั้นกับการใช้เว็บ
ถ้าต้องการข้อมูลพิเศษให้ดูวิธีการค้นหาตารางด้านล่าง
คำที่ช่วยในการหาข้อมูล

คีย์ที่ใช้
สิ่งที่จะได้

คำที่ต้องการค้นหา
แน่นอนไม่ต้องบอกก็รู้อยู่แล้ว

Top ten, Top hits + คำที่ต้องการ
จะได้เครื่องมือ สถิติ หรือข้อมูลที่อยู่ในกระแส รวมถึงแหล่งข้อมูล

Free download + ชื่อซอฟต์แวร์
จะได้ซอฟต์แวร์ที่ต้องการ หลายครั้งจะแถม Spyware ด้วยระวัง

ระบบปฏิบัติการ + สิ่งที่ต้องการค้นหา
จะได้เครื่องมือต่างๆที่ใช้กับระบบปฏิบัติการที่เราเลือก

Thai + หัวข้อที่ต้องการ
เราจะได้ข้อมูลเกี่ยวกับไทยๆ

ใช้คำใน Top Web site
เช่นเราไปที่ www.download.com และไปดูเครื่องมือ หรือสิ่งที่ต้องการแล้วนำมาค้นหา

ชื่อบุคคล
เราจะพบเกียรติประวัติ ความดัง และข้อมูลส่วนตัวของบุคคลนั้นๆ เช่น ชื่อ Hacker ที่โปรดปราน หรือ Winnie the pooh เป็นต้น

ระบุ Signature ต่างของ Antivirus
เช่น SDAT5000 เป็นการหา Signature ของ Mcafee เป็นต้น

Trend, Statistic, Penetration + คำที่ต้องการ
เป็นการหาข้อมูลเพื่อดูการแนวโน้ม หรือเอกสารในการอ้างอิง หรือบรรยาย

Security + คำที่ต้องการ
ดูข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัย

Software, Tools+ คำที่ต้องการ
เป็นการค้นหาเครื่องมือ

Competition+ คำที่ต้องการ
ดูเว็บเกี่ยวกับคู่แข่ง

Ranking+คำที่ต้องการ
ดูข้อมูลของซอฟต์แวร์นี้

Event
ดูเกี่ยวกับเหตุการณ์ในหัวข้อที่ค้นหา

guest profile guest
อ้างอิง จาก guest เมื่อ 24/6/2553 22:03:00

Search Engine เป็นเครื่องมือที่ทรงคุณค่า แต่ในทางกลับกันก็สร้างโทษมหันต์ จากสถิติเท่าที่ผมได้ยินมาพบว่าเว็บไซต์ที่ค้นหาจาก Google มีเว็บไซต์ที่มีประโยชน์ไม่ถึง 20% ที่เหลือเป็นเว็บที่ไม่มีประโยชน์เท่านั้นยังไม่พอยังเป็นโทษด้วย เช่นเว็บเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจาร หรือเนื้อหาไม่เหมาะสมคาดว่ามีมากกว่า 20-40% ของเว็บทั้งหมด

ข้อควรจำเกี่ยวกับเว็บไซต์ Google

จงท่องไว้ว่า Google เป็นเว็บที่อันตรายมีหลายประเทศที่มีการบล็อกเว็บไซต์นี้
รายการที่อยู่ใน 10 ลำดับแรกถ้าไม่ใช่สุดฮิตจริงๆ ก็มีเป้าหมายในการตลาด
รายการที่อยู่หลังๆส่วนใหญ่จะมีเปอร์เซนต์ที่ซ่อนข้อมูลที่มีค่า และเว็บสุดแย่
รูปภาพทั้งหมดที่ปรากฎใน Google ให้คิดว่ามีลิขสิทธิ์นำไปใช้เพื่อสาธารณะไม่ควร ระวังติดคุก ยกเว้น แต่เจ้าของเว็บจะยินยอมให้ใช้
เราสามารถเลือกค้นหา ซึ่งเป็นจุดเด่นเว็บนี้ หารูป หรือเข้าในสารระบบ กลุ่มข่าวได้ด้วย


ดังนั้นเพื่อให้เราเข้าใจ และใช้เครื่องมือที่มีทั้งคุณและโทษนี้จึงมีคำแนะนำวิธีการใช้ดังนี้

ไม่ควรใช้เครื่อง Notebook หรือเครื่องประจำตัว
ถ้าจำเป็นต้องใช้แนะนำให้ติดตั้งเครื่องมือป้องกันเต็มพิกัด
Update Patch ใหม่สุด
มี Personal firewall
มี Antivirus ที่อัพเดต Signature ใหม่สุดๆ
AntiSpyware
มี IDS/IPS ประจำเครื่องยิ่งดี
ปิดบริการบนเครื่องที่ไม่จำเป็น โดยเฉพาะการใช้ NetBIOS สำหรับเครื่อง Windows และ NFS ในเครื่อง Unix
เมื่อ Browser ทำการขึ้นข้อความใดๆให้เราเลือก No ไว้ก่อน ถ้าอ่านแล้วงงๆ
เมื่อเข้าลิงค์จากรายการที่ค้นหาแล้ว ต้องลงทะเบียนชื่อแนะนำให้ใช้ข้อมูลที่ได้รับผลกระทบน้อยที่สุด เช่นเบอร์โทรศัพท์, Free E-mail เนื่องจากผลของเว็บที่ค้นหาเหล่านี้ส่วนใหญ่เกิน 20% ที่พบมีวัตถุประสงค์ร้าย
ชื่อที่ต้องสงสัยในรายการที่ค้นหาพบ เช่นเป็นหมายเลข IP address หรือไม่มีแหล่งข้อมูลยืนยันว่าปลอดภัย ให้ใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ


