เทคนิคการค้นหาข้อมูล

cl_km profile image cl_km
เทคนิคการค้นหาข้อมูล
ความคิดเห็น
guest profile guest

เทคนิคการค้นหาข้อมูล
1.
พยายามใช้เครื่งมือสืบค้น ซึ่งรวบรวมรวมข้อมูลที่ตรงกับข้อมูลที่ต้องการค้นหามากที่สุด เช่นถ้าต้องการค้นหารูปภาพก็ให้ค้นหาเว็บที่รวบรวมรูปภาพ

           ตัวอย่างเช่น การค้นหาคลิปวิดีโอที่เกี่ยวกับ  Robot                

   เข้าไปยังเว็บไซต์  video.google.com แล้วกรอกคำสำคัญที่ต้องการค้นหาในที่นี้เลือกค้นหา  Robot  
- คลิกปุ่ม Search Video
- จะปรากฏเว็ปของคลิปวิดีโอที่ต้องการขึ้นมา

  2. อ่านคำเนะนำในการใช้เครื่องมือสืบค้นของแต่ละเว็บไซต์ เพราะเครื่องมือของแต่ละเว็บไซต์จะมีความแตกต่างกันในการค้นหา

  3. ไม่ควรยึดติดกับการค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์เพียงเว็บไซต์เดียว

  4. ให้พิมพ์เฉพาะคำสำคัญที่ต้องการสืบค้น ถ้าข้อมูลที่ต้องการค้นหามีความยาวก็ให้ใช้ Space เพื่อแยกคำสำคัญ และอย่าพิมพ์ข้อมูลที่ต้องการค้นหาหมดทุดคำเพราะจะหาไม่เจอ

  5. เลือกใชเครื่องหมาย +, -, * ," " ในการสืบค้นดังนี้
- เครื่องหมาย (+) ใช้สำหรับค้นหาคำทั้งหมดที่ต้องการระบุ เช่น ท่องเที่ยว+เขาใหญ่ หมายถึงให้ค้นหาข้อมูลที่มีคำท่องเที่ยวและคำว่าเขาใหญ่อยู่ด้วยกันแต่ไม่จำเป็นต้องอยู่ติดกัน
- เครื่องหมาย (-) ใช้สำหรับยกเว้นคำที่สืบค้น เช่น ท่องเที่ยว-เขาใหญ่ หมายถึงให้ค้นหาข้อมูลที่มีคำว่าท่องเที่ยวยกเว้นคำว่าเขาใหญ่
- เครื่องหมายดอกจัน (*) ใช้สำหรับค้นกหาคำขึ้นต้นที่เหมือนกัน เช่น กรมการ* จะให้ผลลัพธ์เป็นกรรมการพัฒนาชุมชน กรมการปรกครอง กรมศาสนา กรมการค้า เป็นต้น
- เครื่องหมายคำพูด (" ") ใช้สำหรับคำที่เป็นวลี หรือกลุ่ม คำเช่น "ปรีด พนมยงค์" จะค้นหากลู่มคำ ปรีดี พนมยงค์ อยู่ด้วยกันเป็นกลู่มคำ

ที่มา http://learners.in.th/blog/kingdom/28235

guest profile guest
เทคนิคการค้นหาข้อมูล

- การค้นหาข้อมูลจาก Internet
     การค้นหาข้อมูลแบบถามตอบ
    1.
เว็บไซต์ที่ให้บริการค้นหาข้อมูล โดยเทคนิคการถามตอบกับผู้ใช้ 
    
2. ผู้ใช้สามารถป้อนคีย์เวิร์ด หรือคำถามลักษณะเดียวกับ Search Engine ทั่วไป โปรแกรมจะค้นหาและจำแนกรายการเป็นคำถามถามกลับมาอีกครั้ง เพื่อให้ตรงกับความต้องการมากที่สุด 
 
3.เช่น www.aj.com, www.ask.cm 
    การค้นหาข้อมูลเฉพาะทาง
    1. ข้อมูลในอินเทอร์เน็ต มีได้ทั้งที่เป็นข้อความ, ภาพ, เสียง, ภาพเคลื่อนไหว 
2.การค้นหาภาพ, เสียง, ภาพเคลื่อนไหว ทำได้ยาก และมักไม่ได้ผลตามที่ต้องการ มีการพัฒนาเว็บไซต์ค้นหาภาพ, เสียง, ภาพเคลื่อนไหวโดยเฉพาะ โดยอาจจะใช้ทั้งการจัดหมวดหมู่ และการระบุด้วยคีย์เวิร์ด
3.
เช่น siamguru.com, altavista.com 
    
เทคนิคการค้นหา
    1. เลือกหมวดหมู่ที่สนใจ และตรงกับเนื้อหาที่ต้องการให้มากที่สุด 
    2. ใช้เครื่องมือการค้นหาเว็บไซต์อื่นด้วยเพราะแต่ละเว็บไซต์จะลิงค์เนื้อหาไม่เหมือนกัน เช่น google.com,yahoo.com,looksmart.com
  3.ระบุ คีย์เวิร์ดให้เยอะๆ ให้ครอบคลุมเนื้อหาให้มากที่สุด
4. คีย์เวิร์ดต้องไม่กำกวม 
    5. ระบุชื่อข้อมุลที่เจาะจงมากที่สุด เช่น ความหมาย.........,ความหมายของ...........
6. เว็บไซต์ส่วนใหญ่จะไม่อ่านคํากิริยา,คําคุณศัพท์และคําสันธาน
7. การค้นหาด้วยวลี โดยการใส่เครื่องหมาย"......." เป็นการระบุคำที่น่าสนใจ
8. ใช้เครื่องหมาย*ช่วยในการค้นหาเช่น retriev* แทนคํา retriev
9. ไม่ต้องใส่คำนำหน้า/คำเชื่อมในคีย์เวิร์ด เช่น the, a, an, and, or 
    10. ใส่ตัวกรอง (Filter) ช่วยในการค้นหา

 

                    ใช้เครื่องหมาย + นำหน้าคีย์เวิร์ด เพื่อบังคับให้มีคำที่ระบุ เหมาะสำหรับการค้นหาคำ Keyword ที่มีลักษณะเป็นตัวเชื่อม เช่น at, with, on, what, when, where, how, the, to, of

                    ใช้เครื่องหมาย - นำหน้าคีย์เวิร์ด เพื่อบังคับไม่ให้มีคำที่ระบุ

 

 

                   

                   OR เป็นการสั่งให้ ค้นหาข้อมูลเพิ่มมากขึ้น 
11. ข้อมูลที่เป็นภาพ, เสียง, ภาพเคลื่อนไหว ควรใช้ค้นหาจากเว็บไซต์ที่ให้บริการเฉพาะทาง เช่น siamguru.com, altavista.com 
    12. ติดตั้งเครื่องมือช่วยค้นหาให้กับเบราเซอร์ (Search Engine Utility) 
13. จัดกลุ่มการค้นหา เพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน เช่น 
                    entrypoint               www.entrypoint.com 
        
                    ferret                       www.webferret.com 
                    gurunet                   www.gurunet.com 
                    thai finder                finder.gits.net.th

 

 

 

 

 

 

 

- เทคนิคการค้นหาข้อมูล
    การค้นหาข้อมูลมักกำหนดเขตข้อมูลหนึ่งเป็นคีย์สำหรับการค้นหาและผลของการค้นหาเป็นได้ 2 ทาง คือ ค้นพบสำเร็จและ ค้นพบไม่สำเร็จ
    1. การค้นหาแบบลำดับ การค้นหาแบบลําดับ Sequential Search หรือ Linear Search) 
        การค้นหาแบบลำดับเป็นวิธีการที่ใช้กันมาก เพราะสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่าย และใช้ได้กับตารางที่เรียงลำดับหรือไม่เรียงลำดับก็ได้ การค้นหาข้อมูล จะต้องเปรียบเทียบข้อมูลในตารางตั้งแต่ต้นจนกว่าจะพบระเบียนที่ต้องการ
    2. การค้นหาแบบบล็อก (Block search หรือ Skip search
        การค้นหาแบบบล็อกแฟ้มข้อมูลต้องเรียงเรียงลำดับจากน้อยไปมากและรวมกลุ่มเป็นบล็อก วิธีนี้จะเปรียบเทียบข้อมูลบล็อกละ 1 ครั้ง โดยเปรียบเทียบกับคีย์ที่มีค่าสูงสุดในแต่ละบล็อก โดยเริ่มจากคีย์สูงสุดของบล็อกที่ 1 ตามด้วยบล็อกที่ 2,3..ทันทีที่พบคีย์สูงสุดของบล็อกใดที่มีค่ามากกว่าที่ต้องการ จะหยุดการเปรียบเทียบกับบล็อกที่เหลือ แต่จะค้นหาแบบลำดับในบล็อกนั้น จนกว่าจะพบตัวที่ต้องการ วิธีนี้จำนวนครั้งในการเปรียบน้อยกว่าแบบลำดับมากพอสมควร
3.
การค้นหาตามความน่าจะเป็น (Probability Search)
เป็นการค้นหาโดยใช้ความรู้ความน่าจะเป็น ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาให้ดียิ่งขึ้น การค้นหาแบบนี้ต้องทราบความถี่ของการเกิดข้อมูลแต่ละตัวล่วงหน้า เพื่อใช้เตรียมตารางขึ้นมาโดยให้คีย์แต่ละตัวเรียงลำดับตามความถี่ เช่น ตัวอักษรแรกของชื่อคนไทย จากการสำรวจพบว่ามักขึ้นด้วยตัวอักษร ส. ตามด้วย ก. และขึ้นต้นด้วย ฎ ฆ ฤ ฟ ฒ ฬ น้อยมาก
เทคนิคการค้นหาแบบนี้ เหมาะสำหรับแฟ้มข้อมูลขนาดใหญ่และมีจำนวนค่อนข้างคงที่
4.
การค้นหาแบบไบนารี (Binary Search
ตารางข้อมูลที่จะค้นหาจะต้องเรียงตามลำดับของคีย์ ถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลจะต้องเก็บอยู่ในสื่อบันทึกข้อมูลชนิด DASD
การค้นหาแบบไบนารี สามารถค้นหาได้รวดเร็ว โดยการเปรียบเทียบคีย์ที่ต้องการกับคีย์ที่กึ่งกลางของตาราง ถ้ามีค่าเท่ากัน แสดงว่าพบแล้ว มิฉะนั้น จากผลก็ทำให้ทราบว่า ข้อมูลที่ต้องการอยู่ครึ่งใดของตาราง ที่จะต้องหาต่อในวิธีเดียวกัน คือ เปรียบเทียบคีย์ที่ตำแหน่งกึ่งกลาง คีย์ที่ต้องการในส่วนที่เหลือ
จำนวนครั้งในการเปรียบเทียบเพื่อค้นหาข้อมูลแบบไบนารีนี้มากสุดไม่เกิน
[log2N] เมื่อ N คือจำนวนข้อมูลทั้งหมด

 

 


ที่มา:

http://www.dld.go.th/ict/article/general/gen09.html

 

http://www.stks.or.th/web/presentation/search-it_files/frame.htm

   

 

 

 

 

 

guest profile guest
เทคนิคการค้นหาข้อมูล

- การค้นหาข้อมูลจาก Internet
     การค้นหาข้อมูลแบบถามตอบ
    1.
เว็บไซต์ที่ให้บริการค้นหาข้อมูล โดยเทคนิคการถามตอบกับผู้ใช้ 
    
2. ผู้ใช้สามารถป้อนคีย์เวิร์ด หรือคำถามลักษณะเดียวกับ Search Engine ทั่วไป โปรแกรมจะค้นหาและจำแนกรายการเป็นคำถามถามกลับมาอีกครั้ง เพื่อให้ตรงกับความต้องการมากที่สุด 
 
3.เช่น www.aj.com, www.ask.cm 
    การค้นหาข้อมูลเฉพาะทาง
    1. ข้อมูลในอินเทอร์เน็ต มีได้ทั้งที่เป็นข้อความ, ภาพ, เสียง, ภาพเคลื่อนไหว 
2.การค้นหาภาพ, เสียง, ภาพเคลื่อนไหว ทำได้ยาก และมักไม่ได้ผลตามที่ต้องการ มีการพัฒนาเว็บไซต์ค้นหาภาพ, เสียง, ภาพเคลื่อนไหวโดยเฉพาะ โดยอาจจะใช้ทั้งการจัดหมวดหมู่ และการระบุด้วยคีย์เวิร์ด
3.
เช่น siamguru.com, altavista.com 
    
เทคนิคการค้นหา
    1. เลือกหมวดหมู่ที่สนใจ และตรงกับเนื้อหาที่ต้องการให้มากที่สุด 
    2. ใช้เครื่องมือการค้นหาเว็บไซต์อื่นด้วยเพราะแต่ละเว็บไซต์จะลิงค์เนื้อหาไม่เหมือนกัน เช่น google.com,yahoo.com,looksmart.com
  3.ระบุ คีย์เวิร์ดให้เยอะๆ ให้ครอบคลุมเนื้อหาให้มากที่สุด
4. คีย์เวิร์ดต้องไม่กำกวม 
    5. ระบุชื่อข้อมุลที่เจาะจงมากที่สุด เช่น ความหมาย.........,ความหมายของ...........
6. เว็บไซต์ส่วนใหญ่จะไม่อ่านคํากิริยา,คําคุณศัพท์และคําสันธาน
7. การค้นหาด้วยวลี โดยการใส่เครื่องหมาย"......." เป็นการระบุคำที่น่าสนใจ
8. ใช้เครื่องหมาย*ช่วยในการค้นหาเช่น retriev* แทนคํา retriev
9. ไม่ต้องใส่คำนำหน้า/คำเชื่อมในคีย์เวิร์ด เช่น the, a, an, and, or 
    10. ใส่ตัวกรอง (Filter) ช่วยในการค้นหา 
- ใช้เครื่องหมาย + นำหน้าคีย์เวิร์ด เพื่อบังคับให้มีคำที่ระบุ เหมาะสำหรับการค้นหาคำ Keyword ที่มีลักษณะเป็นตัวเชื่อม เช่น at, with, on, what, when, where, how, the, to, of 
-
ใช้เครื่องหมาย - นำหน้าคีย์เวิร์ด เพื่อบังคับไม่ให้มีคำที่ระบุ
        - OR เป็นการสั่งให้ ค้นหาข้อมูลเพิ่มมากขึ้น 
11. ข้อมูลที่เป็นภาพ, เสียง, ภาพเคลื่อนไหว ควรใช้ค้นหาจากเว็บไซต์ที่ให้บริการเฉพาะทาง เช่น siamguru.com, altavista.com 
    12. ติดตั้งเครื่องมือช่วยค้นหาให้กับเบราเซอร์ (Search Engine Utility) 
13. จัดกลุ่มการค้นหา เพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน เช่น 
- entrypoint               www.entrypoint.com 
        
-  ferret                       www.webferret.com 
- gurunet                   www.gurunet.com 
-thai finder                finder.gits.net.th

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

- เทคนิคการค้นหาข้อมูล
    การค้นหาข้อมูลมักกำหนดเขตข้อมูลหนึ่งเป็นคีย์สำหรับการค้นหาและผลของการค้นหาเป็นได้ 2 ทาง คือ ค้นพบสำเร็จและ ค้นพบไม่สำเร็จ
    1. การค้นหาแบบลำดับ การค้นหาแบบลําดับ Sequential Search หรือ Linear Search) 
        การค้นหาแบบลำดับเป็นวิธีการที่ใช้กันมาก เพราะสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่าย และใช้ได้กับตารางที่เรียงลำดับหรือไม่เรียงลำดับก็ได้ การค้นหาข้อมูล จะต้องเปรียบเทียบข้อมูลในตารางตั้งแต่ต้นจนกว่าจะพบระเบียนที่ต้องการ
    2. การค้นหาแบบบล็อก (Block search หรือ Skip search
        การค้นหาแบบบล็อกแฟ้มข้อมูลต้องเรียงเรียงลำดับจากน้อยไปมากและรวมกลุ่มเป็นบล็อก วิธีนี้จะเปรียบเทียบข้อมูลบล็อกละ 1 ครั้ง โดยเปรียบเทียบกับคีย์ที่มีค่าสูงสุดในแต่ละบล็อก โดยเริ่มจากคีย์สูงสุดของบล็อกที่ 1 ตามด้วยบล็อกที่ 2,3..ทันทีที่พบคีย์สูงสุดของบล็อกใดที่มีค่ามากกว่าที่ต้องการ จะหยุดการเปรียบเทียบกับบล็อกที่เหลือ แต่จะค้นหาแบบลำดับในบล็อกนั้น จนกว่าจะพบตัวที่ต้องการ วิธีนี้จำนวนครั้งในการเปรียบน้อยกว่าแบบลำดับมากพอสมควร
3.
การค้นหาตามความน่าจะเป็น (Probability Search)
เป็นการค้นหาโดยใช้ความรู้ความน่าจะเป็น ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาให้ดียิ่งขึ้น การค้นหาแบบนี้ต้องทราบความถี่ของการเกิดข้อมูลแต่ละตัวล่วงหน้า เพื่อใช้เตรียมตารางขึ้นมาโดยให้คีย์แต่ละตัวเรียงลำดับตามความถี่ เช่น ตัวอักษรแรกของชื่อคนไทย จากการสำรวจพบว่ามักขึ้นด้วยตัวอักษร ส. ตามด้วย ก. และขึ้นต้นด้วย ฎ ฆ ฤ ฟ ฒ ฬ น้อยมาก
เทคนิคการค้นหาแบบนี้ เหมาะสำหรับแฟ้มข้อมูลขนาดใหญ่และมีจำนวนค่อนข้างคงที่
4.
การค้นหาแบบไบนารี (Binary Search
ตารางข้อมูลที่จะค้นหาจะต้องเรียงตามลำดับของคีย์ ถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลจะต้องเก็บอยู่ในสื่อบันทึกข้อมูลชนิด DASD
การค้นหาแบบไบนารี สามารถค้นหาได้รวดเร็ว โดยการเปรียบเทียบคีย์ที่ต้องการกับคีย์ที่กึ่งกลางของตาราง ถ้ามีค่าเท่ากัน แสดงว่าพบแล้ว มิฉะนั้น จากผลก็ทำให้ทราบว่า ข้อมูลที่ต้องการอยู่ครึ่งใดของตาราง ที่จะต้องหาต่อในวิธีเดียวกัน คือ เปรียบเทียบคีย์ที่ตำแหน่งกึ่งกลาง คีย์ที่ต้องการในส่วนที่เหลือ
จำนวนครั้งในการเปรียบเทียบเพื่อค้นหาข้อมูลแบบไบนารีนี้มากสุดไม่เกิน
[log2N] เมื่อ N คือจำนวนข้อมูลทั้งหมด

 

 

 

 

 


ที่มา:

http://www.dld.go.th/ict/article/general/gen09.html

 

http://www.stks.or.th/web/presentation/search-it_files/frame.htm

   

 

 

 

 

 

guest profile guest

                                                      เทคนิคการค้นหาข้อมูล
เทคนิคการค้นหาข้อมูลด้วยการใส่คีย์เวิร์ดต่างๆ ได้แก่
         1. ระบุคีย์เวิร์ดไปมากๆ ให้ครอบคลุมทั้งหมด    เช่น เราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับภาพยนตร์เรื่อง  The Beach   ถ้ากรอกให้ครอบคลุมดังนี้    The Beach movie Leonado
         2. เครื่องหมาย  “ และ ”   เข้าช่วย    เราจะใช้เครื่องหมาย   “ และ ”  ครอบคำหรือกลุ่มคำที่ต้องการเฉพาะที่อยู่ในเครื่องหมาย    เช่น  “Java programming tutorial”
          3. บีบขอบเขตข้อมูลให้กระชับเข้าด้วยการใช้  Directory    การใช้คีย์เวิร์ดอย่างเดียวอาจทำให้ได้ข้อมูลที่มากเกินไป   หรือมีโอกาสที่จะเบี่ยงเบนจากที่เราต้องการไปมาก   จากปัญหานี้มี Internet Service Directory   หลายๆ แห่งมีการจัดหมวดหมู่ไว้ให้
           4. การใช้เครื่องหมายพิเศษช่วยในการค้นหา    เป็นการใส่ตัวกรอง (Filter) ในการค้นหาซึ่งทำได้หลายแบบ    เช่น
                       - การใช้เครื่องหมาย  +   นำหน้าคีย์เวิร์ด    เพื่อบังคับให้ผลการค้นหาที่ได้ต้องมีข้อความที่ตรงกับคีย์เวิร์ดตัวนั้น    เช่น   เราต้องการค้นหาข้อมูลของสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล   และต้องมีข้อมูลของยอดกองหน้าไมเคิล  โอเวนอยู่ภายในด้วย   ดังนี้    Liverpool +Owen
                       - การใช้เครื่องหมาย  -   นำหน้าคีย์เวิร์ด    เพื่อบังคับให้ผลการค้นหาที่ได้ต้องไม่มีข้อความที่ตรงกับคีย์เวิร์ดตัวนั้น    เช่น   เราต้องการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเสือ   จึงใช้คีย์เวิร์ดว่า   Tiger   แต่กลัวว่าจะมีข้อมูลของ   Tiger Woods   ซึ่งเป็นนักกอร์ฟติดมาด้วย   เราจึงใช้ดังนี้     Tiger –Woods
                       - การใช้เครื่องหมายดอกจัน  ( * )   ติดกับคีย์เวิร์ด    เพื่อแสดงว่าขอให้มีเฉพาะข้อความหรือคำที่ตรงกับคีย์เวิร์ดนั้น   ที่เหลือจะเป็นอะไรก็ได้   เช่นเราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับพี่เบิร์ด  ธงไชย  แมคอินไตย์   แต่ว่าเราสะกดนามสกุลของเขาไม่ถูก   ก็สามารถทำได้ดังนี้    Tongchai Mcin*
           5. ตัวเชื่อมที่นำมาใช้เมื่อใช้หลายคำในการค้นหา   เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่เจาะจงมายิ่งขึ้น
                      AND   ค้นหาเฉพาะเว็บเพจที่มีคำทั้งสองคำอยู่ด้วยกัน
                      OR     ค้นหาเว็บเพจที่มีคำใดคำหนึ่ง  หรือมีทั้งสองคำ
                       NOT   ค้นหาคำที่ไม่มีคำนี้อยู่

เทคนิค การค้นหา ข้อมูล  Search Engine


             การค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ปัจจุบันจะมีตัวช่วยในการค้นหามากมายหลายโปรแกรม  แต่การค้นหาด้วยโปรแกรมต่าง ๆ จะสะดวกมากขึ้น จำเป็นจะต้องรู้เทคนิคในการค้นหาซึ่งแต่ละโปรแกรมก็จำมีความคลายคลึงกันซึ่งเราจะยกตัวอย่างจากเวป Search Engine ที่นิยมที่สุดคือ  google ก็มีเทคนิคมากมาย  การค้นหาจาก  google มีหลายวิธีให้คุณ หาข้อมูลได้มากขึ้น
1. Google จะใช้ and (และ) อยู่ในประโยคเสมอ เช่น ค้นหา Ohm the handsome back to her จะ
ค้นหาแบบ ohm AND handsome AND back... (พูดง่ายๆคือค้นหาแบบแยกคำ)
2. การใช้ OR (หรือ) คือการให้ Google หาข้อมูลมากขึ้นจาก คำA และ คำB (พูดง่ายๆ คือนำผลที่ได้มา
รวมกันรวมกัน) วิธีใช้ พิมพ์ OR ด้วยตัวใหญ่ระหว่างคำที่ต้องการ เช่น vacation london OR paris คือ
หาทั้งใน London และ Paris
3. Google จะละคำทั่วๆไป (เช่น the, to, of) และตัวอักษรเดี่ยว เพราะจะทำให้ค้นหาช้าลง แต่ถ้าคำ
พวกนั้นสามารถช่วยให้หาข้อมูลง่ายขึ้น ก็ต้องใช้เครื่องหมาย + ช่วยโดยนำไปอยู่หน้าคำนั้น
(ต้องเว้นวรรคก่อนด้วย) เช่น back +to nature final fantasy +x
4. Google สามารถกันขอบเขตการค้นหาให้เล็กลงด้วยการใช้ Advanced Search หรือ การค้นหาแบบ
พิเศษ ใน Google ภาษาไทย
5. Google สามารถตัดคำพ้องรูปได้โดยใช้เครื่องหมาย - ช่วยโดยการนำไปอยู่คำที่จะตัดเช่น คำว่า bass
มี 2 ความหมายคือ เกี่ยวกับปลา และดนดรีเราจะตัดที่มีความหมายเกี่ยวกับดนตรีออกโดยพิมพ์ bass -music
หมายความว่า bass ที่ไม่มีคำว่า music นอกจากนี้มันยังสามารถตัดอย่างอื่นได้อีกเช่น "front mission
3" -filetype:pdf หมายความว่า เรื่องเกี่ยวกับ front mission 3 แต่ไม่แสดงไฟล์ PDF
6. การค้นหาแบบทั้งวลี (คือการค้นหาทั้งกลุ่มคำ) ให้ใช้เครื่องหมาย " " เช่น "Breath of fire IV"
7. Google สามารถแปลเวปภาษา Italian, French, Spanish, German, และ Portuguese เป็น
ภาษาอังกฤษได้ (โดยคลิ้กที่คำว่า "Translate this page" ด้านข้างชื่อเวป)
8. Google สามารถหาไฟล์ในรูปแบบอื่นๆที่ไม่ใช่ HTML ได้ ประเภทไฟล์ที่รองรับคือ
Adobe Portable Document Format (pdf)
Adobe PostScript (ps)
Lotus 1-2-3 (wk1, wk2, wk3, wk4, wk5, wki, wks, wku)
Lotus WordPro (lwp)
MacWrite (mw)
Microsoft Excel (xls)
Microsoft PowerPoint (ppt)
Microsoft Word (doc)
Microsoft Works (wks, wps, wdb)
Microsoft Write (wri)
Rich Text Format (rtf)
Text (ans, txt)
วิธีใช้ filetype:นามสกุลของไฟล์ เช่น "Chrono Cross" filetype:pdf หมายความว่าเอกสารของ
Chrono Cross ที่เป็น PDF และมันยังมีความสามารถดูไฟล์เหล่านั้นในรูปแบบของ HTML ได้ (โดยคลิ้ก
View as HTML หรือ รูปแบบ HTML ใน Google ไทย)
        9. Google สามารถเก็บ Cached ของเวปที่จะเข้าชมไว้ได้ (โดยคลิ้กที่ Cached หรือ ถูกเก็บไว้ ใน
Google ภาษาไทย) ประโยชน์ของมันคือช่วยให้เราสามารถเข้าเวปบางเวปที่อาจโดนลบไปแล้ว โดยข้อมูลที่
ได้เป็นข้อมูลก่อนถูกลบ (ใหม่สุดที่มันจะมีได้)
        10.Google สามารถค้นหาหน้าที่คล้ายกัน (โดยคลิ้ก Similar pages หรือ หน้าที่คล้ายกัน ใน Google
ภาษาไทย) โดยจะค้นหาข้อมูลที่คล้ายๆ กันให้เรา เช่น ถ้าเรากำลังหาข้อมูลการวิจัย ความสามารถนี้จะ ช่วย
ให้หาข้อมูลได้มากมายในเวลาที่รวดเร็วโดยไม่ต้องเป็นห่วงเรื่อง keyword
        11.Google สามารถค้นหา link ทั้งหมดที่เชื่อมไปยังเวปนั้นได้ วิธีใช้ link:ชื่อ URL เช่น
link:www.google.com และคุณไม่สามารถใช้ความสามารถนี้ร่วมกับการหาแบบอื่นๆ ได้
        12.Google สามารถค้นหาเวปที่จำเพาะเจาะจงได้ โดยพิมพ์ คำที่คุณต้องการเจาะจง site:ชื่อ URLเช่น
ถ้าคุณต้องการหาเวปเกี่ยวกับการเข้า (admission) มหาวิทยาลัย Stanford ให้พิมพ์admission
site:www.stanford.edu

ที่มา http://www.naikajok.krubpom.com/?name=blog&file=readblog&id=20
และ www.jd.in.th/e_learning/media/make.../search_text.htm
guest profile guest
 เทคนิคการค้นหาข้อมูลจากเว็บ Google

Google Search คืออะไร ?

Google Search เป็นเครื่องมือที่ให้บริการค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต( Search Engine) ของเว็บไซต์ Google.com ที่โด่งดังที่สุดในปัจจุบันครับ ผู้ใช้งานเพียงเข้าเว็บไซต์ www.Google.com จากนั้นพิมพ์คำหรือข้อความ( Keyword) เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการค้นหา เพียงชั่วอึดใจหลังกดปุ่ม Enter Google Search ก็จะแสดงเว็บไซต์ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับ Keyword เหล่านั้นทันที

ไม่เฉพาะแต่เพียงการค้นหาข้อมูลในรูปของเว็บไซต์เท่านั้น Google Search ยังสามารถค้นหาข้อมูลที่เป็นไฟล์รูปภาพ( Images) , กลุ่มข่าว( News Groups) และ สารบบเว็บ( Web Directory) ได้อย่างแม่นยำอย่างน่าทึ่งอีกด้วย ปัจจุบันเว็บไซต์ Google ได้รับความนิยมอย่างมากจากผู้ที่ต้องการค้นหาข้อมูลผ่านเว็บไซต์ โดยมีผู้เข้าใช้กว่า 250 ล้านครั้งต่อวันเลยทีเดียวครับ

บริการค้นหาข้อมูลของ Google Search แบ่งหมวดหมู่ของการค้นหาออกเป็น 4 หมวดหลักด้วยกัน คือ

1. เว็บ ( Web) เป็นการค้นหาข้อมูลในรูปแบบของเว็บไซต์ต่าง ๆ ทั่วโลก โดยการแสดงผลจะแสดงเว็บไซต์ที่มีคำที่เป็น Keyword อยู่ภายเว็บไซต์นั้น

2. รูปภาพ ( Images) เป็นการค้นหาไฟล์รูปภาพจากการแปลคำ Keyword

3. กลุ่มข่าว ( News Groups) เป็นการค้นหาข่าวสารจากกลุ่มสมาชิกที่ใช้บริการ Google News Groups เพื่อรับส่งข่าวสารกันเองระหว่างสมาชิก โดยมีการระบุชื่อผู้เขียนข่าว , หัวข้อข่าว , วันที่และเวลาที่โพสต์ข่าว

4. สารบบเว็บ ( Web Directory) Google มีการจัดประเภทของเว็บไซต์ออกเป็นหมวดหมู่ ซึ่งผู้ใช้สามารถค้นหาเว็บในเรื่องที่ต้องการตามหมวดหมู่ที่มีอยู่แล้วได้เลยทันทีครับ

รูปแบบการค้นหาข้อมูลด้วย Google ที่ควรทราบ

การค้นหาโดยทั่วไปส่วนใหญ่แล้วจะใช้ Keyword เป็นเครื่องมือในการนำทางการค้นหาอย่างเดียว แต่ถ้าผู้ใช้รู้จักใช้เครื่องหมายบางตัวร่วมด้วย ก็จะทำให้ขอบเขตการค้นหาของ Google แคบลง ทำให้ผู้ใช้ได้ข้อมูลที่ตรงกับความต้องการมากขึ้น เครื่องหมายที่สามารถนำมาช่วยในการค้นหาได้ มีดังนี้

- การใช้เครื่องหมายบวก (+) เชื่อมคำ

โดยปกติ Google จะไม่ใส่ใจในในการค้นหาข้อมูลจากการพิมพ์ Keyword ประเภท Common Word( คำง่ายๆ ) เช่น at, with, on, what, when, where, how, the, to, of แต่เนื่องจากเป็นบางครั้งคำเหล่านี้เป็นคำสำคัญของประโยคที่ผู้ใช้จำเป็นต้องค้นหา ดังนั้นเครื่องหมาย + จะช่วยเชื่อมคำ โดยมีเงื่อนไข ว่า ก่อนหน้าเครื่องหมาย + ต้องมีการเว้นวรรค 1 เคาะด้วย เช่น หากต้องการค้นหาเว็บไซต์เกี่ยวกับเกมส์ที่มีชื่อว่า Age of Empire ถ้าผู้ใช้พิมพ์ Keyword Age of Empire Google ก็จะทำการค้นหาแยกคำโดยไม่สนใจคำว่า of และจะค้นหาคำว่า Age หรือ Empire เพียงสองคำ แต่ถ้าผู้ใช้ระบุว่า Age +of Empire Google จะทำการค้นหาทั้งคำว่า Age, of และ Empire ครับ

 

- ตัดบางคำที่ไม่ต้องการค้นหาด้วยเครื่องหมายลบ ( - )

จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถตัดเรื่องที่ผู้ใช้ไม่ต้องการ หรือไม่เกี่ยวข้องออกไปได้ เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการ ล่องแก่ง แต่ไม่ต้องการ การล่องแก่งที่เกี่ยวข้องกับจังหวัดตาก ให้ผู้ใช้พิมพ์ Keyword ว่า ล่องแก่ง -ตาก (เช่นเดียวกับเครื่องหมาย + ต้องเว้นวรรคก่อนหน้าเครื่องหมายด้วย) Google จะทำการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการล่องแก่ง แต่ไม่มีจังหวัดตากเข้ามาเกี่ยวข้อง

- การค้นหาด้วยเครื่องหมายคำพูด ("...")

เหมาะสำหรับการค้นหาคำ Keyword ที่มีลักษณะเป็น ประโยควลีหรือกลุ่มคำ ที่ผู้ใช้ต้องการให้แสดงผลทุกคำในประโยค โดยไม่แยกคำ เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการหาเว็บไซต์เกี่ยวกับเพลงที่มีชื่อว่า If I Let You Go ให้พิมพ์ว่า " If I Let You Go" Google จะทำการค้นหาประโยค " If I Let You Go" ทั้งประโยคโดยไม่แยกคำค้นหา

- การค้นหาด้วยคำว่า OR

เป็นการสั่งให้ Google ค้นหาข้อมูลเพิ่มมากขึ้น เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับ การล่องแก่ง ทั้งในจังหวัดตาก และปราจีนบุรี ให้ผู้ใช้พิมพ์ Keyword ว่า ล่องแก่ง ตาก OR ปราจีนบุรี Google จะทำการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการล่องแก่งทั้งในจังหวัดตาก และกาญจนบุรี

- ไม่ต้องใช้คำว่า " AND" ในการแยกคำค้นหา

แต่เดิมการใช้ Keyword ที่มากกว่า 1 คำในการค้นหาเว็บไซต์แบบแยกคำ ผู้ใช้จำเป็นต้องใช้ AND ในการแยกคำเหล่านั้นครับ ปัจจุบันไม่ต้องใช้ AND แล้วครับ เพราะ Google จะทำการแยกคำให้โดยอัตโนมัติเมื่อผู้ใช้ทำการเว้นวรรคคำเหล่านั้น เช่น ถ้าผู้ใช้พิมพ์คำว่า Thai Travel Nature เมื่อคลิกปุ่มค้นหา ก็จะพบว่าในรายชื่อหรือเนื้อหาของเว็บที่ปรากฏจะมีคำว่า Thai ,Travel และ Nature อยู่ในนั้นด้วยครับ

- Google จะไม่ใส่ใจใน Common Word

 

คำศัพท์พื้นๆ อย่าง the, where, is, how, a, to และอื่นๆ รวมทั้งตัวเลขและตัวอักษรเดี่ยวๆ Google มักไม่ให้ความสำคัญและใส่ใจที่จะค้นหาครับ เนื่องจากเครื่องมือที่ Google ใช้จัดเก็บและรวบรวมเว็บทั่วโลกจะค่อนข้างเสียเวลาในการเก็บรวบรวมเว็บที่มีคำเหล่านี้ (ซึ่งมีเยอะมากๆ) แต่ถ้าหากจำเป็น ผู้ใช้จะต้องใช้เครื่องหมาย " + " ในการเชื่อมคำเหล่านี้ด้วยครับ หรืออีกทางก็คือผู้ใช้อาจจะระบุคำที่ต้องค้นหาทั้งหมดในรูปของวลีภายใต้เครื่องหมาย " ……. " ครับ

แหล่งที่มาhttp://www.kapook.com/google/search/#1

___________________________________

เทคนิคการใช้งานเว็บ Google ในการค้นหาข้อมูล , โหลดโปรแกรม , โหลดเพลง และอื่น ๆ ครับ

(ข้อแนะนำ : คุณควรจะดาวน์โหลด มาเพื่อการทดลอง ทดสอบ หรือการศึกษาเท่านั้น)

วิธีที่หนึ่ง

พิมพ์คำเหล่านี้ ใน Google Search
(1)
" parent directory " /spectralab 4.3213/ -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(2)
" parent directory " DVDRip -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(3)
" parent directory "Xvid -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(4)
" parent directory " Gamez -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(5)
" parent directory " MP3 -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(6)
" parent directory " Name of Singer or album -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

หมายเหตุ ให้คุณเปลี่ยน คำที่ตามหลัง parent directory เช่น MP3 Gamez appz DVDRip เป็นสิ่งที่คุณอยากได้ แล้วก้อค้นหา คุณจะพบกับ ความมหัศจรรย์ใน Google

วิธีที่สอง

พิมพ์คำต่อไปนี้ใน Google

?intitle:index.of? mp3
จากนั้นแค่เพิ่มชื่อ เพลง อัลบั้ม นักร้อง ลงไป เช่น ?intitle:index.of? mp3 myfavoritesongs

วิธีที่สาม

พิมพ์คำต่อไปนี้ใน Google

inurl:micr0s0f filetype:iso

จากนั้น ก้อเปลี่ยน คำว่า micr0s0f กับคำว่า iso เป็นคำที่คุณต้องการ เช่น inurl:myc0mpany filetype:zip

เพิ่มเติม

1.Google จะใช้ and (และ) อยู่ในประโยคเสมอ เช่น ค้นหา harvest moon back to nature Google จะค้นหาแบบ harvest AND moon AND back... (พูดง่ายๆคือค้นหาแบบแยกคำ)

2. การใช้ OR (หรือ) คือการให้ Google หาข้อมูลมากขึ้นจาก คำA และ คำB (พูดง่ายๆ คือนำผลที่ได้ มารวมกันรวมกัน) วิธีใช้ พิมพ์ OR ด้วยตัวใหญ่ระหว่างคำที่ต้องการ เช่น vacation london OR paris คือหาทั้งใน London และ Paris

3. Google จะละคำทั่วๆไป (เช่น the, to, of) และตัวอักษรเดี่ยว เพราะจะทำให้ค้นหาช้าลง แต่ถ้าคำพวกนั้นสามารถช่วยให้หาข้อมูลง่ายขึ้น ก็ต้องใช้เครื่องหมาย + ช่วยโดยนำไปอยู่หน้าคำนั้น (ต้องเว้นวรรคก่อนด้วย) เช่น back +to nature หรือ final fantasy +x

4. Google สามารถกันขอบเขตการค้นหาให้เล็กลงด้วยการใช้ Advanced Search หรือ การค้นหา แบบพิเศษ ใน Google ภาษาไทย

5. Google สามารถตัดคำพ้องรูปได้โดยใช้เครื่องหมาย - ช่วยโดยการนำไปอยู่คำที่จะตัด เช่น คำว่า bass มี 2 ความหมายคือ เกี่ยวกับปลา และดนตรีเราจะตัดที่มีความหมายเกี่ยวกับดนตรีออกโดยพิมพ์ bass -music หมายความว่า bass ที่ไม่มีคำว่า music นอกจากนี้มันยังสามารถตัดอย่างอื่นได้อีก เช่น "front mission 3" -filetype pdf หมายความว่า เรื่องเกี่ยวกับ front mission 3 แต่ไม่แสดงไฟล์ PDF

6. การค้นหาแบบทั้งวลี (คือการค้นหาทั้งกลุ่มคำ) ให้ใช้เครื่องหมาย " " เช่น "Breath of fire IV"

7. Google สามารถแปลเว็บภาษา Italian, French, Spanish, German, และ Portuguese เป็น ภาษาอังกฤษได้ (โดยคลิ้กที่คำว่า "Translate this page" ด้านข้างชื่อเว็บ)

8. Google สามารถหาไฟล์ในรูปแบบอื่นๆที่ไม่ใช่ HTML ได้ ประเภทไฟล์ที่รองรับคือ

Adobe Portable Document Format (นามสกุลของไฟล์ pdf)
Adobe PostScript (นามสกุลของไฟล์ ps)
Lotus 1-2-3 (นามสกุลของไฟล์ wk1, wk2, wk3, wk4, wk5, wki, wks, wku)
Lotus WordPro (นามสกุลของไฟล์ lwp)
MacWrite (นามสกุลของไฟล์ mw)
Microsoft Excel (นามสกุลของไฟล์ xls)
Microsoft PowerPoint (นามสกุลของไฟล์ ppt)
Microsoft Word (นามสกุลของไฟล์ doc)
Microsoft Works (นามสกุลของไฟล์ wks, wps, wdb)
Microsoft Write (นามสกุลของไฟล์ wri)
Rich Text Format (นามสกุลของไฟล์ rtf)
Text (นามสกุลของไฟล์ ans หรือ txt)