วิธีการสืบค้นข้อมูลบน Google

การระบุชื่อองค์กรที่ต้องการค้นหาโดยตรงเช่น Itcompanion เป็นต้น
การค้นหา e-mail ขององค์กรด้วยส่วนใหญ่ Spammer จะใช้กับเพื่อค้นหา E-mail เช่น @itcompanion.co.th
การระบุ E-mail เพื่อค้นหาประวัติของบุคคลนั้นกับการใช้เว็บ
ถ้าต้องการข้อมูลพิเศษให้ดูวิธีการค้นหาตารางด้านล่าง
คำที่ช่วยในการหาข้อมูล

คีย์ที่ใช้
สิ่งที่จะได้

คำที่ต้องการค้นหา
แน่นอนไม่ต้องบอกก็รู้อยู่แล้ว

Top ten, Top hits + คำที่ต้องการ
จะได้เครื่องมือ สถิติ หรือข้อมูลที่อยู่ในกระแส รวมถึงแหล่งข้อมูล

Free download + ชื่อซอฟต์แวร์
จะได้ซอฟต์แวร์ที่ต้องการ หลายครั้งจะแถม Spyware ด้วยระวัง

ระบบปฏิบัติการ + สิ่งที่ต้องการค้นหา
จะได้เครื่องมือต่างๆที่ใช้กับระบบปฏิบัติการที่เราเลือก

Thai + หัวข้อที่ต้องการ
เราจะได้ข้อมูลเกี่ยวกับไทยๆ

ใช้คำใน Top Web site
เช่นเราไปที่ www.download.com และไปดูเครื่องมือ หรือสิ่งที่ต้องการแล้วนำมาค้นหา

ชื่อบุคคล
เราจะพบเกียรติประวัติ ความดัง และข้อมูลส่วนตัวของบุคคลนั้นๆ เช่น ชื่อ Hacker ที่โปรดปราน หรือ Winnie the pooh เป็นต้น

ระบุ Signature ต่างของ Antivirus
เช่น SDAT5000 เป็นการหา Signature ของ Mcafee เป็นต้น

Trend, Statistic, Penetration + คำที่ต้องการ
เป็นการหาข้อมูลเพื่อดูการแนวโน้ม หรือเอกสารในการอ้างอิง หรือบรรยาย

Security + คำที่ต้องการ
ดูข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัย

Software, Tools+ คำที่ต้องการ
เป็นการค้นหาเครื่องมือ

Competition+ คำที่ต้องการ
ดูเว็บเกี่ยวกับคู่แข่ง

Ranking+คำที่ต้องการ
ดูข้อมูลของซอฟต์แวร์นี้

Event
ดูเกี่ยวกับเหตุการณ์ในหัวข้อที่ค้นหา

ที่มา www.krunuippk.ob.tc/page/page5.htm


guest profile guest

เทคนิคการหาข้อมูลใน Google

Search Engine  เป็นเครื่องมือที่ทรงคุณค่า แต่ในทางกลับกันก็สร้างโทษมหันต์ จากสถิติเท่าที่ผมได้ยินมาพบว่าเว็บไซต์ที่ค้นหาจาก Google มี เว็บไซต์ที่มีประโยชน์ไม่ถึง 20% ที่เหลือเป็นเว็บที่ไม่มีประโยชน์เท่านั้นยังไม่พอ ยังเป็นโทษด้วย เช่นเว็บเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจาร หรือเนื้อหาไม่เหมาะสมคาดว่ามีมากกว่า 20-40% ของเว็บทั้งหมด

ข้อควรจำเกี่ยวกับเว็บไซต์ Google

                 
  1. จงท่องไว้ว่า Google  เป็นเว็บที่อันตรายมีหลายประเทศที่มีการบล็อกเว็บไซต์นี้                          
  2. รายการที่อยู่ใน 10  ลำดับแรกถ้าไม่ใช่สุดฮิตจริงๆ      ก็มีเป้าหมายในการตลาด                    
  3. รายการที่อยู่หลังๆส่วน ใหญ่จะมีเปอร์เซนต์ที่ซ่อนข้อมูลที่มีค่า      และเว็บสุดแย่                    
  4. รูปภาพทั้งหมดที่ปรากฎใน  Google ให้คิดว่ามีลิขสิทธิ์นำไปใช้เพื่อสาธารณะไม่ควร      ระวังติดคุก ยกเว้น แต่เจ้าของเว็บจะยินยอมให้ใช้                    
  5. เราสามารถเลือกค้นหา  ซึ่งเป็นจุดเด่นเว็บนี้ หารูป      หรือเข้าในสารระบบ กลุ่มข่าวได้ด้วย

 

ดังนั้นเพื่อให้เราเข้าใจ และใช้เครื่องมือที่มีทั้งคุณและโทษนี้จึงมีคำแนะนำวิธีการใช้ดังนี้

                 
  1. ไม่ควรใช้เครื่อง  Notebook หรือเครื่องประจำตัว                    
  2. ถ้าจำเป็นต้องใช้แนะนำ ให้ติดตั้งเครื่องมือป้องกันเต็มพิกัด             
                               
    1. Update       Patch ใหม่สุด                                        
    2. มี Personal  firewall                                        
    3. มี Antivirus ที่อัพเดต Signature       ใหม่สุดๆ                                        
    4. AntiSpyware                                        
    5. มี IDS/IPS ประจำเครื่องยิ่งดี                                        
    6. ปิดบริการบนเครื่องที่ ไม่จำเป็น โดยเฉพาะการใช้ NetBIOS       สำหรับเครื่อง Windows และ  NFS ในเครื่อง Unix                    
                                                           