วิธีใช้ filetype:นามสกุลของไฟล์ เช่น "Chrono Cross" filetype:pdf หมายความว่าเอกสารของ Chrono Cross ที่เป็น PDF และมันยังมีความสามารถดูไฟล์เหล่านั้นในรูปแบบของ HTML ได้ (โดยคลิ้ก View as HTML หรือ รูปแบบ HTML ใน Google ไทย)

9. Google สามารถเก็บ Cached ของเว็บที่จะเข้าชมไว้ได้ (โดยคลิ้กที่ Cached หรือ ถูกเก็บไว้ ใน Google ภาษาไทย) ประโยชน์ของมันคือช่วยให้เราสามารถเข้าเว็บบางเว็บที่อาจโดนลบไปแล้ว โดยข้อมูลที่ได้เป็นข้อมูลก่อนถูกลบ (ใหม่สุดที่มันจะมีได้)

10.Google สามารถค้นหาหน้าที่คล้ายกัน (โดยคลิ้ก Similar pages หรือ หน้าที่คล้ายกัน ใน Google ภาษาไทย) โดยจะค้นหาข้อมูลที่คล้ายๆ กันให้เรา เช่น ถ้าเรากำลังหาข้อมูลการวิจัย ความสามารถนี้จะช่วยให้หาข้อมูลได้มากมายในเวลาที่รวดเร็วโดยไม่ต้องเป็นห่วงเรื่อง keyword

11.Google สามารถค้นหา link ทั้งหมดที่เชื่อมไปยังเว็บนั้นได้ วิธีใช้ link:ชื่อ URL เช่น link:www.google.com แต่คุณไม่สามารถใช้ความสามารถนี้ร่วมกับการหาแบบอื่นๆ ได้

12.Google สามารถค้นหาเว็บที่จำเพาะเจาะจงได้ โดยพิมพ์ คำที่คุณต้องการเจาะจง site:ชื่อ URL เช่น ถ้าคุณต้องการหาเว็บเกี่ยวกับการเข้า (admission) มหาวิทยาลัย Stanford ให้พิมพ์ admission site:www.stanford.edu

13.ถ้าคุณมีเวลาน้อย (และคิดว่าโชคดี) Google มีบริการการค้นหาด่วน (ชื่อบริการ I'm Feeling Lucky) โดยที่ Google จะนำเว็บที่อยู่ลำดับแรกของการค้นหา ส่งให้คุณเลย (link ไปเว็บนั้นให้เสร็จ) เช่น คุณต้องการค้นหาเว็บมหาวิทยาลัย Stanford อย่างด่วนให้พิมพ์ Stanford แล้วกด I'm Feeling Lucky หรือ ใช่เลย! เจอแน่ๆ ใน Google ไทย

14.Google สามารถหาแผนที่ของสหรัฐอเมริกาได้โดยพิมพ์ ที่อยู่ ชื่อถนน พร้อมด้วยชื่อรัฐ เช่น 165 University Ave Palo Alto CA Google จะจัดการส่งแผนที่คุณภาพสูงมาให้คุณ

15.Google สามารถหาเบอร์โทร (เฉพาะอเมริกา) หรือพิมพ์เบอร์โทรแล้วหาบริษัทได้โดยพิมพ์
first name (or first initial), last name, city (state is optional)
first name (or first initial), last name, state
first name (or first initial), last name, area code
first name (or first initial), last name, zip code
phone number, including area code
last name, city, state
last name, zip code
แล้วแต่ว่าคุณจะใช้แบบไหน

16.Google สามารถค้นหา Catalog สินค้าได้ (เข้าไปที่ http://catalogs.google.com)
17.Google สามารถเก็บข้อมูลลักษณะการใช้ที่คุณต้องการได้โดยเข้าไปที่ Preferences หรือ ตัวเลือก ใน Google ไทย

ขอขอบคุณแหล่งที่มา http://www.itcomcenter.com/tips-view.asp?id=66&groupid=1&forward=1

guest profile guest

เทคนิคการค้นหาข้อมูลมีหลายวิธี ดังนี้

         การค้นหาแบบลำดับ

การค้นหาแบบบล็อก

การค้นหาตามความน่าจะเป็น

การค้นแบบไบนารี

-การค้นหาแบบลำดับ Binary search

ใช้กันมาก เขียนโปรแกรมง่าย ใช้กับตารางที่เรียงลำดับหรือไม่เรียงก็ได้ การค้นหาจะต้องเปรียบเทียบข้อมูลในตารางจนกว่าจะเจอระเบียนที่ต้องการ

-การค้นหาแบบบล็อก

         ข้อมูลในแฟ้มต้องเรียงลำดับจากน้อยไปมากเท่านั้นและรวมกลุ่มเป็นบล็อก วิธีนี้จะเปรียบข้อมูลทีละบล็อก และเปรียบเทียบค่าสูงสุดของแต่ละบล็อกทันทีที่พบคีย์สูงสุดของบล็อกใดมีค่ามากกว่าค่าคีย์ที่ต้องการจะหยุดเปรียบเทียบบล็อกที่เหลือ และเริ่มเปรียบเทียบข้อมูลในบล็อก

-การค้นหาตามความน่าจะเป็น

ใช้ความรู้ด้านความน่าจะเป็น เปรียบเทียบข้อมูลที่ความถี่ในการใช้งานมากที่สุดอยู่ลำดับแรก และข้อมูลความถี่ในการใช้น้อยลงมาเป็นลำดับถัดลงมาเรื่อย ข้อมูลที่มีความถี่ในการใช้งานมากก็จะหาเจอได้เร็ว เช่นจากการสำรวจพบว่าชื่อคนไทยมักขึ้นต้นด้วย ส ตามด้วย ก และอักษร ฎ ฏ ฆ ฟ ฒ ฬ น้อยมาก เทคนิคแบบนี้เหมาะกับแฟนข้อมูลขนาดใหญ่ และข้อมูลค่อนข้างคงที่

-การค้นหาแบบเรียงลำดับ (sequential search)  เป็นวิธีการค้นหาข้อมูลที่ง่ายและตรงไปตรงมาที่สุด  การค้นหาทำได้โดยนำค่าหลักไปเปรียบเทียบกับข้อมูลทั้งหมดทีละตัวตั้งแต่ตัวแรกเรียงตามลำดับจนกว่าจะพบข้อมูลที่ต้องการ  หรือเปรียบเทียบไปจนถึงตัวสุดท้ายและพบว่าไม่มีข้อมูลนี้อยู่   ตัวอย่าง เช่น มีข้อมูลอยู่ 10 จำนวน  ดังนี้

 
 18        3        39        70        27        8        1        31        2        50

อ้างอิง http://rbu.rbru.ac.th/~datastru/lesson/lesson9.htm
             www.tratcc.ac.th/download/learning/data/05.ppt

guest profile guest
การค้นหาข้อมูล
เป็นปฏิบัติการค้นหาตำแหน่งที่อยู่ของข้อมูลที่ต้องการ เมื่อมีการกำหนดค่าหลักซึ่งเป็นตัวที่ต้องการค้น นำค่าหลักไปเปรียบเทียบกับข้อมูลในโครงสร้างด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อค้นหาตำแหน่งของค่าหลัก ในการค้นแต่ละครั้งอาจจะพบหรือไม่พบข้อมูลที่ต้องการ ถ้าพบข้อมูลที่ต้องการก็หยุดค้น มิฉะนั้นต้องค้นต่อไปเรื่อย ๆ ตามวิธีการนั้น ๆ จนกว่าไม่มีข้อมูลให้ค้นอีกแล้วแสดงว่าไม่มีข้อมูลที่ต้องการ การค้นหาข้อมูลมีหลายวิธีด้วยกันควรเลือกใช้วิธีการที่เหมาะสมกับระบบงาน

                   การค้นหาแบบเรียงลำดับเป็นวิธีการค้นแบบง่ายและตรงไปตรงมาที่สุด ข้อมูลไม่จำเป็นต้องเรียงลำดับมาก่อนก็ได้    การค้นหาทำได้โดยการนำค่าหลักที่ต้องการค้นไปเปรียบเทียบกับข้อมูลทั้งหมดทีละตัวตั้งแต่ตัวแรกเรียงตามลำดับไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะพบข้อมูลที่ต้องการ    หรือเปรียบเทียบไปจนถึงข้อมูลตัวสุดท้ายและพบว่าไม่มีข้อมูลอยู่    จำนวนครั้งของการเปรียบเทียบเฉลี่ยเท่ากับ  (n+1) / 2    ครั้ง

                   การค้นหาหาแบบทวิภาคเป็นวิธีการค้นหาในข้อมูลที่มีการเรียงลำดับมาก่อน      เริ่มต้นด้วยการหาว่าตำแหน่งกึ่งกลางของข้อมูลทั้งหมดอยู่ที่ตำแหน่งใด    นำค่าหลัก  เปรียบเทียบกับค่าที่ตำแหน่งกึ่งกลาง   ถ้าน้อยกว่าให้ค้นต่อไปในส่วนที่มีค่าน้อยกว่าค่าที่ตำแหน่งกึ่งกลาง    และถ้ามากกว่าให้ค้นต่อไปในส่วนที่เหลือ     ดำเนินการในลักษณะเดียวกัน    ทำเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะพบข้อมูลที่ต้องการหรือจนกว่าไม่สามารถแบ่งข้อมูลได้อีกแล้ว   จำนวนครั้งของการเปรียบเทียบมากที่สุดเท่ากับ   log2ครั้ง

                   การค้นหาแบบลำดับดัชนีเป็นวิธีการค้นหาในข้อมูลที่เรียงลำดับแล้วมักจะใช้ในโครงสร้างที่มีข้อมูลจำนวนมาก    โดยจะแบ่งข้อมูลออกเป็นส่วน ๆ แล้วสร้างตารางดัชนีเก็บค่าสูงสุดหรือค่าต่ำสุดของข้อมูลแต่ละส่วน    เมื่อต้องการค้นหาค่าใด ๆ ทำการค้นในตารางดัชนีแบบเรียงลำดับก่อน   เพื่อหาว่าข้อมูลนั้นควรจะอยู่ในส่วนใดของข้อมูลทั้งหมด   แล้วจึงไปค้นที่ส่วนนั้นแบบเรียงลำดับในข้อมูลจริงต่อไป  และถ้าตารางดัชนีมีขนาดใหญ่มากอาจจะสร้างตารางดัชนีเพิ่มขึ้นอีก   ถ้าตารางดัชนีแรกเรียกว่า   ตารางดัชนีเอก  ตารางดัชนีที่สองเรียกว่า   ตารางดัชนีโท

                   การค้นหาข้อมูลในทรีแบบทวิภาคเป็นการค้นหาข้อมูลที่เก็บอยู่ในโครงสร้างข้อมูลแบบไบนารีเซิรช    การค้นหาจะนำค่าหลักที่ต้องการค้นไปเปรียบเทียบกับค่าที่โหนดรากก่อนถ้าใช่ก็หยุดค้น    ถ้าค่าหลักน้อยกว่าแสดงว่าข้อมูลที่ต้องการควรจะอยู่ในทรีย่อยทางซ้าย    และถ้าค่าหลักมากกว่าแสดงว่าควรจะอยู่ในทรีย่อยทางขวา    จากนั้นดำเนินการค้นหาในทรีย่อยนั้นด้วยวิธีการเดียวกัน    กรณีที่ทรีมีรูปร่างค่อนข้างสมบูรณ์   จำนวนครั้งของการเปรียบเทียบเท่ากับ log2 n ครั้ง  และกรณีที่ทรีมีความสมบูรณ์น้อยที่สุด   จำนวนครั้งของการเปรียบเทียบเท่ากับ  ครั้ง

                   การค้นหาข้อมูลแบบแฮชชิงเป็นวิธีการค้นหาข้อมูลโดยนำค่าหลักมาแปลงให้เป็นที่อยู่หรือค่าดัชนีบอกตำแหน่งที่อยู่    ฟังก์ชันหรือสูตรที่ใช้ในการแปลงค่าหลักไปเป็นค่าดัชนีบอกตำแหน่งเรียกว่า ฟังก์ชันแฮช   และตารางที่ใช้เก็บค่าหลักเรียกว่า ตารางแฮช     ในกรณีที่ค่าหลักที่แตกต่างกันเมื่อผ่านการแปลงด้วยฟังก์ชันแฮชแล้วได้ค่าดัชนีบอกตำแหน่งที่ตรงกันเรียกว่า  เกิดการชนกัน

                   ในการแปลงค่าหลักด้วยฟังก์ชันแฮชมีฟังก์ชันหลาย ๆ แบบด้วยกัน   ฟังก์ชันแฮชที่ดีที่สุดคือฟังก์ชันที่ทำให้เกิดการชนกันน้อยที่สุด   ค่าดัชนีบอกตำแหน่งที่ได้ควรกระจายไปทั่วทุกค่าของตารางแฮช    ตัวอย่างฟังก์ชันแฮชที่นิยมใช้กันมาก  เช่น  วิธีหาร   วิธีวิเคราะห์ตัวเลข    วิธีพับตัวเลข   และวิธีกลางกำลังสอง  เป็นต้น   และวิธีการแก้ปัญหาเมื่อเกิดการชนกันของค่าหลักมีหลายวิธีด้วยกัน  เช่น   การตรวจสอบเชิงเส้น   การรีแฮช   และการเชื่อมโยง   เป็นต้น

guest profile guest

ก่อนจะเริ่มต้นการค้นหาข้อมูล ต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้าง  

1.ผู้ค้น จะต้องทราบว่าตนเอง ต้องการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใด นอกจากนี้จะต้องมีข้อมูลส่วนหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการจะค้นหา

2.ผู้ค้นจะต้องรู้จักแหล่งสารสนเทศและฐานข้อมูลหรือเครื่องมือค้นหาที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ต้องการ ซึ่งปัจจุบันนี้มีมากมายทั้งฟรีและบริการเชิงพาณิชย์ 

3.รู้จักวิธีการใช้แหล่งสารสนเทศ ฐานข้อมูลหรือเครื่องมือที่ใช้ค้นหา เช่น รู้จักวิธีค้นหาแบบพื้นฐาน หรือหากจะให้ดีก็ควรรู้จักการค้นหาแบบขั้นสูงด้วย นอก จากนี้ยังต้องรู้จักวิธีการจัดการผลลัพธ์ ได้แก่ การ บันทึก การสั่งพิมพ์ การส่งข้อมูลทาง E-mail การจัดการรายการบรรณานุกรม เป็นต้น

4.รู้จักกฎ กติกา มารยาทในการใช้แหล่งสารสนเทศ ฐานข้อมูลหรือเครื่องมือค้นหา เนื่องจากปัจจุบันได้ มีการละเมิดลิขสิทธิ์กันมากขึ้น

เทคนิคการค้นหาข้อมูล

          เทคนิคการค้นหาข้อมูล หมายถึง วิธีการต่างๆ ที่ใช้ประกอบในการสร้างประโยคการค้นหา เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ตรงกับความต้องการมากที่สุด เทคนิคในการค้นหานั้น สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

1.การค้นหาพื้นฐานหรืออย่างง่าย (Basic Search)

                2.การค้นหาแบบซับซ้อนหรือขั้นสูง (Advanced Search)

เทคนิคการสืบค้นข้อมูล

                1. การค้นหาแบบพื้นฐาน (Basic Search) เป็นการค้นหาสารสนเทศอย่างง่ายๆ ไม่ซับซ้อน โดยใช้คำโดดๆ หรือผสมเพียง 1 คำ ในการสืบค้นข้อมูล โดยส่วนใหญ่การค้นหาแบบง่ายจะมีทางเลือกในการค้นหา ได้แก่

1.1 ชื่อผู้แต่ง (Author) เป็น การค้นหาโดยใช้ชื่อของบุคคล กลุ่มบุคคล นามปากกา หรือชื่อหน่วยงาน/องค์กร ที่เป็นผู้แต่งหรือเขียนหนังสือ บทความ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ หรือทรัพยากรสารสนเทศนั้นๆ ซึ่งมีหลักการค้นหาง่ายๆ ดังนี้

1.2 ชื่อเรื่อง (Title) เป็น การค้นหาข้อมูล ด้วยชื่อเรื่อง เช่น ชื่อหนังสือ ชื่อบทความ ชื่อเรื่องสั้น นวนิยาย ชื่องานวิจัย หรือวิทยานิพนธ์ การค้นโดยใช้ชื่อเรื่องนี้ เป็นการค้นหาแบบเจาะจง ดังนั้นผู้ค้น ต้องรู้จักชื่อเรื่อง หลักการค้นหาด้วยชื่อเรื่องทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ใช้หลักการเดียวกัน คือ ค้นหาตามชื่อนั้นๆ ได้เลย โดย ระบบจะทำการค้นหาจากชื่อเรื่อง เริ่มจากอักษรตัวแรกและตัวถัดไปตามลำดับ

1.3 หัวเรื่อง (Subject Heading) คือ คำหรือวลีที่กำหนดขึ้นมา เพื่อใช้แทนเนื้อหาของหนังสือ บทความ งานวิจัย วิทยานิพนธ์หรือทรัพยากรสารสนเทศนั้นๆ

1.4 คำสำคัญ (Keywords) คือ การค้นหาด้วยคำหรือวลีที่กำหนดขึ้นมา เพื่อใช้แทนเรื่องที่ต้องการค้นหา โดยทั่วไปคำสำคัญจะมีลักษณะที่สั้น กะทัดรัด ได้ใจความ มีความหมาย เป็นคำนามหรือเป็นศัพท์เฉพาะในแต่ละสาขาวิชา

2. การ ค้นหาแบบขั้นสูง (Advanced Search) เป็นการค้นหาข้อมูลที่ซับซ้อนมากกว่าแบบพื้นฐาน ซึ่งมีเทคนิคหรือรูปแบบการค้นที่จะช่วยให้ผู้ค้นสามารถจำกัดขอบเขตการค้นหา หรือค้นแบบเจาะจงได้มากขึ้น เพื่อให้สามารถค้นหาข้อมูลได้ที่ตรงกับความต้องการมากที่สุด

2.1 การสืบค้นข้อมูล โดยใช้ตรรกบูลีน (Boolean Logic) หรือการค้นหาโดยใช้ Operator เป็นการค้นหา โดยใช้คำเชื่อม 3 ตัว คือ AND, OR, NOT ดังนี้

AND ใช้เชื่อมคำค้น เพื่อจำกัดขอบเขตการค้นหาให้แคบลง เช่นต้องการค้นหาคำว่าสัมตำที่เป็นอาหาร มีรูปแบบการค้นดังนี้ คือ    ส้มตำ AND อาหาร หมายถึง ต้องการค้นหาคำว่า ส้มตำ และคำว่า อาหาร

OR ใช้เชื่อมคำค้น เพื่อขยายขอบเขตให้กว้างขึ้น เช่น สัมตำไทย OR ส้มตำ ปูปลาร้า (โอย..น้ำยาย..ไหยยยย..แซ๊บ..แซบ..เด้อ) หมายถึง ต้องการค้นหาคำว่า สัมตำไทย และ ส้มตำปูปลาร้า หรือค้นหาคำใดคำหนึ่งก็ได้

NOT ใช้เชื่อมคำค้น เพื่อจำกัดขอบเขตให้แคบลง เช่น ต้องการค้นหาคำว่า ส้มตำ AND อาหาร NOT เพลง หมายถึง ต้องการค้นหา คำว่า ส้มตำ ที่เป็นอาหาร ไม่เอาส้มตำที่เป็นเพลง เป็นต้น

2.2 เทคนิคการตัดคำ (Truncation) 

2.3 เทคนิคการจำกัดคำค้น (Limit Search)

 