  3. เมื่อ Browser ทำการขึ้นข้อความใดๆให้เราเลือก      No ไว้ก่อน ถ้าอ่านแล้วงงๆ                                    
  4. เมื่อเข้าลิงค์จากรายการ ที่ค้นหาแล้ว      ต้องลงทะเบียนชื่อแนะนำให้ใช้ข้อมูลที่ได้รับผลกระทบน้อยที่สุด      เช่นเบอร์โทรศัพท์, Free E-mail เนื่องจากผลของเว็บที่ ค้นหาเหล่านี้ส่วนใหญ่เกิน      20% ที่พบมีวัตถุประสงค์ร้าย                                    
  5. ชื่อที่ต้องสงสัยใน รายการที่ค้นหาพบ เช่นเป็นหมายเลข IP      address หรือไม่มีแหล่งข้อมูลยืนยันว่าปลอดภัย      ให้ใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ            
                   

 

                   

วิธีการสืบค้นข้อมูลบน Google

                   
                             
  1. การระบุชื่อองค์กรที่ ต้องการค้นหาโดยตรงเช่น Itcompanion เป็นต้น                                            
  2. การค้นหา e-mail ขององค์กรด้วยส่วนใหญ่      Spammer จะใช้กับเพื่อค้นหา E-mail เช่น @itcompanion.co.th                                            
  3. การระบุ E-mail เพื่อค้นหาประวัติของบุคคลนั้นกับการใช้เว็บ                                            
  4. ถ้าต้องการข้อมูลพิเศษ ให้ดูวิธีการค้นหาตารางด้านล่าง              

ที่มา http://fws.cc/cssurin/index.php?topic=37.0

guest profile guest
เทคนิคการค้นหาข้อมูล

 

Search
            นโลกไซเบอร์สเปซมีข้อมูลมากมายมหาศาล การที่จะค้นหาข้อมูลจำนวนมากมายอย่างนี้เราไม่อาจจะคลิกเพื่อค้นหาข้อมูลพบได้ง่ายๆ จำเป็นจะต้องอาศัยการค้นหาข้อมูลด้วยเครื่องมือค้นหาที่เรียกว่า Search Engine เข้ามาช่วยเพื่อความสะดวกและรวดเร็ว เว็บไซต์ที่ให้บริการค้นหาข้อมูลมีมากมายหลายที่ทั้งของคนไทยและต่างประเทศ

 

24hrsความหมาย/ประเภทของ Search Engine

            การค้นหาข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีอยู่เบ็นจำนวนมาก ถ้าเราเปิดไปทีละหน้าจออาจจะต้องเสียเวลาในการค้นหา และอาจหาข้อมูลที่เราต้องการไม่พบ การที่เราจะค้นหาข้อมูลให้พบอย่างรวดเร็วจะต้องใช้เว็บไซต์สำหรับการค้นหาข้อมูลที่เรียกว่า Seaech Engine Site ซึ่งจะทำหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้อน คำหรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่กำหนด คลิกปุ่มค้นหา (หรือกดปุ่ม Enter) เท่านั้น รอสักครู่ข้อมูลอย่างย่อๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้เราเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ทันที

 

Google Yahoo

 

            Search Engine แต่ละแห่งมีวิธีการและการจัดเก็บฐานข้อมูลที่แตกต่างกันไปตามประเภทของ Search Engine ที่แต่ละเว็บไซต์นำมาใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ดังนั้นการที่คุณจะเข้าไปหาข้อมูลหรือเว็บไซต์ โดยวิธีการ Search นั้น อย่างน้อยคุณจะต้องทราบว่า เว็บไซต์ที่คุณเข้าไปใช้บริการ ใช้วิธีการหรือ ประเภทของ Search Engine อะไร เนื่องจากแต่ละประเภทมีความละเอียดในการจัดเก็บข้อมูลต่างกันไป ที่นี้เราลองมาดูซิว่า Search Engine ประเภทใดที่เหมาะกับการค้นหาข้อมูลของคุณ

 

Siamguru Sanook

 

  1. Keyword Index   เป็นการค้นหาข้อมูล โดยการค้นจากข้อความในเว็บเพจที่ได้ผ่านการสำรวจมาแล้ว จะอ่านข้อความ ข้อมูล อย่างน้อยๆ ก็ประมาณ 200-300 ตัวอักษรแรกของเว็บเพจนั้นๆ โดยการอ่านนี้จะหมายรวมไปถึงอ่านข้อความที่อยู่ในโครงสร้างภาษา HTML ซึ่งอยู่ในรูปแบบของข้อความที่อยู่ในคำสั่ง alt ซึ่งเป็นคำสั่งภายใน TAG คำสังของรูปภาพ แต่จะไม่นำคำสั่งของ TAG อื่นๆ ในภาษา HTML และคำสั่งในภาษา JAVA มาใช้ในการค้นหา วิธีการค้นหาของ Search Engine ประเภทนี้จะให้ความสำคัญกับการเรียงลำดับข้อมูลก่อน-หลัง และความถี่ในการนำเสนอข้อมูลนั้น การค้นหาข้อมูล โดยวิธีการเช่นนี้จะมีความรวดเร็วมาก แต่มีความละเอียดในการจัดแยกหมวดหมู่ของข้อมูลค่อนข้างน้อย เนื่องจากไม่ได้คำนึงถึงรายละเอียดของเนื้อหาเท่าที่ควร แต่หากว่าคุณต้องการแนวทางด้านกว้างของข้อมูล และความรวดเร็วในการค้นหา วิธีการนี้ก็ใช้ได้ผลดี
     
  2. Subject Directories   การจำแนกหมวดหมู่ข้อมูล Search Engine ประเภทนี้ จะจัดแบ่งโดยการวิเคราะห์เนื้อหา รายละเอียด ของแต่ละเว็บเพจ ว่ามีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร โดยการจัดแบ่งแบบนี้จะใช้แรงงานคนในการพิจารณาเว็บเพจ ซึ่งทำให้การจัดหมวดหมู่ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของคนจัดหมวดหมู่แต่ละคนว่าจะจัดเก็บข้อมูลนั้นๆ อยู่ในเครือข่ายข้อมูลอะไร ดังนั้นฐานข้อมูลของ Search Engine ประเภทนี้จะถูกจัดแบ่งตามเนื้อหาก่อน แล้วจึงนำมาเป็นฐานข้อมูลในการค้นหาต่อไป การค้นหาค่อนข้างจะตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และมีความถูกต้องในการค้นหาสูง เป็นต้นว่า หากเราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์ หรือเว็บเพจที่นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Search Engine ก็จะประมวลผลรายชื่อเว็บไซต์ หรือเว็บเพจที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ล้วนๆ มาให้คุณ
     
  3. Metasearch Engines   จุดเด่นของการค้นหาด้วยวิธีการนี้ คือ สามารถเชื่อมโยงไปยัง Search Engine ประเภทอื่นๆ และยังมีความหลากหลายของข้อมูล แต่การค้นหาด้วยวิธีนี้มีจุดด้อย คือ วิธีการนี้จะไม่ให้ความสำคัญกับขนาดเล็กใหญ่ของตัวอักษร และมักจะผ่านเลยคำประเภท Natural Language (ภาษาพูด) ดังนั้น หากคุณจะใช้ Search Engine แบบนี้ละก็ ขอให้ตระหนักถึงข้อบกพร่องเหล่านี้ด้วย
     
            ดังนั้น การเลือกใช้เครื่องมือในการค้นหาจะต้องเข้าใจว่า ข้อมูลที่ต้องการค้นหานั้นมีลักษณะอย่างไร มีขอบข่ายกว้างขวางหรือแคบขนาดไหน แล้วจึงเลือกใช้เว็บไซต์ค้นหาที่ให้บริการตรงกับความต้องการของเรา

 

 


แหล่งข้อมูลต้นฉบับ
guest profile guest

Google Search

 

 

ขอบข่ายความรู้เรื่อง Google Search

  1. Google Search คืออะไร ?
  2. เทคนิคการค้นหาข้อมูลด้วย Google ที่ควรทราบ
    - การใช้เครื่องหมายบวก (+) ช่วยในการค้นหาข้อมูล
    - ตัดบางคำที่ไม่ต้องการค้นหาด้วยเครื่องหมายลบ ( - )
    - การค้นหาด้วยเครื่องหมายคำพูด ("...")
    - การค้นหาด้วยคำว่า OR
    - ไม่ต้องใช้คำว่า " AND" ในการแยกคำค้นหา
    - Google จะไม่ใส่ใจใน Common Word
    - ค้นหารูปได้แสนง่าย
  3. เทคนิคการค้นหาข้อมูลด้วย Google แบบพิเศษ
    - Google ค้นหาไฟล์ได้
    - เว็บไซต์ที่ถูกลบไปแล้ว Google ก็ยังค้นหาได้อยู่
    - ค้นหาหน้าเว็บที่มีข้อมูลคล้ายกันได้
    - Google สามารถค้นหาเว็บทั้งหมดที่เชื่อมมายังเว็บนั้นได้
    - Google สามารถหาคำเฉพาะเจาะจงในเว็บไซต์นั้นๆ ได้
    - ค้นหาแบบวัดดวงกันบ้าง
    - ค้นหาบทสรุปของหนังสือก่อนตัดสินใจซื้อ
    - ใช้ Google แทนเครื่องคิดเลขได้
    - ค้นหาความหมายหรือนิยามของศัพท์เฉพาะ(เป็นภาษาอังกฤษ)
    - ค้นหาเว็บไซต์รวมรูปดีๆ
    - ค้นหารีวิวภาพยนตร์สนุกๆ
    - ค้นเนื้อหาข้อมูลในเว็บไซต์ที่ต้องการ
  4. การใช้เครื่องมือค้นหาข้อมูลแบบละเอียด(Advance Search)

 

1. Google Search คืออะไร ?

Google Search เป็นเครื่องมือที่ให้บริการค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต( Search Engine) ของเว็บไซต์ Google.com ที่โด่งดังที่สุดในปัจจุบันครับ ผู้ใช้งานเพียงเข้าเว็บไซต์ www.Google.com จากนั้นพิมพ์คำหรือข้อความ( Keyword) เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการค้นหา เพียงชั่วอึดใจหลังกดปุ่ม Enter Google Search ก็จะแสดงเว็บไซต์ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับ Keyword เหล่านั้นทันที

ไม่เฉพาะแต่เพียงการค้นหาข้อมูลในรูปของเว็บไซต์เท่านั้น Google Search ยังสามารถค้นหาข้อมูลที่เป็นไฟล์รูปภาพ( Images) , กลุ่มข่าว( News Groups) และ สารบบเว็บ( Web Directory) ได้อย่างแม่นยำอย่างน่าทึ่งอีกด้วย ปัจจุบันเว็บไซต์ Google ได้รับความนิยมอย่างมากจากผู้ที่ต้องการค้นหาข้อมูลผ่านเว็บไซต์ โดยมีผู้เข้าใช้กว่า 250 ล้านครั้งต่อวันเลยทีเดียวครับ

บริการค้นหาข้อมูลของ Google Search แบ่งหมวดหมู่ของการค้นหาออกเป็น 4 หมวดหลักด้วยกัน คือ