แหล่งที่มา http://kunumook.blog.mthai.com/2009/06/27/public-1

guest profile guest
เทคนิค 8 ประการที่ควรรู้ในการค้นหาข้อมูล
 ในการค้นหาข้อมูลด้วย Search Engine ส่วนใหญ่แล้วปัญหาที่ผู้ใช้งานทั่วไปมักจะพบเห็น หรือประสบอยู่เสมอๆก็คงจะหนี
ไปไม่พ้นข้อมูลที่ค้นหาได้มีขนาดมากจนเกินไป ดังนั้นเพื่อ ความสะดวกในการใช้งานคุณจึงน่าที่จะเรียนรู้เทคนิคต่างๆเพื่อ
ช่วยลดหรือจำกัดคำที่ค้น หาให้แคบลงและตรงประเด็นกับเรามากที่สุด 
1. เลือกรูปแบบการค้นหาให้ตรงกับสิ่งที่คุณต้องการมากที่สุด ส่วนจะเลือกใช้วิธีไหนก็ตามแต่คุณจะเห็นว่า เหมาะสม ยกตัวอย่างเช่น ถ้าคุณต้องการจะค้นหาข้อมูลที่มีลักษณะทั่วไป ไม่ชี้ เฉพาะเจาะจง ก็ควรเลือกบริการสืบค้นข้อมูล แบบ Index อย่างของ sanook เพราะ โอกาสที่จะเจอนั้น เปอร์เซ็นต์สูงกว่าจะมานั่งสุ่ม หาโดยใช้วิธีแบบ Search Engine 2. ใช้คำมากกว่า 1 คำที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกันช่วยค้นหา เพราะจะได้ผลลัพท์ที่มีขนาด แคบลงและชี้เฉพาะมากขึ้น (ย่อมจะดีกว่าหาคำเดียวโดดๆ) เช่น kanchanaburi+kemapat 3. ใช้บริการของผู้ให้บริการเฉพาะด้าน เช่น การค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวของ ภาพยนตร์ก็น่าที่จะเลือกใช้ Search Engine ที่ให้บริการใหล้เคียงกับเรื่องพวกนี้ เพราะผลลัพท์ที่ได้น่าจะเป็นที่น่าพอใจกว่า 4. ใส่เครื่องหมายคำพูดครอบคลุมกลุ่มคำที่ต้องการ เพื่อบอกกับ Search Engine ว่าเรา ต้องการผลการค้นหาที่มีคำใน กลุ่มนั้นครบและตรงตามลำดับที่เราพิมพ์ทุกคำ เช่น "kemapat school" เป็นต้น 5. การขึ้นต้นของตัวอักษรตัวเล็กเท่ากันหมด Search Engine จะเข้าใจว่าเราต้องการ ให้มันค้นหาคำดังกล่าวแบบ ไม่ต้องสนใจว่าตัวอักษรที่ได้จะมีขนาดเล็กหรือใหญ่ ดังนั้นหากคุณต้องการอยากที่จะให้มันค้นหาคำตรงตามแบบที่ เขียนไว้ก็ให้ใช้ตัว อักษรใหญ่แทน 6. ใช้ตัวเชื่อมทาง Logic หรือตรรกศาสตร์เข้ามาช่วยค้นหา มีอยู่ 3 ตัวด้วยกันคือ - AND สั่งให้หาโดยจะต้องมีคำนั้นๆ มาแสดงด้วยเท่านั้น! โดยไม่จำเป็นว่าจะต้องติดกัน เช่น thailand and kanchanaburi เป็นต้น - OR สั่งให้หาโดยจะต้องนำคำใดคำหนึ่งที่พิมพ์ลงไปมาแสดง - NOT สั่งไม่ให้เลือกคำนั้นๆมาแสดง เช่น thailand and kanchanaburi not goft หมายความว่า ให้ทำการหา เว็บที่เกี่ยวข้องกับ thailand และ kanchanaburi แต่ต้องไม่มี goft เป็นต้น 7. ใช้เครื่องหมายบวกลบคัดเลือกคำ + หน้าคำที่ต้องการจริงๆ - (ลบ)ใช้นำหน้าคำที่ไม่ต้องการ () ช่วยแยกกลุ่มคำ เช่น (pentium+computer)cpu 8. ใช้ * เป็นตัวร่วม เช่น com* เป็นการบอกให้หาคำที่มีคำว่า com ขึ้นหน้าส่วนด้านท้ายเป็น อะไรไม่สนใจ
*tor เป็นการให้หาคำที่ลงท้ายด้วย tor ด้านหน้าจะเป็นอะไรไม่สนใจ

ขอบคุณที่มาhttp://www.kemapat.ac.th/search8.htm
guest profile guest

เทคนิคการค้นหาให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการจากเว็บ google

การค้นหาข้อมูลด้วยเว็บไซต์ค้นหานั้น เพื่อให้ขอบข่ายของการค้นหาแคบเข้า สามารถค้นหาได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น เราจะต้องใช้เทคนิคในการ ค้นหา ดังนี้

 

1.     บีบประเด็นให้แคบลง      หัวข้อเรื่องที่คุณต้องการค้นหาต้องพยายามบีบประเด็นให้แคบลง เช่น คุณต้องการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งคุณอาจจะหาโดยใช้คำว่า คอมพิวเตอร์ หรือ Computer นี้ค้นหา เพื่อลองดูเนื้อหากว้างๆ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ว่ามีเรื่องใดบ้าง จากนั้นคุณก็บีบหัวข้อเรื่องลง โดยอาจจะเลือกจากหัวข้อที่เว็บไซต์นั้นจัดทำ หรืออาจจะพิมพ์ข้อความเพื่อค้นหาอีกครั้ง

 

 

2.     การใช้คำที่ใกล้เคียง   ควรค้นหาคำที่มีความหมายใกล้เคียงกับคำที่กำลังค้นหาด้วย เช่น คุณต้องการค้นเรื่องเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Computer คำที่เกี่ยวข้องที่สามารถใช้ค้นหาได้ คือ technology, IT เป็นต้น

 

3.     การใช้คำหลัก (Keyword)    คำหลัก (Keyword) หมายถึง คำหรือข้อความที่เราจะนึกถึงเว็บไซต์นั้นเมื่อเอ่ยถึง เช่นสสวท. คุณจะนึกถึงเว็บไซต์ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี http://www.ipst.ac.th หรือ schoolnet คุณจะนึกถึงเว็บไซต์เครือข่ายโรงเรียนไทย http://www.school.net.th

 

4.     หลีกเลี่ยงการใช้ตัวเลข    พยายามเลี่ยงการใช้คำค้นหาที่เป็นคำเดี่ยวๆ หรือเป็นคำที่มีตัวเลขปน แต่ถ้าเลี่ยงไม่ได้ คุณก็อย่าลืมใส่เครื่องหมายคำพูด (" ") ลงไปด้วย เช่น "windows 98"

 

5.     ใช้เครื่องหมายบวกและลบช่วย     ใช้เครื่องหมาย + และ - เพื่อช่วยในการค้นหา โดย + เพื่อใช้กับคำที่คุณต้องการใช้ในการค้นหา และ - เพื่อใช้กับคำที่คุณไม่ต้องการใช้ในการค้นหา

 

 

 

6.     เครื่องหมาย "+" หมายถึง การระบุให้ผลลัพธ์ของการค้นหาต้องมีคำนั้นปรากฎอยู่ในหน้าเว็บเพจ ข้อควรระวังคือ เราจะต้องใช้เครื่องหมายบวกติดกับคำหลักนั้นเสมอ ห้ามมีช่องว่างระหว่างเครื่องหมายบวกกับคำหลัก เช่น +เศรษฐกิจ +การเมือง หมายถึง หน้าเว็บเพจที่พบจะต้องปรากฎคำว่า "เศรษฐกิจ" และ "การเมือง" อยู่ในหน้าเดียวกันทั้งสองคำ หรือ+เศรษฐกิจ การเมือง สังเกตเห็นว่าที่คำว่า "การเมือง" ไม่ปรากฏเครื่องหมายบวก "+" อยู่ข้างหน้า เหมือนตัวอย่างบน หมายถึง การค้นหาหน้าเอกสารเว็บเพจที่จะต้องปรากฏ คำว่า "เศรษฐกิจ" โดยในหน้าเอกสารนั้นอาจจะปรากฏหรือไม่ปรากฏคำว่า "การเมือง" ก็ได้ 

 

7.     เครื่องหมายลบ "-" หมายถึง เป็นการระบุให้ผลลัพธ์ของการค้นหาต้องไม่ปรากฎคำนั้น อยู่ในหน้าเว็บเพจ เช่น โรงแรม -รีสอร์ท หมายถึง หน้าเว็บเพจนั้นต้องมีคำว่า โรงแรม แต่ต้องไม่ปรากฎคำว่า รีสอร์ท อยู่ โดยการใช้งานต้องอยู่ในรูปของ A -B หรือ +A -B โดย A และ B เป็นคำหลักที่ต้องการค้นหา ตัวอย่าง +มะม่วง -มะม่วงอกร่อง -มะม่วงน้ำดอกไม้ หมายถึง หน้าเว็บเพจที่พบจะต้องปรากฎคำว่า "มะม่วง" แต่ต้องไม่ปรากฎคำว่า "มะม่วงอกร่อง" และ "มะม่วงน้ำดอกไม้" อยู่ในหน้าเดียวกัน

 

8.     หลีกเลี่ยงภาษาพูด     หลีกเลี่ยงคำประเภท Natural Language หรือเรียกง่ายๆ ว่าคำหรือข้อความที่เป็นภาษาพูด หรือเป็นประโยค คุณควรสรุปเป็นเพียงกลุ่มคำหรือวลี ที่มีความหมายรวมทั้งหมดไว้

 

9.     Advanced Search     อย่าลืมที่จะใช้ Advanced Search เพราะจะมีส่วนช่วยคุณได้มาก ในการบีบประเด็นหัวข้อ ให้แคบลง ซึ่งจะทำให้คุณได้รายชื่อเว็บไซต์ ที่ตรงกับความต้องการของคุณมากขึ้น อย่าละเลย Help ซึ่งในแต่ละเว็บ จะมี ปุ่ม help หรือ Site map ไว้คอยช่วยเหลือคุณ แต่คนส่วนใหญ่มักจะมองข้าม ซึ่ง help/site map จะมีประโยชน์มากในการอธิบาย option หรือการใช้งาน/แผนผังปลีกย่อยของแต่ละเว็บไซต์

 

http://gotoknow.org/blog/krutae/205911

guest profile guest

เทคนิคการค้นหาข้อมูลด้วยการใส่คีย์เวิร์ด

 

เทคนิคการค้นหาข้อมูลด้วยการใส่คีย์เวิร์ดต่างๆ ได้แก่

           1. ระบุคีย์เวิร์ดไปมากๆ ให้ครอบคลุมทั้งหมด    เช่น เราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับภาพยนตร์เรื่อง  The Beach   ถ้ากรอกให้ครอบคลุมดังนี้    The Beach movie Leonado

           2. เครื่องหมาย  “ และ    เข้าช่วย    เราจะใช้เครื่องหมาย   “ และ ”  ครอบคำหรือกลุ่มคำที่ต้องการเฉพาะที่อยู่ในเครื่องหมาย    เช่น  “Java programming tutorial”

           3. บีบขอบเขตข้อมูลให้กระชับเข้าด้วยการใช้  Directory    การใช้คีย์เวิร์ดอย่างเดียวอาจทำให้ได้ข้อมูลที่มากเกินไป   หรือมีโอกาสที่จะเบี่ยงเบนจากที่เราต้องการไปมาก   จากปัญหานี้มี Internet Service Directory   หลายๆ แห่งมีการจัดหมวดหมู่ไว้ให้

           4. การใช้เครื่องหมายพิเศษช่วยในการค้นหา    เป็นการใส่ตัวกรอง (Filter) ในการค้นหาซึ่งทำได้หลายแบบ    เช่น

                       - การใช้เครื่องหมาย  +   นำหน้าคีย์เวิร์ด    เพื่อบังคับให้ผลการค้นหาที่ได้ต้องมีข้อความที่ตรงกับคีย์เวิร์ดตัวนั้น    เช่น   เราต้องการค้นหาข้อมูลของสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล   และต้องมีข้อมูลของยอดกองหน้าไมเคิล  โอเวนอยู่ภายในด้วย   ดังนี้    Liverpool +Owen

                       - การใช้เครื่องหมาย  -   นำหน้าคีย์เวิร์ด    เพื่อบังคับให้ผลการค้นหาที่ได้ต้องไม่มีข้อความที่ตรงกับคีย์เวิร์ดตัวนั้น    เช่น   เราต้องการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเสือ   จึงใช้คีย์เวิร์ดว่า   Tiger   แต่กลัวว่าจะมีข้อมูลของ   Tiger Woods   ซึ่งเป็นนักกอร์ฟติดมาด้วย   เราจึงใช้ดังนี้     Tiger –Woods

                       - การใช้เครื่องหมายดอกจัน  ( * )   ติดกับคีย์เวิร์ด    เพื่อแสดงว่าขอให้มีเฉพาะข้อความหรือคำที่ตรงกับคีย์เวิร์ดนั้น   ที่เหลือจะเป็นอะไรก็ได้   เช่นเราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับพี่เบิร์ด  ธงไชย  แมคอินไตย์   แต่ว่าเราสะกดนามสกุลของเขาไม่ถูก   ก็สามารถทำได้ดังนี้    Tongchai Mcin*

           5. ตัวเชื่อมที่นำมาใช้เมื่อใช้หลายคำในการค้นหา   เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่เจาะจงมายิ่งขึ้น

                       AND   ค้นหาเฉพาะเว็บเพจที่มีคำทั้งสองคำอยู่ด้วยกัน

                       OR     ค้นหาเว็บเพจที่มีคำใดคำหนึ่ง  หรือมีทั้งสองคำ

                       NOT   ค้นหาคำที่ไม่มีคำนี้อยู่

guest profile guest

เทคนิคการค้นหาข้อมูลด้วยการใส่คีย์เวิร์ด

 

เทคนิคการค้นหาข้อมูลด้วยการใส่คีย์เวิร์ดต่างๆ ได้แก่

           1. ระบุคีย์เวิร์ดไปมากๆ ให้ครอบคลุมทั้งหมด    เช่น เราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับภาพยนตร์เรื่อง  The Beach   ถ้ากรอกให้ครอบคลุมดังนี้    The Beach movie Leonado

           2. เครื่องหมาย  “ และ    เข้าช่วย    เราจะใช้เครื่องหมาย   “ และ ”  ครอบคำหรือกลุ่มคำที่ต้องการเฉพาะที่อยู่ในเครื่องหมาย    เช่น  “Java programming tutorial”

           3. บีบขอบเขตข้อมูลให้กระชับเข้าด้วยการใช้  Directory    การใช้คีย์เวิร์ดอย่างเดียวอาจทำให้ได้ข้อมูลที่มากเกินไป   หรือมีโอกาสที่จะเบี่ยงเบนจากที่เราต้องการไปมาก   จากปัญหานี้มี Internet Service Directory   หลายๆ แห่งมีการจัดหมวดหมู่ไว้ให้

           4. การใช้เครื่องหมายพิเศษช่วยในการค้นหา    เป็นการใส่ตัวกรอง (Filter) ในการค้นหาซึ่งทำได้หลายแบบ    เช่น

                       - การใช้เครื่องหมาย  +   นำหน้าคีย์เวิร์ด    เพื่อบังคับให้ผลการค้นหาที่ได้ต้องมีข้อความที่ตรงกับคีย์เวิร์ดตัวนั้น    เช่น   เราต้องการค้นหาข้อมูลของสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล   และต้องมีข้อมูลของยอดกองหน้าไมเคิล  โอเวนอยู่ภายในด้วย   ดังนี้    Liverpool +Owen

                       - การใช้เครื่องหมาย  -   นำหน้าคีย์เวิร์ด    เพื่อบังคับให้ผลการค้นหาที่ได้ต้องไม่มีข้อความที่ตรงกับคีย์เวิร์ดตัวนั้น    เช่น   เราต้องการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเสือ   จึงใช้คีย์เวิร์ดว่า   Tiger   แต่กลัวว่าจะมีข้อมูลของ   Tiger Woods   ซึ่งเป็นนักกอร์ฟติดมาด้วย   เราจึงใช้ดังนี้     Tiger –Woods

                       - การใช้เครื่องหมายดอกจัน  ( * )   ติดกับคีย์เวิร์ด    เพื่อแสดงว่าขอให้มีเฉพาะข้อความหรือคำที่ตรงกับคีย์เวิร์ดนั้น   ที่เหลือจะเป็นอะไรก็ได้   เช่นเราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับพี่เบิร์ด  ธงไชย  แมคอินไตย์   แต่ว่าเราสะกดนามสกุลของเขาไม่ถูก   ก็สามารถทำได้ดังนี้    Tongchai Mcin*

           5. ตัวเชื่อมที่นำมาใช้เมื่อใช้หลายคำในการค้นหา   เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่เจาะจงมายิ่งขึ้น

                       AND   ค้นหาเฉพาะเว็บเพจที่มีคำทั้งสองคำอยู่ด้วยกัน

                       OR     ค้นหาเว็บเพจที่มีคำใดคำหนึ่ง  หรือมีทั้งสองคำ

                       NOT   ค้นหาคำที่ไม่มีคำนี้อยู่

guest profile guest
เทคนิคการค้นหาข้อมูล ( Search Engine )

        วิธีการค้นหาข้อมูล
1. เข้าไปยังเว็บไซต์ที่ต้องการ ตัวอย่างเช่น Google.com
2.  พิมพ์ข้อความลงในช่องว่างที่มี ตัวอย่างเช่น "software computer"
3.     คลิกปุ่ม "ค้นหาโดย Google" จะได้หน้าต่างดังภาพ
 
4.  อ่านรายละเอียด และคลิกเลือกเว็บไซต์ที่ต้องการ 
5. ถ้าต้องการค้นหาเฉพาะรูปภาพ ให้คลิกเลือกหัวข้อด้านบน "รูปภาพ" 
6. ถ้าต้องการค้นหารูปภาพของ Computer  ให้พิมพ์คำว่า "Computer" แล้วคลิกที่ "ค้นหารูปภาพ"
7. จะแสดงหน้าต่างที่มีรูป Computer ทั้งหมด
 
เทคนิคการค้นหา
1. ค้นหาข้อมูลให้ลึกมากขึ้น และละเอียดมากขึ้น
ตัวอย่าง เช่น ต้องการค้นหา Computer ยี่ห้อ Apple ในช่อง search ให้ใส่คำว่า "computer +Apple" การแสดงผลจะแสดงผลในช่วงต้นๆ และมีคำว่า computer และคำว่า Apple ประกอบกันด้วย
2.ค้นหาโดยแบบละเอียด (advance search)

          โดยคลิกที่คำว่าด้านข้าง "ค้นหาแบบละเอียด" ได้ดังภาพประกอบด้านบน เราสามารถสั่งให้ค้นหาข้อความที่มีคำที่ต้องการ บางส่วนของคำ หรือระบุว่าไม่ให้มีคำๆ นี้ได้ด้วย ซึ่งเทคนิคนี้จะหลายๆ search engine ก็จะมีเทคนิคนี้ด้วยเช่นกัน...
guest profile guest

Search Engine เป็นเครื่องมือที่ทรงคุณค่า แต่ในทางกลับกันก็สร้างโทษมหันต์ จากสถิติเท่าที่ผมได้ยินมาพบว่าเว็บไซต์ที่ค้นหาจาก Google มีเว็บไซต์ที่มีประโยชน์ไม่ถึง 20% ที่ เหลือเป็นเว็บที่ไม่มีประโยชน์เท่านั้นยังไม่พอยังเป็นโทษด้วย เช่นเว็บเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจาร หรือเนื้อหาไม่เหมาะสมคาดว่ามีมากกว่า 20-40% ของเว็บทั้งหมด

ข้อควรจำเกี่ยวกับเว็บไซต์ Google
1. จงท่องไว้ว่า Google เป็นเว็บที่อันตรายมีหลายประเทศที่มีการบล็อกเว็บไซต์นี้
2. รายการที่อยู่ใน 10 ลำดับแรกถ้าไม่ใช่สุดฮิตจริงๆ ก็มีเป้าหมายในการตลาด
3. รายการที่อยู่หลังๆส่วนใหญ่จะมีเปอร์เซนต์ที่ซ่อนข้อมูลที่มีค่า และเว็บสุดแย่
4. รูปภาพทั้งหมดที่ปรากฎใน Google ให้คิดว่ามีลิขสิทธิ์นำไปใช้เพื่อสาธารณะไม่ควร ระวังติดคุก ยกเว้น แต่เจ้าของเว็บจะยินยอมให้ใช้
5. เราสามารถเลือกค้นหา ซึ่งเป็นจุดเด่นเว็บนี้ หารูป หรือเข้าในสารระบบ กลุ่มข่าวได้ด้วย


ดังนั้นเพื่อให้เราเข้าใจ และใช้เครื่องมือที่มีทั้งคุณและโทษนี้จึงมีคำแนะนำวิธีการใช้ดังนี้
1. ไม่ควรใช้เครื่อง Notebook หรือเครื่องประจำตัว
2. ถ้าจำเป็นต้องใช้แนะนำให้ติดตั้งเครื่องมือป้องกันเต็มพิกัด
1. Update Patch ใหม่สุด
2. มี Personal firewall
3. มี Antivirus ที่อัพเดต Signature ใหม่สุดๆ
4. AntiSpyware
5. มี IDS/IPS ประจำเครื่องยิ่งดี
6. ปิดบริการบนเครื่องที่ไม่จำเป็น โดยเฉพาะการใช้ NetBIOS สำหรับเครื่อง Windows และ NFS ในเครื่อง Unix
3. เมื่อ Browser ทำการขึ้นข้อความใดๆให้เราเลือก No ไว้ก่อน ถ้าอ่านแล้วงงๆ
4. เมื่อเข้าลิงค์จากรายการที่ค้นหาแล้ว ต้องลงทะเบียนชื่อแนะนำให้ใช้ข้อมูลที่ได้รับผลกระทบน้อยที่สุด เช่นเบอร์โทรศัพท์, Free E-mail เนื่องจากผลของเว็บที่ค้นหาเหล่านี้ส่วนใหญ่เกิน 20% ที่พบมีวัตถุประสงค์ร้าย
5. ชื่อที่ต้องสงสัยในรายการที่ค้นหาพบ เช่นเป็นหมายเลข IP address หรือไม่มีแหล่งข้อมูลยืนยันว่าปลอดภัย ให้ใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ


วิธีการสืบค้นข้อมูลบน Google
1. การระบุชื่อองค์กรที่ต้องการค้นหาโดยตรงเช่น Itcompanion เป็นต้น
2. การค้นหา E-mail ขององค์กรด้วยส่วนใหญ่ Spammer จะใช้กับเพื่อค้นหา E-mail เช่น @itcompanion.co.th
3. การระบุ E-mail เพื่อค้นหาประวัติของบุคคลนั้นกับการใช้เว็บ
4. ถ้าต้องการข้อมูลพิเศษให้ดูวิธีการค้นหาตารางด้านล่าง


คำที่ช่วยในการหาข้อมูล

คีย์ที่ใช้สิ่งที่จะได้
คำที่ต้องการค้นหาแน่นอนไม่ต้องบอกก็รู้อยู่แล้ว
Top ten, Top hits + คำที่ต้องการจะได้เครื่องมือ สถิติ หรือข้อมูลที่อยู่ในกระแส รวมถึงแหล่งข้อมูล
Free download + ชื่อซอฟต์แวร์จะได้ซอฟต์แวร์ที่ต้องการ หลายครั้งจะแถม Spyware ด้วยระวัง
ระบบปฏิบัติการ + สิ่งที่ต้องการค้นหาจะได้เครื่องมือต่างๆที่ใช้กับระบบปฏิบัติการที่เราเลือก
Thai + หัวข้อที่ต้องการเราจะได้ข้อมูลเกี่ยวกับไทยๆ
ใช้คำใน Top Web siteเช่นเราไปที่ www.download.com และไปดูเครื่องมือ หรือสิ่งที่ต้องการแล้วนำมาค้นหา
ชื่อบุคคลเราจะพบเกียรติประวัติ ความดัง และข้อมูลส่วนตัวของบุคคลนั้นๆ เช่น ชื่อ Hacker ที่โปรดปราน หรือ Winnie the pooh เป็นต้น
ระบุ Signature ต่างของ Antivirusเช่น SDAT5000 เป็นการหา Signature ของ Mcafee เป็นต้น
Trend, Statistic, Penetration + คำที่ต้องการเป็นการหาข้อมูลเพื่อดูการแนวโน้ม หรือเอกสารในการอ้างอิง หรือบรรยาย
Security + คำที่ต้องการดูข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัย
Software, Tools+ คำที่ต้องการเป็นการค้นหาเครื่องมือ
Competition+ คำที่ต้องการดูเว็บเกี่ยวกับคู่แข่ง
Ranking+คำที่ต้องการดูข้อมูลของซอฟต์แวร์
Eventดูเกี่ยวกับเหตุการณ์ในหัวข้อที่ค้นหา


ที่มา : http://www.sapaan.net/forum/internet-community/a1ooae1eoeiauaa1-google/?PHPSESSID=5a4e144e3c3317f6d53260a717679049
guest profile guest

เทคนิคการค้นหาข้อมูลด้วยการใส่คีย์เวิร์ด

 

เทคนิคการค้นหาข้อมูลด้วยการใส่คีย์เวิร์ดต่างๆ ได้แก่

           1. ระบุคีย์เวิร์ดไปมากๆ ให้ครอบคลุมทั้งหมด    เช่น เราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับภาพยนตร์เรื่อง  The Beach   ถ้ากรอกให้ครอบคลุมดังนี้    The Beach movie Leonado

           2. เครื่องหมาย  “ และ    เข้าช่วย    เราจะใช้เครื่องหมาย   “ และ ”  ครอบคำหรือกลุ่มคำที่ต้องการเฉพาะที่อยู่ในเครื่องหมาย    เช่น  “Java programming tutorial”

           3. บีบขอบเขตข้อมูลให้กระชับเข้าด้วยการใช้  Directory    การใช้คีย์เวิร์ดอย่างเดียวอาจทำให้ได้ข้อมูลที่มากเกินไป   หรือมีโอกาสที่จะเบี่ยงเบนจากที่เราต้องการไปมาก   จากปัญหานี้มี Internet Service Directory   หลายๆ แห่งมีการจัดหมวดหมู่ไว้ให้

           4. การใช้เครื่องหมายพิเศษช่วยในการค้นหา    เป็นการใส่ตัวกรอง (Filter) ในการค้นหาซึ่งทำได้หลายแบบ    เช่น

                       - การใช้เครื่องหมาย  +   นำหน้าคีย์เวิร์ด    เพื่อบังคับให้ผลการค้นหาที่ได้ต้องมีข้อความที่ตรงกับคีย์เวิร์ดตัวนั้น    เช่น   เราต้องการค้นหาข้อมูลของสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล   และต้องมีข้อมูลของยอดกองหน้าไมเคิล  โอเวนอยู่ภายในด้วย   ดังนี้    Liverpool +Owen

                       - การใช้เครื่องหมาย  -   นำหน้าคีย์เวิร์ด    เพื่อบังคับให้ผลการค้นหาที่ได้ต้องไม่มีข้อความที่ตรงกับคีย์เวิร์ดตัวนั้น    เช่น   เราต้องการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเสือ   จึงใช้คีย์เวิร์ดว่า   Tiger   แต่กลัวว่าจะมีข้อมูลของ   Tiger Woods   ซึ่งเป็นนักกอร์ฟติดมาด้วย   เราจึงใช้ดังนี้     Tiger –Woods

                       - การใช้เครื่องหมายดอกจัน  ( * )   ติดกับคีย์เวิร์ด    เพื่อแสดงว่าขอให้มีเฉพาะข้อความหรือคำที่ตรงกับคีย์เวิร์ดนั้น   ที่เหลือจะเป็นอะไรก็ได้   เช่นเราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับพี่เบิร์ด  ธงไชย  แมคอินไตย์   แต่ว่าเราสะกดนามสกุลของเขาไม่ถูก   ก็สามารถทำได้ดังนี้    Tongchai Mcin*

           5. ตัวเชื่อมที่นำมาใช้เมื่อใช้หลายคำในการค้นหา   เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่เจาะจงมายิ่งขึ้น

                       AND   ค้นหาเฉพาะเว็บเพจที่มีคำทั้งสองคำอยู่ด้วยกัน

                       OR     ค้นหาเว็บเพจที่มีคำใดคำหนึ่ง  หรือมีทั้งสองคำ

                       NOT   ค้นหาคำที่ไม่มีคำนี้อยู่



ที่มา : http://www.jd.in.th/e_learning/media/make_media_bynet/html/search_text.htm
guest profile guest

เทคนิคการหาข้อมูล

ตัวผมเองถ้าได้ยินหรือได้เห็นคำย่อของเทคโนโลยีใหม่ที่ไม่เคยได้ยินมาก่อน ไม่รู้ว่ามันคืออะไร เช่น Struts, SMPP, Cluster, OMA, FTP เป็นต้น ผมจะเริ่มต้นลองเอาคำศัพท์เหล่านี้ไปหา Definition คร่าวๆที่ http://www.whatis.com ก่อน ที่ whatis.com จะมี Definition คร่าวๆให้ทำความรู้จักกับคำศัพท์คำนั้น พร้อมทั้งมี URL ที่เป็นเนื้อหาเกี่ยวข้องกับ technology นั้นๆอยู่ ทำให้เราสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติ่มได้สะดวก

หลังจากได้ข้อมูลเบื้องต้นแล้ว ผมก็จะเริ่มเข้าไปที่ website ของแหล่งกำเนิดนั้นโดยตรง เช่น เรื่อง struts ก็ไปที่ apache.org, HTTP ก็ไปหาที่ w3c.org เป็นต้น โดยก็หา link ได้จากใน whatis.com ในหน้าผลลัพธ์ที่เรา search ได้นั่นแหละครับ แต่ถ้ามันไม่มีผมถึงจะลองหาที่ http://www.google.com อีกที

เมื่อได้ข้อมูลของเทคโนโลยีนั้นๆแล้ว หากต้องการศึกษาต่อหรือต้องการตัวอย่างเพิ่ม ผมก็จะเริ่มหาที่ google โดยพิมพ์คำศัพท์คำนั้นตามด้วย example หรือ tutor เช่น struts example หรือ struts tutor ดู ก็จะได้ website ที่เป็นแหล่งข้อมูลอีกจำนวนมหาศาล ซึ่งอันนี้ก็ต้องลองๆเข้าๆไปอ่านๆดู ซึ่งก็อาจจะตรงกับที่ต้องการบ้าง หรือไม่ตรงบ้าง

นอกจากนี้ถ้าผมต้องการ Reference หรือตัวอย่างพวกภาษาต่างๆที่เกี่ยวกับของ Microsoft ผมจะไปหาที่ http://msdn.microsoft.com ตรงหมวด Library ที่นั่นคุณจะได้ Reference และ ตัวอย่างขนาดมหาศาลเลยครับ

ส่วนถ้าเป็นเรื่องเกี่ยวกับ Java ผมจะลองหาที่ Java Doc ก่อน เพราะมันจะเจอคำตอบที่ต้องการได้ทันทีโดยไม่ต้องไป Search หา แต่หากต้องการตัวอย่างเพิ่มจึงจะค่อย Search ใน Google อีกที

วิธีสุดท้ายถ้าหาข้อมูลไม่ได้เลย หายังไงก็ไม่เจอ หรือว่าหาเจอแล้วแต่ไม่เข้าใจ ต้องการความเห็นจึงจะมา Post ที่ narisa นี่แหละครับ เพราะที่นี่มี VC ที่ทรงความรู้จำนวนมากที่ช่วยแนะนำและให้ความคิดเห็นกับเรื่องที่ Post ขึ้นมาได้เป็นอย่างดี

เทคนิคการหาข้อมูล ใน Google

Search Engine เป็นเครื่องมือที่ทรงคุณค่า แต่ในทางกลับกันก็สร้างโทษมหันต์ จากสถิติเท่าที่ผมได้ยินมาพบว่าเว็บไซต์ที่ค้นหาจาก Google มีเว็บไซต์ที่มีประโยชน์ไม่ถึง 20% ที่เหลือเป็นเว็บที่ไม่มีประโยชน์เท่านั้นยังไม่พอยังเป็นโทษด้วย เช่นเว็บเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจาร หรือเนื้อหาไม่เหมาะสมคาดว่ามีมากกว่า 20-40% ของเว็บทั้งหมด

ข้อควรจำเกี่ยวกับเว็บไซต์ Google

จงท่องไว้ว่า Google เป็นเว็บที่อันตรายมีหลายประเทศที่มีการบล็อกเว็บไซต์นี้
รายการที่อยู่ใน 10 ลำดับแรกถ้าไม่ใช่สุดฮิตจริงๆ ก็มีเป้าหมายในการตลาด
รายการที่อยู่หลังๆส่วนใหญ่จะมีเปอร์เซนต์ที่ซ่อนข้อมูลที่มีค่า และเว็บสุดแย่
รูปภาพทั้งหมดที่ปรากฎใน Google ให้คิดว่ามีลิขสิทธิ์นำไปใช้เพื่อสาธารณะไม่ควร ระวังติดคุก ยกเว้น แต่เจ้าของเว็บจะยินยอมให้ใช้
เราสามารถเลือกค้นหา ซึ่งเป็นจุดเด่นเว็บนี้ หารูป หรือเข้าในสารระบบ กลุ่มข่าวได้ด้วย

ดังนั้นเพื่อให้เราเข้าใจ และใช้เครื่องมือที่มีทั้งคุณและโทษนี้จึงมีคำแนะนำวิธีการใช้ดังนี้

ไม่ควรใช้เครื่อง Notebook หรือเครื่องประจำตัว
ถ้าจำเป็นต้องใช้แนะนำให้ติดตั้งเครื่องมือป้องกันเต็มพิกัด
Update Patch ใหม่สุด
มี Personal firewall
มี Antivirus ที่อัพเดต Signature ใหม่สุดๆ
AntiSpyware
มี IDS/IPS ประจำเครื่องยิ่งดี
ปิดบริการบนเครื่องที่ไม่จำเป็น โดยเฉพาะการใช้ NetBIOS สำหรับเครื่อง Windows และ NFS ในเครื่อง Unix
เมื่อ Browser ทำการขึ้นข้อความใดๆให้เราเลือก No ไว้ก่อน ถ้าอ่านแล้วงงๆ
เมื่อเข้าลิงค์จากรายการที่ค้นหาแล้ว ต้องลงทะเบียนชื่อแนะนำให้ใช้ข้อมูลที่ได้รับผลกระทบน้อยที่สุด เช่นเบอร์โทรศัพท์, Free E-mail เนื่องจากผลของเว็บที่ค้นหาเหล่านี้ส่วนใหญ่เกิน 20% ที่พบมีวัตถุประสงค์ร้าย
ชื่อที่ต้องสงสัยในรายการที่ค้นหาพบ เช่นเป็นหมายเลข IP address หรือไม่มีแหล่งข้อมูลยืนยันว่าปลอดภัย ให้ใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ

วิธีการสืบค้นข้อมูลบน Google

การระบุชื่อองค์กรที่ต้องการค้นหาโดยตรงเช่น Itcompanion เป็นต้น
การค้นหา e-mail ขององค์กรด้วยส่วนใหญ่ Spammer จะใช้กับเพื่อค้นหา E-mail เช่น @itcompanion.co.th
การระบุ E-mail เพื่อค้นหาประวัติของบุคคลนั้นกับการใช้เว็บ
ถ้าต้องการข้อมูลพิเศษให้ดูวิธีการค้นหาตารางด้านล่าง
คำที่ช่วยในการหาข้อมูล

คีย์ที่ใช้
สิ่งที่จะได้

คำที่ต้องการค้นหา
แน่นอนไม่ต้องบอกก็รู้อยู่แล้ว

Top ten, Top hits + คำที่ต้องการ
จะได้เครื่องมือ สถิติ หรือข้อมูลที่อยู่ในกระแส รวมถึงแหล่งข้อมูล

Free download + ชื่อซอฟต์แวร์
จะได้ซอฟต์แวร์ที่ต้องการ หลายครั้งจะแถม Spyware ด้วยระวัง

ระบบปฏิบัติการ + สิ่งที่ต้องการค้นหา
จะได้เครื่องมือต่างๆที่ใช้กับระบบปฏิบัติการที่เราเลือก

Thai + หัวข้อที่ต้องการ
เราจะได้ข้อมูลเกี่ยวกับไทยๆ

ใช้คำใน Top Web site
เช่นเราไปที่ www.download.com และไปดูเครื่องมือ หรือสิ่งที่ต้องการแล้วนำมาค้นหา

ชื่อบุคคล
เราจะพบเกียรติประวัติ ความดัง และข้อมูลส่วนตัวของบุคคลนั้นๆ เช่น ชื่อ Hacker ที่โปรดปราน หรือ Winnie the pooh เป็นต้น

ระบุ Signature ต่างของ Antivirus
เช่น SDAT5000 เป็นการหา Signature ของ Mcafee เป็นต้น

Trend, Statistic, Penetration + คำที่ต้องการ
เป็นการหาข้อมูลเพื่อดูการแนวโน้ม หรือเอกสารในการอ้างอิง หรือบรรยาย

Security + คำที่ต้องการ
ดูข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัย

Software, Tools+ คำที่ต้องการ
เป็นการค้นหาเครื่องมือ

Competition+ คำที่ต้องการ
ดูเว็บเกี่ยวกับคู่แข่ง

Ranking+คำที่ต้องการ
ดูข้อมูลของซอฟต์แวร์นี้

Event
ดูเกี่ยวกับเหตุการณ์ในหัวข้อที่ค้นหาฃ

 

 

การค้นหาข้อมู(searching)

 

        การค้นหาคําตอบ หรือการค้นหาข้อมูลในทางคอมพิวเตอร์มักจะกระทําบนโครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้ และกราฟ ทั้งนี้เพราะโครงสร้างข้อมูลในลักษณะนี้สามารถทําให้การค้นหาทําได้สะดวกและสามารถพลิกแพลงการค้นหาได้ง่าย ในความเป็นจริงแล้ว การค้นหาข้อมูลบางครั้งสามารถกระทําบนโครงสร้างข้อมูลชนิดอื่นก็ได้เช่น อาเรย์ แสตก และคิว แต่การจัดข้อมูลในโครงสร้างเช่นนี้ มีข้อจํากัดในการค้นหาข้อมูลมาก การค้นหาทําได้แบบเรียงลําดับ(Sequencial Search) เท่านั้น ซึ่งใช้ได้กับข้อมูลที่มีขนาดเล็ก ดังนั้นในการค้นหาข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ ก่อนการค้นหา หรือระหว่างการค้นหา ข้อมูลที่จะถูกค้นจะต้องถูกจัดให้อยู่ในรูปแบบของต้นไม้ หรือกราฟเท่านั้น การค้นหาข้อมูลบนโครงสร้างต้นไม้และกราฟสามารถจํ าแนกได้ 2 แบบคือ การค้นหาแบบไบล์ด(Blind Search) และการค้นหาแบบฮิวริสติก(Heuristic Search)

 

การค้นหาแบบไบล์ด(Blind Search)

 

     การค้นหาแบบไบล์ด(Blind search) เป็นการค้นหาแบบที่เดินทางจากโหนดหนึ่งไปยังอีกโหนดหนึ่ง โดยอาศัยทิศทางเป็นตัวกําหนดการค้นหา ไม่ต้องมีข้อมูลอะไรมาช่วยเสริมการตัดสินใจว่าจะเดินทางต่อไปอย่างไร หรือกล่าวอย่างง่าย ๆ คือการจะหยิบข้อมูลใดมาช่วยในการค้นหาต่อไป ไม่ต้องอาศัยข้อมูลใด ๆ ทั้งสิ้น นอกจากทิศทางซึ่งเป็นรูปแบบตายตัว   การค้นหาแบบไบล์ดสามารถแบ่งย่อยได้ดังนี้ คือ การค้นหาทั้หมด  และการค้นหาบางส่วน

     -  การค้นหาทั้งหมด(exhaustive search) คือ การค้นหาทั้งหมดของปริภูมิสถานะ

     -  การค้นหาบางส่วน  (partial search)  การค้นหาเพียงบางส่วนของปริภูมิสถานะ ซึ่งในความเป็นจริงการค้นหาส่วนมากใช้การค้นหาเฉพาะบางส่วนเท่านั้นเนื่องจากปริภูมิสถานะมักมีขนาดใหญ่ เท่าให้ไม่สามารถค้นหาได้ทั้งหมด ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ว่าคำตอบที่ได้อาจไม่ใช่คำตอบที่ดีที่สุด การค้นหาแบบนี้สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ การค้นหาแบบลึกก่อน(Depth first search) และการค้นหาแบบกว้างก่อน (Breadth first search)

 

การค้นหาแบบฮิวริสติก(Heuristic Search)

 