 

 

1. เว็บ ( Web) เป็นการค้นหาข้อมูลในรูปแบบของเว็บไซต์ต่าง ๆ ทั่วโลก โดยการแสดงผลจะแสดงเว็บไซต์ที่มีคำที่เป็น Keyword อยู่ภายเว็บไซต์นั้น

2. รูปภาพ ( Images) เป็นการค้นหาไฟล์รูปภาพจากการแปลคำ Keyword

3. กลุ่มข่าว ( News Groups) เป็นการค้นหาข่าวสารจากกลุ่มสมาชิกที่ใช้บริการ Google News Groups เพื่อรับส่งข่าวสารกันเองระหว่างสมาชิก โดยมีการระบุชื่อผู้เขียนข่าว , หัวข้อข่าว , วันที่และเวลาที่โพสต์ข่าว

4. สารบบเว็บ ( Web Directory) Google มีการจัดประเภทของเว็บไซต์ออกเป็นหมวดหมู่ ซึ่งผู้ใช้สามารถค้นหาเว็บในเรื่องที่ต้องการตามหมวดหมู่ที่มีอยู่แล้วได้เลยทันทีครับ


 

2. รูปแบบการค้นหาข้อมูลด้วย Google ที่ควรทราบ

การค้นหาโดยทั่วไปส่วนใหญ่แล้วจะใช้ Keyword เป็นเครื่องมือในการนำทางการค้นหาอย่างเดียว แต่ถ้าผู้ใช้รู้จักใช้เครื่องหมายบางตัวร่วมด้วย ก็จะทำให้ขอบเขตการค้นหาของ Google แคบลง ทำให้ผู้ใช้ได้ข้อมูลที่ตรงกับความต้องการมากขึ้น เครื่องหมายที่สามารถนำมาช่วยในการค้นหาได้ มีดังนี้

- การใช้เครื่องหมายบวก (+) เชื่อมคำ

โดยปกติ Google จะไม่ใส่ใจในในการค้นหาข้อมูลจากการพิมพ์ Keyword ประเภท Common Word( คำง่ายๆ ) เช่น at, with, on, what, when, where, how, the, to, of แต่เนื่องจากเป็นบางครั้งคำเหล่านี้เป็นคำสำคัญของประโยคที่ผู้ใช้จำเป็นต้องค้นหา ดังนั้นเครื่องหมาย + จะช่วยเชื่อมคำ โดยมีเงื่อนไข ว่า ก่อนหน้าเครื่องหมาย + ต้องมีการเว้นวรรค 1 เคาะด้วย เช่น หากต้องการค้นหาเว็บไซต์เกี่ยวกับเกมส์ที่มีชื่อว่า Age of Empire ถ้าผู้ใช้พิมพ์ Keyword Age of Empire Google ก็จะทำการค้นหาแยกคำโดยไม่สนใจคำว่า of และจะค้นหาคำว่า Age หรือ Empire เพียงสองคำ แต่ถ้าผู้ใช้ระบุว่า Age +of Empire Google จะทำการค้นหาทั้งคำว่า Age, of และ Empire ครับ

 

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข (+)

>> คลิกดูผลลัพธ์ที่นี่ <<

- ตัดบางคำที่ไม่ต้องการค้นหาด้วยเครื่องหมายลบ ( - )

จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถตัดเรื่องที่ผู้ใช้ไม่ต้องการ หรือไม่เกี่ยวข้องออกไปได้ เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการ ล่องแก่ง แต่ไม่ต้องการ การล่องแก่งที่เกี่ยวข้องกับจังหวัดตาก ให้ผู้ใช้พิมพ์ Keyword ว่า ล่องแก่ง -ตาก (เช่นเดียวกับเครื่องหมาย + ต้องเว้นวรรคก่อนหน้าเครื่องหมายด้วย) Google จะทำการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการล่องแก่ง แต่ไม่มีจังหวัดตากเข้ามาเกี่ยวข้อง

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข (-)

>> คลิกดูผลลัพธ์ที่นี่ <<

- การค้นหาด้วยเครื่องหมายคำพูด ("...")

เหมาะสำหรับการค้นหาคำ Keyword ที่มีลักษณะเป็น ประโยควลีหรือกลุ่มคำ ที่ผู้ใช้ต้องการให้แสดงผลทุกคำในประโยค โดยไม่แยกคำ เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการหาเว็บไซต์เกี่ยวกับเพลงที่มีชื่อว่า If I Let You Go ให้พิมพ์ว่า " If I Let You Go" Google จะทำการค้นหาประโยค " If I Let You Go" ทั้งประโยคโดยไม่แยกคำค้นหา

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข ("...")

>> คลิกดูผลลัพธ์ที่นี่ <<

- การค้นหาด้วยคำว่า OR

เป็นการสั่งให้ Google ค้นหาข้อมูลเพิ่มมากขึ้น เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับ การล่องแก่ง ทั้งในจังหวัดตาก และปราจีนบุรี ให้ผู้ใช้พิมพ์ Keyword ว่า ล่องแก่ง ตาก OR ปราจีนบุรี Google จะทำการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการล่องแก่งทั้งในจังหวัดตาก และกาญจนบุรี