         การค้นหาคําตอบอาศัยวิธีการทางฮิวริสติก (heuristic search) มีความความแตกต่างจากการค้นหาข้อมูลแบบธรรมดาและแบบฮิวริสติกนั้นอยู่ที่การค้นหาข้อมูลธรรมดา ผู้ที่ทําการค้นข้อมูลจะต้องตรวจสอบข้อมูลทีละตัวทุกตัวจนครบ แต่ฮิวริสติกจะไม่ลงไปดู ข้อมูลทุกตัว วิธีการนี้จะเลือกได้คําตอบที่เหมาะสมให้กับการค้นหา ซึ่งมีข้อดีคือ สามารถทําการ ค้นหาคําตอบจาก ข้อมูลที่มีขนาดใหญ่มาก ๆ ได้ แต่มีข้อเสียคือคําตอบที่ได้เป็นเพียงคําตอบที่ดี เท่านั้นไม่แน่ว่าจะดีที่สุด แต่เนื่องจากว่าปัญหาในบางลักษณะนั้นใหญ่มาก และเป็นไปไม่ได้ที่จะทํา การค้นหาด้วยวิธี ธรรมดากระบวนการของฮิวริสติกจึงเป็นสิ่งที่จําเป็นในเรื่องของฮิวริสติกนั้น นอกจากจะมีการค้นหาแบบฮิวริสติกแล้ว ยังมีอีกสิ่งหนึ่งที่สําคัญคือ  ฮิวริสติกฟังก์ชัน (heuristic function) ซึ่งหมายถึงฟังก์ชันที่ทําหน้าที่ในการวัดขนาดของความเป็น ไปได้ในการแก้ปัญหาซึ่งจะแสดงด้วยตัวเลข   วิธีการดังกล่าวจะกระทํ าได้โดยการพิจารณาถึงวิธีการ (aspects) ต่าง ๆ ที่ใช้ในการแก้ปัญหา ณ  สถานะหนึ่งว่าจะสามารถแก้ปัญหาได้ตามที่ต้องการหรือไม่ โดยกําหนดเป็นนํ้าหนักที่ให้กับการแก้ปัญหาของแต่ละวิธี นํ้าหนักเหล่านี้จะถูกแสดงด้วยตัวเลขที่กํากับไว้กับโหนดต่าง ๆ ในกระบวนการ ค้นหา และค่าเหล่านี้จะเป็นตัวที่ใช้ในการประมาณความเป็นไปได้ว่าเส้นทางที่ผ่านโหนดนั้นจะมี ความเป็นไปได้ในการนําไปสู่หนทางการแก้ปัญหาได้มากน้อยแค่ไหนจุดประสงค์ที่แท้จริงของฮิวริสติก ฟังก์ชันก็คือ การกํากับทิศทางของกระบวนการค้นหา เพื่อให้อยู่ในทิศทางที่ได้ประโยชน์สูงสุด โดยการบอกว่าเราควรเลือกเดินเส้นทางไหนก่อน ในกรณีที่มีเส้น ทางมากกว่าหนึ่งเส้นทางต้องเลือกกระบวนการค้นหาแบบฮิวริสติก โดยปกติแล้วจะต้องอาศัยฮิวริสติกฟังก์ชัน ทําให้การแก้ปัญหาหนึ่ง ๆ จะดีหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับฮิวริสติกฟังก์ชันดังนั้นการค้นหาแบบนี้จึงไม่มีอะไรเป็นหลักประกันว่าจะได้สิ่งที่ไม่ดีออกมาด้วยเหตุนี้เอง เราจึงเรียกการ ค้นหาแบบฮิวริสติกนี้ว่า Weak Methods หรือจะกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ Weak Methods เป็นกระบวนการควบคุมโดยทั่วไป (general-purpose control stategies)     ซึ่งการค้นหาแบบนี้ สามารถแบ่งได้เป็น

                  

การค้นหาแบบปีนเขา(Hill climbing)

    ฟังก์ชันฮิวริสติกสามารถนำมาช่วยในกระบวนการค้นหาเพื่อให้ได้คำตอบอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ วิธีการที่จะนำฟังก์ชันฮิวริสติกมาใช้มีหลายวิธีด้วยกันขึ้นอยู่กับว่าจะใช้ในลักษณะใด เช่นเลือกสถานะที่มีค่าฮิวริสติกดีขึ้น แล้วเดินไปยังสถานะนั้นเลยโดยไม่ต้องสนใจสถานะที่มีค่าฮิวริสติกแย่กว่าสถานะปัจจุบันหรือว่าจะเก็บสถานะทุกตัวไว้แม้ว่าค่าฮิวริสติกจะแย่ลงแล้วพิจารณาสถานะเหล่านี้ทีหลัง เป็นต้น ในส่วนต่อไปนี้จะกล่าวถึงอัลกอริทึมต่าง ๆ ที่นำฟังก์ชันฮิวริสติกมาช่วยในการค้นหาคำตอบ โดยเริ่มจากอัลกอริทึมปีนเข้า (Hill climbing algorithm)

    การค้นหาแบบฮิลไคลบิง(Hill climbing) เป็นวิธีการค้นหาข้อมูลที่มีลักษณะคล้ายกับการปีนภูเขา การที่นักปีนภูเขาจะเดินทางไปถึงยอดภูเขา นักปีนเขาจะต้องมองก่อนว่ายอดเขาอยู่ที่ใด แล้วนักปีนเขาจะต้องพยายามไปจุดนั้นให้ได้ ลองนึกภาพของการปีนภูเขาโล้นที่มองเห็นแต่ยอด และนักปีเขากําลังปีนภูเขาอยู่เบื้องล่างที่มีเส้นทางเต็มไปหมด เพื่อที่จะเดินทางไปถึงยอดภูเขาโดยเร็วที่สุด นักปีน

เขาจะมองไปที่ยอดเขาแล้วสังเกตว่าทิศทางใดที่เมื่อปีนแล้วจะยิ่งใกล้ยอดเขา และหลีกเลี่ยงทิศทางที่เมื่อไปแล้วจะทําให้ตัวเองห่างจากยอดเขา นักปีนเขาจะต้องทําเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งถึงยอดเขา

 

 

 

 

การค้นหาดีสุดก่อน(Best-first search)

      เป็นกระบวนการค้นหาข้อมูลที่ได้นําเอาข้อดีของทั้งการค้นหาแบบลึกก่อน(Depth firstsearch) และการค้นหาแบบกว้างก่อน(Breadth first search) มารวมกันเป็นวิธีการเดียว โดยที่แต่ละขั้นของการค้นหาในโหนดลูกนั้น การค้นหาแบบดีที่ดีก่อนจะเลือกเอา โหนดที่ดีที่สุด (most promising)และการที่จะทราบว่าโหนดใดดีที่สุดนี้สามารถทําได้โดยอาศัยฮิวริสติกฟังก์ชัน ซึ่งฮิวริสติก ฟังก์ชันนี้จะทําหน้าที่เหมือนตัววัดผล และให้ผลของการวัดนี้ออกมาเป็นคะแนน รูปที่ 2.7 เป็นตัวอย่างของการค้นหาแบบดีที่สุดก่อน ขั้นตอนนี้เริ่มจากตอน 1 สร้างโหนดราก(root node) ในขั้นตอน 2 สร้างโหนดลูกB และ C แล้วตรวจสอบโหนด B และ C ด้วยฮิวริสติกฟังก์ชัน ได้ผลออกมาเป็นคะแนนคือ 3 และ 1ตามลํ าดับ จากนั้นให้เลือกโหนด C เป็นโหนดต่อไปที่เราสนใจ เพราะมีค่าน้อยกว่า (หมายเหตุ ในการเลือกนี้จะเลือกค่ามากสุด หรือน้อยสุดก็ได้ ขึ้นอยู่กับลักษณะของปัญหา) แล้วสร้างโหนด ลูกให้กับโหนด C ในขั้นตอน 3 ได้โหนด D และ E แล้วตรวจสอบคะแนนได้ 4 และ 6 ตามลํ าดับ จากนั้นทํ าการเปรียบเทียบค่าของโหนดท้ายสุด หรือเทอร์มินอล โหนด(terminal node) ทุกโหนด ว่าโหนด ใดมีค่าดีที่สุด ในที่นี้จะต้องเลือกโหนด B เพราะมีคะแนนเพียง 3 (เลือกคะแนนตํ่าสุด) แล้วสร้างโหนด ลูกตามขั้นตอน 4 ได้ F และ G แล้วตรวจ สอบคะแนนได้ 6 และ 5 คะแนนตามลํ าดับ ทําเช่นนี้เรื่อย ๆ จนพบคําตอบหรือจนไม่สามารถ สร้างโหนดต่อไปได้อีก

อัลกอริธึม: การค้นหาแบบดีที่สุดก่อน

1. เริ่มด้วย OPEN ที่มีเพียงโหนดเริ่มต้น

2. ทําจนกว่าจะพบเป้าหมาย หรือว่าไม่มีโหนดเหลืออยู่ใน OPEN

      เลือกโหนดที่ดีที่สุดใน OPEN

      สร้างโหนดลูกให้กับโหนดที่ดีที่สุดนั้น

      สําหรับโหนดลูกแต่ละตัวให้ทําดังต่อไปนี้

          i) ถ้าโหนดนั้นยังไม่เคยถูกสร้างมาก่อนหน้านั้น ให้ตรวจสอบค่าของมันโดย

                    ใช้ฮิวริสติกฟังชัน แล้วเพิ่มเข้าไปใน OPEN แล้วบันทึกว่าเป็นโหนดแม่

         ii) ถ้าโหนดนั้นถูกสร้างมาก่อนหน้านี้แล้ว ให้เปลี่ยนโหนดแม่ของมัน ถ้าเส้น

                   ทางใหม่ที่ได้ดีกว่าโหนดแม่ตัวเดิม ในกรณีนี้ ให้ปรับเปลี่ยนค่าตามเส้น

                   ทางที่อาจจะเกิดขึ้น

 

 

การค้นหาแบบ Greedy (Greedy Algorithm)

    กรีดีอัลกอริธึม เป็นการค้นหาแบบดีที่สุดก่อน(Best first search) ที่ง่ายที่สุด หลักการของการค้นหาแบบนี้คือ การเลือกโหนดที่ดีที่สุดตลอดเวลาอัลกอริธึม กรีดี

1. เลือกโหนดเริ่มต้นมาหนึ่งโหนด

2. ให้โหนดที่เลือกมานี้เป็นสถานะปัจจุบัน

3. ให้ทําตามขบวนการข้างล่างนี้จนกว่าจะไม่สามารถสร้างโหนดลูกได้อีก

      3.1 สร้างสถานะใหม่ที่เป็นโหนดลูกที่เป็นไปได้ทั้งหมดจากสถานะปัจจุบัน

      3.2 จากสถานะใหม่ที่สร้างขึ้นมาทั้งหมด ให้เลือกสถานะ หรือ โหนดลูก ที่ดีที่สุดออกมาเพียงโหนดเดียว

4. กลับไปที่ขึ้นตอนที่ 2

 

การค้นหาแบบ A*

       การค้นหาแบบ A* เป็นอีกแบบของการค้นหาแบบดีที่สุดก่อน วิธีการเลือกโหนดที่จะใช้ในการดําเนินการต่อจะพิจารณาจากโหนดที่ดีที่สุด แต่ในกรณีของ A* นี้จะมีลักษณะพิเศษกว่าคือ ในส่วนของฮิวริสติกฟังก์ชัน ในกรณีของการค้นหาแบบดีที่สุดก่อนนั้น ค่าที่ได้จากฮิวริสติก ฟังก์ชัน จะเป็นค่าที่วัดจาก โหนดปัจจุบัน แต่ในกรณีของ A* ค่าของฮิวริสติก ฟังก์ชัน จะวัดจากค่า 2 ค่าคือ ค่าที่วัดจากโหนดปัจจุบันไปยังโหนดราก และจากโหนดปัจจุบันไปยังโหนดเป้าหมาย ถ้าเราให้ตัวแปร f แทนค่าของฮิวริสติก ฟังก์ชัน g เป็นฟังก์ชันที่ใช้วัดค่า cost จากสถานะเริ่มต้นจนถึงสถานะปัจจุบัน h' เป็นฟังก์ชันที่ใช้วัดค่า cost จากสถานะปัจจุบันถึงสถานะเป้าหมาย ดังนั้น

 

 

    f = g + h’

 

 

 

      อัลกอริทึม A* (A* Search)  เป็นการขยายอัลกอริทึมดีสุดก่อนโดยพิจารณาเพิ่มเติมถึงต้นทุนจากสถานะเริ่มต้นมายังสถานะปัจจุบันเพื่อใช้คำนวณค่าฮิวริสติกด้วย ในกรณีของอัลกอริทึม A* เราต้องการหาค่าต่ำสุดของฟังก์ชัน  f' ของสถานะ s นิยามดังนี้

                                   f'(s)=g(s)+h'(s)

โดยที่ g คือฟังก์ชันที่คำนวณต้นทุนจากสถานะเริ่มต้นมายังสถานะปัจจุบัน h' คือฟังก์ชันที่ประมาณต้นทุนจากสถานะปัจจุบันไปยังคำตอบ ดังนั้น f' จึงเป็นฟังก์ชันที่ประมาณต้นทุนจากสถานะเริ่มต้นไปยังคำตอบ (ยิ่งน้อยยิ่งดี) เรามองได้ว่าฟังก์ชัน h' คือฟังก์ชันฮิวริสติกที่เราเคยใช้ในการค้นหาอื่น ๆ ก่อนหน้านี้เช่นอัลกอริทึมปีนเขา อัลกอริทึมดีสุดก่อน เป็นต้น ในที่นี้เราใส่เครื่องหมาย ' เพื่อแสดงว่าฟังก์ชันนี้เป็นฟังก์ชันประมาณของฟังก์ชันจริงที่ไม่รู้ (เราทำได้แค่ประมาณว่า h' คือต้นทุนจากสถานะปัจจุบันไปยังคำตอบ เราจะรู้ต้นทุนจริงก็ต่อเมื่อเราได้ทำการค้นหาจริงจนไปถึงคำตอบแล้ว)  ส่วน g เป็นฟังก์ชันที่คำนวณต้นทุนจริงจากสถานะเริ่มต้นมายังสถานะปัจจุบัน (จึงไม่ได้ใส่เครื่องหมาย ' ) เพราะเราสามารถหาต้นทุนจริงได้เนื่องจากได้ค้นหาจากสถานะเริ่มต้นจนมาถึงสถานะปัจจุบันแล้ว ส่วน f' ก็เป็นเพียงแค่ฟังก์ชันประมาณโดยการรวมต้นทุนทั้งสอง คือ h'  กับ  g

    อัลกอริทึม A* จะทำการค้นหาโดยวิธีเดียวกันกับอัลกอริทึมดีสุดก่อนทุกประการ ยกเว้น ฟังก์ชันฮิวริสติกที่ใช้เปลี่ยนมาเป็น f' (ต่างจากอัลกอริทึมดีสุดก่อนที่ใช้  h') โดยการใช้  f' อัลกอริทึม A* จึงให้ความสำคัญกับสถานะหนึ่ง ๆ 2 ประการ คือ (1) สถานะที่ดีต้องมี  h' ดีคือต้นทุนเพื่อจะนำไปสู่คำตอบหลังจากนี้ต้องน้อย และ (2) ต้นทุนที่จ่ายไปแล้วกว่าจะถึงสถานะนี้ (g) ต้องน้อยด้วย เราจึงได้ว่า A* จะค้นหาเส้นทางที่ให้ต้นทุนโดยรวมน้อยที่สุดตามค่า  f' ซึ่งต่างจากอัลกอริทึมดีสุดก่อน ที่เน้นความสำคัญของสถานะที่ต้นทุนหลังจากนี้ที่จะนำไปสู่คำตอบต้องน้อย โดยไม่สนใจว่าต้นทุนที่จ่ายไปแล้วกว่าจะนำมาถึงสถานะนี้ต้องเสียไปเท่าไหร่


ที่มา
http://krunuch.board.ob.tc/-View.php?N=43
http://www.narisa.com/forums/index.php?showtopic=5295
http://202.28.94.55/web/320417/2548/work1/g25/technoreport1.htm

ที่มา
guest profile guest
1.เทคนิคการค้นหาข้อมูล
เมื่อเราต้องการค้นหาข้อมูลบางอย่างในอินเทอร์เน็ตนั้น เราจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องบอกหรือระบุความต้องการที่จะค้นหาข้อมูลได้ถูกต้อง  ไม่เช่นนั้นแล้วผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นหาอาจจะมีมากมาย หรือไม่ตรงกับความต้องการของเรา ดังนั้น ในการค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ตนั้นจะต้องกำหนดคำถามที่ชัดเจน  ตลอดจนใช้เทคนิคต่าง  ๆ   เข้ามาช่วย เพื่อให้ผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นหาตรงกับความต้องการมากที่สุด เทคนิคและวิธีการที่ช่วยให้การค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตประสบความสำเร็จ ได้แก่  

1. ตั้งประเด็นให้แคบลง เนื่องจากจำนวนข้อมูลที่มีมากมายในอินเทอร์เน็ตทำให้การค้นหาได้ ผลลัพธ์เป็นจำนวนมาก ดังนั้น เราควรเริ่มทำการค้นหาทั่ว ๆ ไปก่อน เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการต่อจากนั้นจึงค่อยระบุหรือใส่ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการลงไป เพื่อตั้งประเด็นให้ครอบคลุมมากขึ้น ซึ่งจะทำให้เราได้ข้อมูลที่ตรงความต้องการมากที่สุด
 
2. ใช้สิ่งที่เรียกว่าออปชั่น (Option ) เป็นตัวช่วยในการค้นหาข้อมูล ซึ่งเว็บไซต์ที่เป็นSearch Engines ส่วนใหญ่จะมีให้อยู่
แล้ว
3. อย่าค้นหาคำที่เราต้องการเท่านั้น ควรจะค้นหาคำที่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันด้วย

4. หลีกเลี่ยงการค้นหาคำที่เป็นคำเดี่ยว ๆ หรือมีตัวเลขปนอยู่ เช่น NT หรือ 3D แต่ถ้าต้องการค้นหาจริง ๆ จะต้องใส่เครื่องหมายคำพูดลงไปด้วย ( “ ” )
5. พวกกลุ่มคำ หรือวลี ก็ต้องใส่เครื่องหมายคำพูดลงไปเช่นเดียวกัน 
6. หลีกเลี่ยงคำจำพวก Natural Language ( ภาษาพูด )
7. ควรใช้สิ่งที่เรียกว่า Advanced Search หรือ Power Search เข้ามาช่วย เพราะจะ ทำให้ได้ผลลัพธ์ที่ตรงกับความต้องการของเรามากกว่าการค้นหาแบบธรรมดา การสืบค้นแบบขั้นสูง(Advanced search) เป็นการสืบค้นโดยใช้คำสำคัญเป็นคำค้นทำให้การสืบค้นสารสนเทศมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว คือ 
7.1 ระบุคำค้นให้ตรงกับสารสนเทศที่ต้องการให้มากที่สุด
7.2 การค้นหาสารสนเทศ บางครั้งคำค้นอาจมีรูปคำแตกต่างกัน แต่มี รากศัพท์เดียวกัน เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ครบถ้วนจึงใช้การตัดปลายคำเพื่อรวบรวมคำที่มีการสะกดใกล้เคียงกันเหมือนกัน หรือคำพหูพจน์และเอกพจน์ โดยใช้สัญลักษณ์แทนการสืบค้นเช่น  *   ,   ?   ,   $    เป็นต้น   เช่น  Prevent * หมายถึง ให้สืบค้นคำที่มีคำว่า prevent นำหน้าส่วนตัวหลังจะเป็นอะไรก็ได้

ตัวอย่าง

Prevent prevents prevented preventing prevention …….
7.3  การใช้ตรรกะแบบบูลีน ( Boolean logic ) คือ การใช้ตัวเชื่อม  AND, OR,NOT,  NEAR,  AND NOT   เชื่อมคำหรือวลี  เพื่อให้สามารถสืบค้นสารสนเทศได้ตามความต้องการของผู้ใช้มากขึ้น เช่น

AND ใช้เชื่อมคำค้นเมื่อต้องการให้สืบค้นรายการที่มีคำทั้งสองคำ ผลการค้นจะได้สารสนเทศจำนวนน้อยลง

OR ใช้เชื่อมคำค้น ระหว่างคำที่พ้องความหมายกัน หรือความหมายใกล้เคียงกัน ผลการค้นจะได้สารสนเทศจำนวนมากขึ้น

NOT ใช้เชื่อมคำค้นเมื่อต้องการให้สืบค้นรายการที่มีเฉพาะคำแรกไม่มีคำที่สอง ผลการค้นจะได้สารสนเทศเฉพาะเรื่องแรก ไม่มีเรื่องที่สอง (เสาวคนธ์ คงสุข, 2544 :  215 – 216)

NEAR  หมายถึง มีคำนั้นอยู่ใกล้คำที่ต้องการค้น ห่างจากกันไม่เกิน  10  คำในประโยคเดียวกัน

วิธีที่หนึ่ง  พิมพ์คำเหล่านี้ ใน Google Search
(1) "parent directory " /appz/ -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(2) "parent directory " DVDRip -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(3) "parent directory "Xvid -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(4) "parent directory " Gamez -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(5) "parent directory " MP3 -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(6) "parent directory " Name of Singer or album -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

*** หมายเหตุ ให้คุณเปลี่ยน คำที่ตามหลัง parent directory เช่น MP3 Gamez appz DVDRip
เป็นสิ่งที่คุณอยากได้ แล้วก้อค้นหา คุณจะพบกับ ความมหัศจรรย์ใน Google

วิธีที่สอง พิมพ์คำต่อไปนี้ใน Google
?intitle:index.of? mp3
จากนั้นแค่เพิ่มชื่อ เพลง อัลบั้ม นักร้อง ลงไป เช่น ?intitle:index.of? mp3 myfavoritesongs

วิธีที่สาม พิมพ์คำต่อไปนี้ใน Google
inurl:micr0s0f filetype:iso
จากนั้น ก้อเปลี่ยน คำว่า micr0s0f กับคำว่า iso เป็นคำที่คุณต้องการ
เช่น inurl:myc0mpany filetype:zip

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
แหล่งอ้างอิง : http://www.projectw.org/viewtopic.php?t=1484

01. ไปที่ www.google.com

02. ในช่องใส่ข้อความให้ใส่แบบตัวอย่าง เช่น หาโปรแกรม Winamp
"parent directory " Winamp -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

03. กดปุ่มค้นหาแล้วรอเลือกผลลัพธ์ได้เลย
- - - - - - - - - - - - -
parent directory " /ชื่อโปรแกรม/ -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

"parent directory " ชื่อเกมส์ -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

"parent directory " ชื่อMP3 -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

"parent directory " ชื่อนักร้องหรืออัลบั้ม -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

แล้วแต่หัวดัดเปลงนะ มันมีอีกแยะเชียว เช่น

"Index of " /ชื่อโปรแกรม/ -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

"Index of " ชื่อเกมส์ -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

"Index of " ชื่อMP3 -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

"Index of " ชื่อนักร้องหรืออัลบั้ม -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

ก็ให้ผลการค้นหาไม่เหมือนกัน ลองศึกษากันไปเองแล้วจะมันมากกับการค้นหา

แถมท้ายครับ..

ฝ่าโลกข้อมูลกับ Google
http://www.justusers.net/articles/internet/google/google.htm

รอบรู้ google มาดูกัน ค้นอย่างไร google ให้ได้ผลตามต้องการ
http://members.lycos.co.uk/physicsdic/modules.php?name=News&file=article&sid=9

Google Help Basics of Search
http://www.google.co.th/intl/th/help/basics.html

Google Help Advanced Search
http://www.google.co.th/intl/th/help/refinesearch.html

ยังมีรายละเอียดอื่นๆอีกครับ สามารถเข้าไปหาข้อมูลได้ที่..
http://www.google.co.th/intl/th/help/index.html

เข้ามาเพิ่มเติมอีกหน่อยครับ.. เป็น Operators ต่างๆที่สามารถนำมาใช้ควบคู่กับคำที่ต้องการค้นหาได้.. link ข้างบนก็พอจะมีบอกไว้บ้างแล้ว แต่อันนี้เป็น link ที่ Google โดยตรง..

Topic: Google Help : Cheat Sheet
link: http://www.google.co.th/intl/th/help/cheatsheet.html

Topic: Advanced Operators
link: http://www.google.co.th/intl/th/help/operators.html

1. ใช้เครื่องมือแปลเว็บเพ็จให้เป็นประโยชน์
นอกจากภาษาอังกฤษแล้วที่เราท่านอาจจะอ่านออกบ้าง ไม่ออกบ้างเช่นผม เป็นต้น ถ้าไปเจอภาษาอื่น ๆ
โดยเฉพาะเว็บแคร็กที่เราคุ้นเคยกันดีอยู่แล้ว ควรจะใช้เครื่องมือแปลภาษาบ้าง จะได้รู้ว่ามันคืออะไร เช่น
http://babelfish.altavista.com/ หรือ http://world.altavista.com/ ซึ่งถ้าใครใช้ MyIE2 อยู่แล้วมันก็มีอยู่ในโปรแกรมแล้ว ตรงลูกครสีเขียวเล็ก ๆ (ปุ่ม Go) ข้าง ๆ จะมีลูกศรอันจิ๋วนั่นแหละครับคลิกเลยครับ
2. ใช้ Directories
เจ้านี่จะเป็นตัวช่วยกำจัดข้อมูลที่เราต้องการหาให้เหลือน้อยลงได้เป็นการประหยัดเวลา โดยการหาเฉพาะเรื่องที่เราต้องการเท่านั้น เพราะจัดเรียงตามหัวข้อ
http://directory.google.com/
3. ใช้ ?advanced tips?
อันนี้ก้วยเจ๋งบวกอึ้งย้งเลย บางอันผมยังไม่เคยทราบ โปรดทราบว่า x ใช้แทนอักษรหรือคำที่เราต้องการหาครับ

A. "xxxx" ถ้าเราต้องการหาคำเฉพาะเจาะจง ให้พิมพ์ใส่ในเครื่องหมายฟันหนู อย่าลืมว่า google ไม่ใช่ case sensitive หมายถึงว่า เมื่อเราพิมพ์คำว่า Thailand โดยไม่ได้ใส่เครื่องหมาย มันก็จะหาข้อมูลที่มีคำว่าไทยแลนด์มาให้ดูเป็นกระตั้ก

B. -x / ถ้าใส่เครื่องหมายลบอยู่ข้างหน้าตามด้วย / คำที่อยู่ระหว่าง 2 เครื่องหมายนี้จะไม่ถูกค้นหา

C. filetype:xxx / เป็นการหา file extension โดยเฉพาะครับ (exe, mp3, etc)

D. -filetype:xxx / พอใส่เครื่องหมายลบเพิ่มเป็นการบอกว่าไม่ต้องค้นนะ ไฟล์สกุลนี้

E. allinurl:x / เป็นการหา URL ที่เราต้องการ อ่านว่า ออลอินยูอาร์แอล:คำที่ต้องการหา

F. allintext:x / หาคำที่ต้องการในหน้าเว็บ

G. allintitle:x / หา html title ในหน้าเว็บนั้น

H. allinanchor:x / หาคำที่ต้องการในลิงค์ที่โชว์อยู่

I. OR นั่นก็คือหรือนั่นเอง หมายถึงให้หาคำนี้หรือคำนั้น

J. ~X ให้หาคำที่เหมือนกันหรือคล้ายคลึงกัน ในกรณีที่เราคิดอะไรไม่ออกอ่ะครับ
4. ใช้จุดกับตัวเลข
สมมุตินะครับสมมุติว่าผมเป็นเด็ก (ทำไมกลายเป็นน้องพลับไปได้หว่า?) เอาใหม่ เช่นถ้าเราต้องการหาเครื่องเล่น MP3 ราคาอยู่ในราวไม่เกิน $90 เราก็พิมพ์ว่า mp3 player $0..$90 มันก็จะหาให้เราเฉพาะราคาระหว่าง 0~90 เหรียญเท่านั้น เพราะเราใส่จุดไป 2 ตัวนั่นเอง ทิปนี้ใช้กับตัวเลขอื่น ๆ เช่นวันที่ น้ำหนัก ฯลฯ ได้ด้วยครับ

-------------------

5. ใส่เครื่องหมายบวก +
เคยพิมพ์คำที่เราต้องการหาแล้วเจอข้อความนี้ไหมครับ
"The following words are very common and were not included in your search:"
เราสามารถใส่ + หน้าคำที่เราต้องการถึงแม้มันจะเป็นคำธรรมดาเป็นการบังคับกูลเกิลหาให้เราครับ

guest profile guest
1.เทคนิคการค้นหาข้อมูล
เมื่อเราต้องการค้นหาข้อมูลบางอย่างในอินเทอร์เน็ตนั้น เราจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องบอกหรือระบุความต้องการที่จะค้นหาข้อมูลได้ถูกต้อง  ไม่เช่นนั้นแล้วผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นหาอาจจะมีมากมาย หรือไม่ตรงกับความต้องการของเรา ดังนั้น ในการค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ตนั้นจะต้องกำหนดคำถามที่ชัดเจน  ตลอดจนใช้เทคนิคต่าง  ๆ   เข้ามาช่วย เพื่อให้ผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นหาตรงกับความต้องการมากที่สุด เทคนิคและวิธีการที่ช่วยให้การค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตประสบความสำเร็จ ได้แก่  

1. ตั้งประเด็นให้แคบลง เนื่องจากจำนวนข้อมูลที่มีมากมายในอินเทอร์เน็ตทำให้การค้นหาได้ ผลลัพธ์เป็นจำนวนมาก ดังนั้น เราควรเริ่มทำการค้นหาทั่ว ๆ ไปก่อน เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการต่อจากนั้นจึงค่อยระบุหรือใส่ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการลงไป เพื่อตั้งประเด็นให้ครอบคลุมมากขึ้น ซึ่งจะทำให้เราได้ข้อมูลที่ตรงความต้องการมากที่สุด
 
2. ใช้สิ่งที่เรียกว่าออปชั่น (Option ) เป็นตัวช่วยในการค้นหาข้อมูล ซึ่งเว็บไซต์ที่เป็นSearch Engines ส่วนใหญ่จะมีให้อยู่
แล้ว
3. อย่าค้นหาคำที่เราต้องการเท่านั้น ควรจะค้นหาคำที่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันด้วย

4. หลีกเลี่ยงการค้นหาคำที่เป็นคำเดี่ยว ๆ หรือมีตัวเลขปนอยู่ เช่น NT หรือ 3D แต่ถ้าต้องการค้นหาจริง ๆ จะต้องใส่เครื่องหมายคำพูดลงไปด้วย ( “ ” )
5. พวกกลุ่มคำ หรือวลี ก็ต้องใส่เครื่องหมายคำพูดลงไปเช่นเดียวกัน 
6. หลีกเลี่ยงคำจำพวก Natural Language ( ภาษาพูด )
7. ควรใช้สิ่งที่เรียกว่า Advanced Search หรือ Power Search เข้ามาช่วย เพราะจะ ทำให้ได้ผลลัพธ์ที่ตรงกับความต้องการของเรามากกว่าการค้นหาแบบธรรมดา การสืบค้นแบบขั้นสูง(Advanced search) เป็นการสืบค้นโดยใช้คำสำคัญเป็นคำค้นทำให้การสืบค้นสารสนเทศมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว คือ 
7.1 ระบุคำค้นให้ตรงกับสารสนเทศที่ต้องการให้มากที่สุด
7.2 การค้นหาสารสนเทศ บางครั้งคำค้นอาจมีรูปคำแตกต่างกัน แต่มี รากศัพท์เดียวกัน เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ครบถ้วนจึงใช้การตัดปลายคำเพื่อรวบรวมคำที่มีการสะกดใกล้เคียงกันเหมือนกัน หรือคำพหูพจน์และเอกพจน์ โดยใช้สัญลักษณ์แทนการสืบค้นเช่น  *   ,   ?   ,   $    เป็นต้น   เช่น  Prevent * หมายถึง ให้สืบค้นคำที่มีคำว่า prevent นำหน้าส่วนตัวหลังจะเป็นอะไรก็ได้

 

ตัวอย่าง

 

Prevent prevents prevented preventing prevention …….
7.3  การใช้ตรรกะแบบบูลีน ( Boolean logic ) คือ การใช้ตัวเชื่อม  AND, OR,NOT,  NEAR,  AND NOT   เชื่อมคำหรือวลี  เพื่อให้สามารถสืบค้นสารสนเทศได้ตามความต้องการของผู้ใช้มากขึ้น เช่น

 

AND ใช้เชื่อมคำค้นเมื่อต้องการให้สืบค้นรายการที่มีคำทั้งสองคำ ผลการค้นจะได้สารสนเทศจำนวนน้อยลง

 

OR ใช้เชื่อมคำค้น ระหว่างคำที่พ้องความหมายกัน หรือความหมายใกล้เคียงกัน ผลการค้นจะได้สารสนเทศจำนวนมากขึ้น

 

NOT ใช้เชื่อมคำค้นเมื่อต้องการให้สืบค้นรายการที่มีเฉพาะคำแรกไม่มีคำที่สอง ผลการค้นจะได้สารสนเทศเฉพาะเรื่องแรก ไม่มีเรื่องที่สอง (เสาวคนธ์ คงสุข, 2544 :  215 – 216)

 

NEAR  หมายถึง มีคำนั้นอยู่ใกล้คำที่ต้องการค้น ห่างจากกันไม่เกิน  10  คำในประโยคเดียวกัน

วิธีที่หนึ่ง  พิมพ์คำเหล่านี้ ใน Google Search
(1) "parent directory " /appz/ -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(2) "parent directory " DVDRip -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(3) "parent directory "Xvid -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(4) "parent directory " Gamez -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(5) "parent directory " MP3 -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(6) "parent directory " Name of Singer or album -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

*** หมายเหตุ ให้คุณเปลี่ยน คำที่ตามหลัง parent directory เช่น MP3 Gamez appz DVDRip
เป็นสิ่งที่คุณอยากได้ แล้วก้อค้นหา คุณจะพบกับ ความมหัศจรรย์ใน Google

วิธีที่สอง พิมพ์คำต่อไปนี้ใน Google
?intitle:index.of? mp3
จากนั้นแค่เพิ่มชื่อ เพลง อัลบั้ม นักร้อง ลงไป เช่น ?intitle:index.of? mp3 myfavoritesongs

วิธีที่สาม พิมพ์คำต่อไปนี้ใน Google
inurl:micr0s0f filetype:iso
จากนั้น ก้อเปลี่ยน คำว่า micr0s0f กับคำว่า iso เป็นคำที่คุณต้องการ
เช่น inurl:myc0mpany filetype:zip

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
แหล่งอ้างอิง : http://www.projectw.org/viewtopic.php?t=1484

01. ไปที่ www.google.com

02. ในช่องใส่ข้อความให้ใส่แบบตัวอย่าง เช่น หาโปรแกรม Winamp
"parent directory " Winamp -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

03. กดปุ่มค้นหาแล้วรอเลือกผลลัพธ์ได้เลย
- - - - - - - - - - - - -
parent directory " /ชื่อโปรแกรม/ -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

"parent directory " ชื่อเกมส์ -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

"parent directory " ชื่อMP3 -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

"parent directory " ชื่อนักร้องหรืออัลบั้ม -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

แล้วแต่หัวดัดเปลงนะ มันมีอีกแยะเชียว เช่น

"Index of " /ชื่อโปรแกรม/ -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

"Index of " ชื่อเกมส์ -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

"Index of " ชื่อMP3 -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

"Index of " ชื่อนักร้องหรืออัลบั้ม -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

ก็ให้ผลการค้นหาไม่เหมือนกัน ลองศึกษากันไปเองแล้วจะมันมากกับการค้นหา

แถมท้ายครับ..

ฝ่าโลกข้อมูลกับ Google
http://www.justusers.net/articles/internet/google/google.htm

รอบรู้ google มาดูกัน ค้นอย่างไร google ให้ได้ผลตามต้องการ
http://members.lycos.co.uk/physicsdic/modules.php?name=News&file=article&sid=9

Google Help Basics of Search
http://www.google.co.th/intl/th/help/basics.html

Google Help Advanced Search
http://www.google.co.th/intl/th/help/refinesearch.html

ยังมีรายละเอียดอื่นๆอีกครับ สามารถเข้าไปหาข้อมูลได้ที่..
http://www.google.co.th/intl/th/help/index.html

เข้ามาเพิ่มเติมอีกหน่อยครับ.. เป็น Operators ต่างๆที่สามารถนำมาใช้ควบคู่กับคำที่ต้องการค้นหาได้.. link ข้างบนก็พอจะมีบอกไว้บ้างแล้ว แต่อันนี้เป็น link ที่ Google โดยตรง..

Topic: Google Help : Cheat Sheet
link: http://www.google.co.th/intl/th/help/cheatsheet.html

Topic: Advanced Operators
link: http://www.google.co.th/intl/th/help/operators.html

1. ใช้เครื่องมือแปลเว็บเพ็จให้เป็นประโยชน์
นอกจากภาษาอังกฤษแล้วที่เราท่านอาจจะอ่านออกบ้าง ไม่ออกบ้างเช่นผม เป็นต้น ถ้าไปเจอภาษาอื่น ๆ
โดยเฉพาะเว็บแคร็กที่เราคุ้นเคยกันดีอยู่แล้ว ควรจะใช้เครื่องมือแปลภาษาบ้าง จะได้รู้ว่ามันคืออะไร เช่น
http://babelfish.altavista.com/ หรือ http://world.altavista.com/ ซึ่งถ้าใครใช้ MyIE2 อยู่แล้วมันก็มีอยู่ในโปรแกรมแล้ว ตรงลูกครสีเขียวเล็ก ๆ (ปุ่ม Go) ข้าง ๆ จะมีลูกศรอันจิ๋วนั่นแหละครับคลิกเลยครับ
2. ใช้ Directories
เจ้านี่จะเป็นตัวช่วยกำจัดข้อมูลที่เราต้องการหาให้เหลือน้อยลงได้เป็นการประหยัดเวลา โดยการหาเฉพาะเรื่องที่เราต้องการเท่านั้น เพราะจัดเรียงตามหัวข้อ
http://directory.google.com/
3. ใช้ ?advanced tips?
อันนี้ก้วยเจ๋งบวกอึ้งย้งเลย บางอันผมยังไม่เคยทราบ โปรดทราบว่า x ใช้แทนอักษรหรือคำที่เราต้องการหาครับ

A. "xxxx" ถ้าเราต้องการหาคำเฉพาะเจาะจง ให้พิมพ์ใส่ในเครื่องหมายฟันหนู อย่าลืมว่า google ไม่ใช่ case sensitive หมายถึงว่า เมื่อเราพิมพ์คำว่า Thailand โดยไม่ได้ใส่เครื่องหมาย มันก็จะหาข้อมูลที่มีคำว่าไทยแลนด์มาให้ดูเป็นกระตั้ก

B. -x / ถ้าใส่เครื่องหมายลบอยู่ข้างหน้าตามด้วย / คำที่อยู่ระหว่าง 2 เครื่องหมายนี้จะไม่ถูกค้นหา

C. filetype:xxx / เป็นการหา file extension โดยเฉพาะครับ (exe, mp3, etc)

D. -filetype:xxx / พอใส่เครื่องหมายลบเพิ่มเป็นการบอกว่าไม่ต้องค้นนะ ไฟล์สกุลนี้

E. allinurl:x / เป็นการหา URL ที่เราต้องการ อ่านว่า ออลอินยูอาร์แอล:คำที่ต้องการหา

F. allintext:x / หาคำที่ต้องการในหน้าเว็บ

G. allintitle:x / หา html title ในหน้าเว็บนั้น

H. allinanchor:x / หาคำที่ต้องการในลิงค์ที่โชว์อยู่

I. OR นั่นก็คือหรือนั่นเอง หมายถึงให้หาคำนี้หรือคำนั้น

J. ~X ให้หาคำที่เหมือนกันหรือคล้ายคลึงกัน ในกรณีที่เราคิดอะไรไม่ออกอ่ะครับ
4. ใช้จุดกับตัวเลข
สมมุตินะครับสมมุติว่าผมเป็นเด็ก (ทำไมกลายเป็นน้องพลับไปได้หว่า?) เอาใหม่ เช่นถ้าเราต้องการหาเครื่องเล่น MP3 ราคาอยู่ในราวไม่เกิน $90 เราก็พิมพ์ว่า mp3 player $0..$90 มันก็จะหาให้เราเฉพาะราคาระหว่าง 0~90 เหรียญเท่านั้น เพราะเราใส่จุดไป 2 ตัวนั่นเอง ทิปนี้ใช้กับตัวเลขอื่น ๆ เช่นวันที่ น้ำหนัก ฯลฯ ได้ด้วยครับ