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข OR

>> คลิกดูผลลัพธ์ที่นี่ <<

- ไม่ต้องใช้คำว่า " AND" ในการแยกคำค้นหา

แต่เดิมการใช้ Keyword ที่มากกว่า 1 คำในการค้นหาเว็บไซต์แบบแยกคำ ผู้ใช้จำเป็นต้องใช้ AND ในการแยกคำเหล่านั้นครับ ปัจจุบันไม่ต้องใช้ AND แล้วครับ เพราะ Google จะทำการแยกคำให้โดยอัตโนมัติเมื่อผู้ใช้ทำการเว้นวรรคคำเหล่านั้น เช่น ถ้าผู้ใช้พิมพ์คำว่า Thai Travel Nature เมื่อคลิกปุ่มค้นหา ก็จะพบว่าในรายชื่อหรือเนื้อหาของเว็บที่ปรากฏจะมีคำว่า Thai ,Travel และ Nature อยู่ในนั้นด้วยครับ

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข AND

>> คลิกดูผลลัพธ์ที่นี่ <<

- Google จะไม่ใส่ใจใน Common Word

คำศัพท์พื้นๆ อย่าง the, where, is, how, a, to และอื่นๆ รวมทั้งตัวเลขและตัวอักษรเดี่ยวๆ Google มักไม่ให้ความสำคัญและใส่ใจที่จะค้นหาครับ เนื่องจากเครื่องมือที่ Google ใช้จัดเก็บและรวบรวมเว็บทั่วโลกจะค่อนข้างเสียเวลาในการเก็บรวบรวมเว็บที่มีคำเหล่านี้ (ซึ่งมีเยอะมากๆ) แต่ถ้าหากจำเป็น ผู้ใช้จะต้องใช้เครื่องหมาย " + " ในการเชื่อมคำเหล่านี้ด้วยครับ หรืออีกทางก็คือผู้ใช้อาจจะระบุคำที่ต้องค้นหาทั้งหมดในรูปของวลีภายใต้เครื่องหมาย " ……. " ครับ

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข Common Word

>> คลิกดูผลลัพธ์ที่นี่ <<

- ค้นหารูปได้แสนง่าย

ความสามารถที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่ชอบกันนักหนา และสร้างชื่อให้กับ Google ก็คือการค้นหารูปภาพด้วย Google Search ครับ วิธีการใช้ก็คือ

            1. คลิกเมนูลิ้งค รูปภาพ จากนั้นก็พิมพ์ชื่อภาพที่ต้องการค้นหา และคลิกปุ่มค้นหารูปภาพ ดังรูป

 

            2. จะปรากฏรูปภาพทั้งหมดที่ต้องการดังรูปครับ


 

3. เทคนิคการค้นหาข้อมูลด้วย Google แบบพิเศษ


- Google ค้นหาไฟล์ได้

Google สามารถค้นหาไฟล์เอกสารที่สำคัญๆ ได้ดังนี้

Adobe Portable Document Format ( ไฟล์นามสกุล . pdf)
Adobe PostScript ( ไฟล์นามสกุล . ps)
Lotus 1-2-3 ( ไฟล์นามสกุล . wk1, .wk2, .wk3, .wk4, .wk5, .wki, .wks และ . wku)
Lotus WordPro ( ไฟล์นามสกุล . lwp)
MacWrite ( ไฟล์นามสกุล . mw)
Microsoft Excel ( ไฟล์นามสกุล . xls)
Microsoft PowerPoint ( ไฟล์นามสกุล . ppt)
Microsoft Word ( ไฟล์นามสกุล . doc)
Microsoft Works ( ไฟล์นามสกุล . wks, .wps, .wdb)
Microsoft Write ( ไฟล์นามสกุล . wri)
Rich Text Format ( ไฟล์นามสกุล . rtf)
Shockwave Flash ( ไฟล์นามสกุล . swf)
Text ( ไฟล์นามสกุล . ans, .txt)

รูปแบบของการค้นหาคือ ให้ผู้ใช้พิมพ์ "ชื่อเรื่องหรือชื่อเอกสาร" filetype: นามสกุลของไฟล์ ในช่อง Google ตัวอย่างเช่น "การเลี้ยงไก่" filetype:doc ซึ่งหมายถึง การค้นหาไฟล์เอกสารที่มีนามสกุล . doc เรื่อง การเลี้ยงไก่ นั่นเอง

 

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข filetype:

>> คลิกดูผลลัพธ์ที่นี่ <<

- เว็บไซต์ที่ถูกลบไปแล้ว Google ก็ยังค้นหาได้อยู่

เพราะก่อนหน้านี้เว็บไซต์ที่ถูกลบเหล่านั้นได้ถูกบรรจุหรือจัดเก็บไว้ในเครื่องที่เรียกว่า Cache ของ Google ไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้วนั่นเองครับ เช่น บางลิงค์ที่ผู้ใช้งานคลิกเข้าชมไม่ได้อันเนื่องมาจากถูกลบออกไปแล้ว ผู้งานก็เพียงแต่คลิกที่เมนู หน้าที่ถูกเก็บไว้ ครับ

 

ภาพตัวอย่าง

- ค้นหาหน้าเว็บที่มีข้อมูลคล้ายกันได้

ในบางครั้งเมื่อ Cache จะไม่สามารถช่วยผู้ใช้ค้นหาเว็บไซต์นั้นได้ แต่ผู้ใช้งานสามารถค้นหาเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาคล้ายกัน โดคลิกไปยังเมนู หน้าที่คล้ายกัน ครับ

 

ภาพตัวอย่าง

- Google สามารถค้นหาเว็บทั้งหมดที่เชื่อมมายังเว็บนั้นได้

โดยพิมพ์ link: ชื่อ URL ของเว็บ ในช่อง Search ของ Google เช่น link:www.plawan.com เป็นการค้นหาลิงค์ที่เชื่อมมายังเว็บของปลาวาฬดอตคอมเป็นต้น

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข link:

>> คลิกดูผลลัพธ์ที่นี่ <<

- Google สามารถหาคำเฉพาะเจาะจงในเว็บไซต์นั้นๆ ได้

โดยพิมพ์ คำที่ค้นหา site: ชื่อ URL ของเว็บ ในช่อง Search ของ Google เช่น Google Earth site:www.kapook.com ซึ่งเป็นการหาหน้าเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับ Google Earth ในเว็บไซต์ของ Kapook นั่งเองครับ

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข site:

>> คลิกดูผลลัพธ์ที่นี่ <<

- ค้นหาแบบวัดดวงกันบ้าง

จะวัดดวงค้นหาเว็บไซต์ด้วย Google กันสักครั้งคงไม่เป็นไร เพราะถ้าดวงดีผู้ใช้ก็จะได้ไม่เสียเวลามานั่นเลือกให้เมื่อตุ้มครับ โดยพิมพ์ Keyword สำหรับค้นหาเว็บไซต์ที่ต้องการจากนั้นคลิกที่ปุ่ม ดีใจจัง ค้นหาแล้วเจอเลย

ภาพตัวอย่างการใช้ปุ่ม ดีใจจัง ค้นหาแล้วเจอเลย

>> คลิกดูผลลัพธ์ที่นี่ <<

- ค้นหาบทสรุปของหนังสือก่อนตัดสินใจซื้อ

ก่อนการตัดสินใจที่จะซื้อหนังสือสักเล่ม ผู้ใช้น่าจะทราบก่อนว่าเนื้อหามีอะไรบ้าง หรือมีโอกาสได้ดูสารบัญของหนั้งสือเล่มนั้นเสียก่อนครับ Google Search สามารถบอกผู้ใช้ได้เพียงใส่ชื่อหนังสือหลังคำว่า books about ชื่อหนังสือ เช่น books about Harry Potter

 

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข books about

>> คลิกดูผลลัพธ์ที่นี่ <<

- ใช้ Google แทนเครื่องคิดเลขได้

ผู้ใช้สามารถใช้ Google คำนวนตัวเลขด้วยเครื่องหมายในการคำนวนหลักๆ เช่น

+ = บวก

- = ลบ

* = คูณ

/ = หาร

^ = ยกกำลัง

 

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข Calculator

>> คลิกดูผลลัพธ์ที่นี่ <<

- ค้นหาความหมายหรือนิยามของศัพท์เฉพาะ(เป็นภาษาอังกฤษ)

Google สามารถค้นหาศัพท์เฉพาะได้ด้วยการพิมพ์ define: ศัพท์เฉพาะ

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข define:

>> คลิกดูผลลัพธ์ที่นี่ <<

- ค้นหาเว็บไซต์รวมรูปดีๆ

นอกจากการใช้เมนู รูปภาพ ( Images) ในการค้นหารูปภาพแล้ว ผู้ใช้ยังค้นหาภาพได้ด้วยการพิมพ ชื่อภาพ pictures

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข pictures

>> คลิกดูผลลัพธ์ที่นี่ <<

- ค้นหารีวิวภาพยนตร์สนุกๆ

ผู้ใช้สามารถค้นหารีวิวหรือตัวอย่างภาพยนตร์ด้วย Google ได้ง่ายๆ ด้วยการพิมพ์ movie: ชื่อภาพยนตร์

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข movie:

>> คลิกดูผลลัพธ์ที่นี่ <<

 

- ค้นเนื้อหาข้อมูลในเว็บไซต์ที่ต้องการ

ผู้ใช้สามารถค้นหาข้อมูลเฉพาะในเว็บไซต์ที่ต้องการได้ โดยการพิมพ์ ชื่อข้อมูลค้นหา site: เว็บไซต์ที่จะค้นหา ยกตัวอย่างเช่น การค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับ Spyware ในเว็บไซต์ของกระปุก โดยการพิมพ์ Spyware site: www.kapook.com

ภาพตัวอย่างการใช้เงื่อนไข การค้นเนื้อหาข้อมูลในเว็บไซต์ที่ต้องการ

>> คลิกดูผลลัพธ์ที่นี่ <<


 

4. การค้นหาข้อมูลแบบละเอียด( Advance Search)

เพื่อความแม่นยำในการค้นหาข้อมูล ผู้ใช้สามารถกำหนดเงื่อนไขในแบบที่ละเอียดได้ไม่ยากครับ เพราะ Google ได้เพิ่มรูปแบบในการกำหนดเงื่อนไขสำเร็จรูปมาให้เรียบร้อยแล้ว โดยคลิกไปยังเมนู ค้นหาแบบละเอียด ด้านขวามือ ก็จะเข้าสู่หน้าค้นหาดังรูป

รูปแบบการค้นหาข้อมูลของ Google ในแบบสำเร็จรูปนี้ค่อนข้างใช้งานง่ายครับ เนื่องจากเป็นภาษาไทยทั้งหมด ผู้ใช้เพียงพิมพ์ Keyword ที่ต้องการค้นหากอรปกับใช้ตัวเลือกด้านล่างเพื่อให้ขอบข่ายการหาเฉพาะเจาะจงในสิ่งที่ต้องการครับ

guest profile guest
การค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ปัจจุบันจะมีตัวช่วยในการค้นหามากมายหลายโปรแกรม  แต่การค้นหาด้วยโปรแกรมต่าง ๆ จะสะดวกมากขึ้น จำเป็นจะต้องรู้เทคนิคในการค้นหา  google ก็มีเทคนิคมากมาย  การค้นหาจาก  google มีหลายวิธีให้คุณ หาข้อมูลได้มากขึ้น

1. Google จะใช้ and (และ) อยู่ในประโยคเสมอ เช่น ค้นหา Ohm the handsome back to her จะ
ค้นหาแบบ ohm AND handsome AND back... (พูดง่ายๆคือค้นหาแบบแยกคำ)

2. การใช้ OR (หรือ) คือการให้ Google หาข้อมูลมากขึ้นจาก คำA และ คำB (พูดง่ายๆ คือนำผลที่ได้มา
รวมกันรวมกัน) วิธีใช้ พิมพ์ OR ด้วยตัวใหญ่ระหว่างคำที่ต้องการ เช่น vacation london OR paris คือ
หาทั้งใน London และ Paris

3. Google จะละคำทั่วๆไป (เช่น the, to, of) และตัวอักษรเดี่ยว เพราะจะทำให้ค้นหาช้าลง แต่ถ้าคำ
พวกนั้นสามารถช่วยให้หาข้อมูลง่ายขึ้น ก็ต้องใช้เครื่องหมาย + ช่วยโดยนำไปอยู่หน้าคำนั้น
(ต้องเว้นวรรคก่อนด้วย) เช่น back +to nature final fantasy +x

4. Google สามารถกันขอบเขตการค้นหาให้เล็กลงด้วยการใช้ Advanced Search หรือ การค้นหาแบบ
พิเศษ ใน Google ภาษาไทย

5. Google สามารถตัดคำพ้องรูปได้โดยใช้เครื่องหมาย - ช่วยโดยการนำไปอยู่คำที่จะตัดเช่น คำว่า bass
มี 2 ความหมายคือ เกี่ยวกับปลา และดนดรีเราจะตัดที่มีความหมายเกี่ยวกับดนตรีออกโดยพิมพ์ bass -music
หมายความว่า bass ที่ไม่มีคำว่า music นอกจากนี้มันยังสามารถตัดอย่างอื่นได้อีกเช่น "front mission
3" -filetype:pdf หมายความว่า เรื่องเกี่ยวกับ front mission 3 แต่ไม่แสดงไฟล์ PDF

6. การค้นหาแบบทั้งวลี (คือการค้นหาทั้งกลุ่มคำ) ให้ใช้เครื่องหมาย " " เช่น "Breath of fire IV"

7. Google สามารถแปลเวปภาษา Italian, French, Spanish, German, และ Portuguese เป็น
ภาษาอังกฤษได้ (โดยคลิ้กที่คำว่า "Translate this page" ด้านข้างชื่อเวป)

8. Google สามารถหาไฟล์ในรูปแบบอื่นๆที่ไม่ใช่ HTML ได้ ประเภทไฟล์ที่รองรับคือ

Adobe Portable Document Format (pdf)
Adobe PostScript (ps)
Lotus 1-2-3 (wk1, wk2, wk3, wk4, wk5, wki, wks, wku)
Lotus WordPro (lwp)
MacWrite (mw)
Microsoft Excel (xls)
Microsoft PowerPoint (ppt)
Microsoft Word (doc)
Microsoft Works (wks, wps, wdb)
Microsoft Write (wri)
Rich Text Format (rtf)
Text (ans, txt)

วิธีใช้ filetype:นามสกุลของไฟล์ เช่น "Chrono Cross" filetype:pdf หมายความว่าเอกสารของ
Chrono Cross ที่เป็น PDF และมันยังมีความสามารถดูไฟล์เหล่านั้นในรูปแบบของ HTML ได้ (โดยคลิ้ก
View as HTML หรือ รูปแบบ HTML ใน Google ไทย)

9. Google สามารถเก็บ Cached ของเวปที่จะเข้าชมไว้ได้ (โดยคลิ้กที่ Cached หรือ ถูกเก็บไว้ ใน
Google ภาษาไทย) ประโยชน์ของมันคือช่วยให้เราสามารถเข้าเวปบางเวปที่อาจโดนลบไปแล้ว โดยข้อมูลที่
ได้เป็นข้อมูลก่อนถูกลบ (ใหม่สุดที่มันจะมีได้)

10.Google สามารถค้นหาหน้าที่คล้ายกัน (โดยคลิ้ก Similar pages หรือ หน้าที่คล้ายกัน ใน Google
ภาษาไทย) โดยจะค้นหาข้อมูลที่คล้ายๆ กันให้เรา เช่น ถ้าเรากำลังหาข้อมูลการวิจัย ความสามารถนี้จะ ช่วย
ให้หาข้อมูลได้มากมายในเวลาที่รวดเร็วโดยไม่ต้องเป็นห่วงเรื่อง keyword

11.Google สามารถค้นหา link ทั้งหมดที่เชื่อมไปยังเวปนั้นได้ วิธีใช้ link:ชื่อ URL เช่น
link:www.google.com และคุณไม่สามารถใช้ความสามารถนี้ร่วมกับการหาแบบอื่นๆ ได้

12.Google สามารถค้นหาเวปที่จำเพาะเจาะจงได้ โดยพิมพ์ คำที่คุณต้องการเจาะจง site:ชื่อ URLเช่น
ถ้าคุณต้องการหาเวปเกี่ยวกับการเข้า (admission) มหาวิทยาลัย Stanford ให้พิมพ์admission
site:www.stanford.edu

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน

cl_km Icon เทคนิคการค้นหาข้อมูล 43 อ่าน 21,350 13 ปีที่ผ่านมา
13 ปีที่ผ่านมา
cl_km Icon การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 39 อ่าน 5,333 13 ปีที่ผ่านมา
13 ปีที่ผ่านมา
cl_km Icon รูปแบบการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต 39 อ่าน 25,282 13 ปีที่ผ่านมา
13 ปีที่ผ่านมา
cl_km Icon อินเตอร์เน็ตคืออะไร 42 อ่าน 9,013 13 ปีที่ผ่านมา
13 ปีที่ผ่านมา