-------------------

5. ใส่เครื่องหมายบวก +
เคยพิมพ์คำที่เราต้องการหาแล้วเจอข้อความนี้ไหมครับ
"The following words are very common and were not included in your search:"
เราสามารถใส่ + หน้าคำที่เราต้องการถึงแม้มันจะเป็นคำธรรมดาเป็นการบังคับกูลเกิลหาให้เราครับ

 

guest profile guest
1.เทคนิคการค้นหาข้อมูล
เมื่อเราต้องการค้นหาข้อมูลบางอย่างในอินเทอร์เน็ตนั้น เราจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องบอกหรือระบุความต้องการที่จะค้นหาข้อมูลได้ถูกต้อง  ไม่เช่นนั้นแล้วผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นหาอาจจะมีมากมาย หรือไม่ตรงกับความต้องการของเรา ดังนั้น ในการค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ตนั้นจะต้องกำหนดคำถามที่ชัดเจน  ตลอดจนใช้เทคนิคต่าง  ๆ   เข้ามาช่วย เพื่อให้ผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นหาตรงกับความต้องการมากที่สุด เทคนิคและวิธีการที่ช่วยให้การค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตประสบความสำเร็จ ได้แก่  

1. ตั้งประเด็นให้แคบลง เนื่องจากจำนวนข้อมูลที่มีมากมายในอินเทอร์เน็ตทำให้การค้นหาได้ ผลลัพธ์เป็นจำนวนมาก ดังนั้น เราควรเริ่มทำการค้นหาทั่ว ๆ ไปก่อน เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการต่อจากนั้นจึงค่อยระบุหรือใส่ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการลงไป เพื่อตั้งประเด็นให้ครอบคลุมมากขึ้น ซึ่งจะทำให้เราได้ข้อมูลที่ตรงความต้องการมากที่สุด
 
2. ใช้สิ่งที่เรียกว่าออปชั่น (Option ) เป็นตัวช่วยในการค้นหาข้อมูล ซึ่งเว็บไซต์ที่เป็นSearch Engines ส่วนใหญ่จะมีให้อยู่
แล้ว
3. อย่าค้นหาคำที่เราต้องการเท่านั้น ควรจะค้นหาคำที่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันด้วย

4. หลีกเลี่ยงการค้นหาคำที่เป็นคำเดี่ยว ๆ หรือมีตัวเลขปนอยู่ เช่น NT หรือ 3D แต่ถ้าต้องการค้นหาจริง ๆ จะต้องใส่เครื่องหมายคำพูดลงไปด้วย ( “ ” )
5. พวกกลุ่มคำ หรือวลี ก็ต้องใส่เครื่องหมายคำพูดลงไปเช่นเดียวกัน 
6. หลีกเลี่ยงคำจำพวก Natural Language ( ภาษาพูด )
7. ควรใช้สิ่งที่เรียกว่า Advanced Search หรือ Power Search เข้ามาช่วย เพราะจะ ทำให้ได้ผลลัพธ์ที่ตรงกับความต้องการของเรามากกว่าการค้นหาแบบธรรมดา การสืบค้นแบบขั้นสูง(Advanced search) เป็นการสืบค้นโดยใช้คำสำคัญเป็นคำค้นทำให้การสืบค้นสารสนเทศมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว คือ 
7.1 ระบุคำค้นให้ตรงกับสารสนเทศที่ต้องการให้มากที่สุด
7.2 การค้นหาสารสนเทศ บางครั้งคำค้นอาจมีรูปคำแตกต่างกัน แต่มี รากศัพท์เดียวกัน เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ครบถ้วนจึงใช้การตัดปลายคำเพื่อรวบรวมคำที่มีการสะกดใกล้เคียงกันเหมือนกัน หรือคำพหูพจน์และเอกพจน์ โดยใช้สัญลักษณ์แทนการสืบค้นเช่น  *   ,   ?   ,   $    เป็นต้น   เช่น  Prevent * หมายถึง ให้สืบค้นคำที่มีคำว่า prevent นำหน้าส่วนตัวหลังจะเป็นอะไรก็ได้

 

 

ตัวอย่าง

 

 

Prevent prevents prevented preventing prevention …….
7.3  การใช้ตรรกะแบบบูลีน ( Boolean logic ) คือ การใช้ตัวเชื่อม  AND, OR,NOT,  NEAR,  AND NOT   เชื่อมคำหรือวลี  เพื่อให้สามารถสืบค้นสารสนเทศได้ตามความต้องการของผู้ใช้มากขึ้น เช่น

 

 

AND ใช้เชื่อมคำค้นเมื่อต้องการให้สืบค้นรายการที่มีคำทั้งสองคำ ผลการค้นจะได้สารสนเทศจำนวนน้อยลง

 

 

OR ใช้เชื่อมคำค้น ระหว่างคำที่พ้องความหมายกัน หรือความหมายใกล้เคียงกัน ผลการค้นจะได้สารสนเทศจำนวนมากขึ้น

 

 

NOT ใช้เชื่อมคำค้นเมื่อต้องการให้สืบค้นรายการที่มีเฉพาะคำแรกไม่มีคำที่สอง ผลการค้นจะได้สารสนเทศเฉพาะเรื่องแรก ไม่มีเรื่องที่สอง (เสาวคนธ์ คงสุข, 2544 :  215 – 216)

 

 

NEAR  หมายถึง มีคำนั้นอยู่ใกล้คำที่ต้องการค้น ห่างจากกันไม่เกิน  10  คำในประโยคเดียวกัน

วิธีที่หนึ่ง  พิมพ์คำเหล่านี้ ใน Google Search
(1) "parent directory " /appz/ -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(2) "parent directory " DVDRip -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(3) "parent directory "Xvid -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(4) "parent directory " Gamez -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(5) "parent directory " MP3 -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums
(6) "parent directory " Name of Singer or album -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

*** หมายเหตุ ให้คุณเปลี่ยน คำที่ตามหลัง parent directory เช่น MP3 Gamez appz DVDRip
เป็นสิ่งที่คุณอยากได้ แล้วก้อค้นหา คุณจะพบกับ ความมหัศจรรย์ใน Google

วิธีที่สอง พิมพ์คำต่อไปนี้ใน Google
?intitle:index.of? mp3
จากนั้นแค่เพิ่มชื่อ เพลง อัลบั้ม นักร้อง ลงไป เช่น ?intitle:index.of? mp3 myfavoritesongs

วิธีที่สาม พิมพ์คำต่อไปนี้ใน Google
inurl:micr0s0f filetype:iso
จากนั้น ก้อเปลี่ยน คำว่า micr0s0f กับคำว่า iso เป็นคำที่คุณต้องการ
เช่น inurl:myc0mpany filetype:zip

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
แหล่งอ้างอิง : http://www.projectw.org/viewtopic.php?t=1484

01. ไปที่ www.google.com

02. ในช่องใส่ข้อความให้ใส่แบบตัวอย่าง เช่น หาโปรแกรม Winamp
"parent directory " Winamp -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

03. กดปุ่มค้นหาแล้วรอเลือกผลลัพธ์ได้เลย
- - - - - - - - - - - - -
parent directory " /ชื่อโปรแกรม/ -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

"parent directory " ชื่อเกมส์ -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

"parent directory " ชื่อMP3 -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

"parent directory " ชื่อนักร้องหรืออัลบั้ม -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

แล้วแต่หัวดัดเปลงนะ มันมีอีกแยะเชียว เช่น

"Index of " /ชื่อโปรแกรม/ -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

"Index of " ชื่อเกมส์ -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

"Index of " ชื่อMP3 -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

"Index of " ชื่อนักร้องหรืออัลบั้ม -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

ก็ให้ผลการค้นหาไม่เหมือนกัน ลองศึกษากันไปเองแล้วจะมันมากกับการค้นหา

แถมท้ายครับ..

ฝ่าโลกข้อมูลกับ Google
http://www.justusers.net/articles/internet/google/google.htm

รอบรู้ google มาดูกัน ค้นอย่างไร google ให้ได้ผลตามต้องการ
http://members.lycos.co.uk/physicsdic/modules.php?name=News&file=article&sid=9

Google Help Basics of Search
http://www.google.co.th/intl/th/help/basics.html

Google Help Advanced Search
http://www.google.co.th/intl/th/help/refinesearch.html

ยังมีรายละเอียดอื่นๆอีกครับ สามารถเข้าไปหาข้อมูลได้ที่..
http://www.google.co.th/intl/th/help/index.html

เข้ามาเพิ่มเติมอีกหน่อยครับ.. เป็น Operators ต่างๆที่สามารถนำมาใช้ควบคู่กับคำที่ต้องการค้นหาได้.. link ข้างบนก็พอจะมีบอกไว้บ้างแล้ว แต่อันนี้เป็น link ที่ Google โดยตรง..

Topic: Google Help : Cheat Sheet
link: http://www.google.co.th/intl/th/help/cheatsheet.html

Topic: Advanced Operators
link: http://www.google.co.th/intl/th/help/operators.html

1. ใช้เครื่องมือแปลเว็บเพ็จให้เป็นประโยชน์
นอกจากภาษาอังกฤษแล้วที่เราท่านอาจจะอ่านออกบ้าง ไม่ออกบ้างเช่นผม เป็นต้น ถ้าไปเจอภาษาอื่น ๆ
โดยเฉพาะเว็บแคร็กที่เราคุ้นเคยกันดีอยู่แล้ว ควรจะใช้เครื่องมือแปลภาษาบ้าง จะได้รู้ว่ามันคืออะไร เช่น
http://babelfish.altavista.com/ หรือ http://world.altavista.com/ ซึ่งถ้าใครใช้ MyIE2 อยู่แล้วมันก็มีอยู่ในโปรแกรมแล้ว ตรงลูกครสีเขียวเล็ก ๆ (ปุ่ม Go) ข้าง ๆ จะมีลูกศรอันจิ๋วนั่นแหละครับคลิกเลยครับ
2. ใช้ Directories
เจ้านี่จะเป็นตัวช่วยกำจัดข้อมูลที่เราต้องการหาให้เหลือน้อยลงได้เป็นการประหยัดเวลา โดยการหาเฉพาะเรื่องที่เราต้องการเท่านั้น เพราะจัดเรียงตามหัวข้อ
http://directory.google.com/
3. ใช้ ?advanced tips?
อันนี้ก้วยเจ๋งบวกอึ้งย้งเลย บางอันผมยังไม่เคยทราบ โปรดทราบว่า x ใช้แทนอักษรหรือคำที่เราต้องการหาครับ

A. "xxxx" ถ้าเราต้องการหาคำเฉพาะเจาะจง ให้พิมพ์ใส่ในเครื่องหมายฟันหนู อย่าลืมว่า google ไม่ใช่ case sensitive หมายถึงว่า เมื่อเราพิมพ์คำว่า Thailand โดยไม่ได้ใส่เครื่องหมาย มันก็จะหาข้อมูลที่มีคำว่าไทยแลนด์มาให้ดูเป็นกระตั้ก

B. -x / ถ้าใส่เครื่องหมายลบอยู่ข้างหน้าตามด้วย / คำที่อยู่ระหว่าง 2 เครื่องหมายนี้จะไม่ถูกค้นหา

C. filetype:xxx / เป็นการหา file extension โดยเฉพาะครับ (exe, mp3, etc)

D. -filetype:xxx / พอใส่เครื่องหมายลบเพิ่มเป็นการบอกว่าไม่ต้องค้นนะ ไฟล์สกุลนี้

E. allinurl:x / เป็นการหา URL ที่เราต้องการ อ่านว่า ออลอินยูอาร์แอล:คำที่ต้องการหา

F. allintext:x / หาคำที่ต้องการในหน้าเว็บ

G. allintitle:x / หา html title ในหน้าเว็บนั้น

H. allinanchor:x / หาคำที่ต้องการในลิงค์ที่โชว์อยู่

I. OR นั่นก็คือหรือนั่นเอง หมายถึงให้หาคำนี้หรือคำนั้น

J. ~X ให้หาคำที่เหมือนกันหรือคล้ายคลึงกัน ในกรณีที่เราคิดอะไรไม่ออกอ่ะครับ
4. ใช้จุดกับตัวเลข
สมมุตินะครับสมมุติว่าผมเป็นเด็ก (ทำไมกลายเป็นน้องพลับไปได้หว่า?) เอาใหม่ เช่นถ้าเราต้องการหาเครื่องเล่น MP3 ราคาอยู่ในราวไม่เกิน $90 เราก็พิมพ์ว่า mp3 player $0..$90 มันก็จะหาให้เราเฉพาะราคาระหว่าง 0~90 เหรียญเท่านั้น เพราะเราใส่จุดไป 2 ตัวนั่นเอง ทิปนี้ใช้กับตัวเลขอื่น ๆ เช่นวันที่ น้ำหนัก ฯลฯ ได้ด้วยครับ

-------------------

5. ใส่เครื่องหมายบวก +
เคยพิมพ์คำที่เราต้องการหาแล้วเจอข้อความนี้ไหมครับ
"The following words are very common and were not included in your search:"
เราสามารถใส่ + หน้าคำที่เราต้องการถึงแม้มันจะเป็นคำธรรมดาเป็นการบังคับกูลเกิลหาให้เราครับ

 

 

guest profile guest

เทคนิค 8 ประการที่ควรรู้ในการค้นหาข้อมูล

 ในการค้นหาข้อมูลด้วย Search Engine ส่วนใหญ่แล้วปัญหาที่ผู้ใช้งานทั่วไปมักจะพบเห็น หรือประสบอยู่เสมอๆก็คงจะหนี

ไปไม่พ้นข้อมูลที่ค้นหาได้มีขนาดมากจนเกินไป ดังนั้นเพื่อ ความสะดวกในการใช้งานคุณจึงน่าที่จะเรียนรู้เทคนิคต่างๆเพื่อ

ช่วยลดหรือจำกัดคำที่ค้น หาให้แคบลงและตรงประเด็นกับเรามากที่สุด

      1. เลือกรูปแบบการค้นหาให้ตรงกับสิ่งที่คุณต้องการมากที่สุด ส่วนจะเลือกใช้วิธีไหนก็ตามแต่คุณจะเห็นว่า เหมาะสม

          ยกตัวอย่างเช่น ถ้าคุณต้องการจะค้นหาข้อมูลที่มีลักษณะทั่วไป ไม่ชี้ เฉพาะเจาะจง ก็ควรเลือกบริการสืบค้นข้อมูล

          แบบ Index อย่างของ sanook เพราะ โอกาสที่จะเจอนั้น เปอร์เซ็นต์สูงกว่าจะมานั่งสุ่ม

          หาโดยใช้วิธีแบบ Search Engine

 

      2. ใช้คำมากกว่า 1 คำที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกันช่วยค้นหา เพราะจะได้ผลลัพท์ที่มีขนาด แคบลงและชี้เฉพาะมากขึ้น

          (ย่อมจะดีกว่าหาคำเดียวโดดๆ) เช่น kanchanaburi+kemapat

 

      3. ใช้บริการของผู้ให้บริการเฉพาะด้าน เช่น การค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวของ ภาพยนตร์ก็น่าที่จะเลือกใช้

          Search Engine ที่ให้บริการใหล้เคียงกับเรื่องพวกนี้ เพราะผลลัพท์ที่ได้น่าจะเป็นที่น่าพอใจกว่า

 

      4. ใส่เครื่องหมายคำพูดครอบคลุมกลุ่มคำที่ต้องการ เพื่อบอกกับ Search Engine ว่าเรา ต้องการผลการค้นหาที่มีคำใน

           กลุ่มนั้นครบและตรงตามลำดับที่เราพิมพ์ทุกคำ เช่น "kemapat school" เป็นต้น

 

      5. การขึ้นต้นของตัวอักษรตัวเล็กเท่ากันหมด Search Engine จะเข้าใจว่าเราต้องการ ให้มันค้นหาคำดังกล่าวแบบ

         ไม่ต้องสนใจว่าตัวอักษรที่ได้จะมีขนาดเล็กหรือใหญ่ ดังนั้นหากคุณต้องการอยากที่จะให้มันค้นหาคำตรงตามแบบที่

          เขียนไว้ก็ให้ใช้ตัว อักษรใหญ่แทน

 

      6. ใช้ตัวเชื่อมทาง Logic หรือตรรกศาสตร์เข้ามาช่วยค้นหา มีอยู่ 3 ตัวด้วยกันคือ

           - AND สั่งให้หาโดยจะต้องมีคำนั้นๆ มาแสดงด้วยเท่านั้น! โดยไม่จำเป็นว่าจะต้องติดกัน เช่น

                      thailand and kanchanaburi เป็นต้น

           - OR สั่งให้หาโดยจะต้องนำคำใดคำหนึ่งที่พิมพ์ลงไปมาแสดง

           - NOT สั่งไม่ให้เลือกคำนั้นๆมาแสดง เช่น thailand and kanchanaburi not goft หมายความว่า ให้ทำการหา

                      เว็บที่เกี่ยวข้องกับ thailand และ kanchanaburi แต่ต้องไม่มี goft เป็นต้น

 

      7. ใช้เครื่องหมายบวกลบคัดเลือกคำ + หน้าคำที่ต้องการจริงๆ

                                                            - (ลบ)ใช้นำหน้าคำที่ไม่ต้องการ

                                                            () ช่วยแยกกลุ่มคำ เช่น (pentium+computer)cpu

 

      8. ใช้ * เป็นตัวร่วม เช่น com* เป็นการบอกให้หาคำที่มีคำว่า com ขึ้นหน้าส่วนด้านท้ายเป็น อะไรไม่สนใจ

                                            *tor เป็นการให้หาคำที่ลงท้ายด้วย tor ด้านหน้าจะเป็นอะไรไม่สนใจ

 

guest profile guest

เทคนิคที่ 1 การใช้คำสำคัญ (keyword) เพื่อเจาะจงเนื้อหา

ในเทคนิคนี้ผมจะแยกนำเสนอออกเป็น 3 ลักษณะ  คือ
1. คำสำคัญที่เป็นภาษาไทยล้วนๆ
2. คำสำคัญที่เป็นภาษาอังกฤษล้วนๆ
3. คำสำคัญที่มีทั้ง 2 ภาษาปนกัน


1) คำสำคัญที่เป็นภาษาไทยล้วนๆ
สมมติว่าคุณจะค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับนักคณิตศาสตร์ คำสำคัญอันดับแรกที่เรานึกถึงได้ทันทีก็คือ นักคณิตศาสตร์ แต่ผมคิดว่าคำสำคัญเพียงคำเดียวก็ดูจะกว้างไป และในบางครั้งผลการค้นหาก็มากมายหลายสิบหน้า  ถ้าเราจะเปิดอ่านทุกลิงก์ทุกหน้าก็คงไม่ดีแน่ ดังนั้นเราจึงต้องจำกัดผลการค้นหาให้แคบลงตามที่เราต้องการ สมมติว่าคุณต้องการข้อมูลเกี่ยวกับนักคณิตศาสตร์ชาวกรีก คำสำคัญที่ใช้ได้ก็ได้แก่ นักคณิตศาสตร์ และคำว่า กรีก คราวนี้สังเกตผลการค้นหาที่ได้ คุณจะพบว่าผลการค้นหามีจำนวนน้อยลง คราวนี้ก็สะดวกที่เราจะเลือกลิงก์ที่ต้องการได้

 


จากภาพประกอบ 1 ในกรอบรูปวงรี   คุณจะเห็นได้ว่าผลการค้นหามีทั้งหมด 343 ผลลัพธ์  แต่เมื่อเพิ่มคำสำคัญเข้าไปอีกเพียงคำเดียวซึ่งก็คือคำว่า  “กรีก”  ในภาพประกอบ 2   ก็จะทำให้ผลการค้นหาลดลงเหลือเพียงผลลัพธ์เดียวเท่านั้น  แต่ทั้งนี้จำนวนผลลัพธ์ที่ลดน้อยลงไม่อาจประกันได้ว่าเราจะได้ข้อมูลอย่างที่คาดหวังไว้

ในกรณีที่คำสำคัญนั้นแสดงผลการค้นหาที่แสดงว่าไม่พบข้อมูลที่ต้องการ  ก็ให้ลองเปลี่ยนคำสำคัญใหม่ไปเรื่อยๆ อย่าลืมว่าจะต้องมีคำสำคัญอย่างน้อย 2 คำ จึงจะทำให้ผลการค้นหาแคบลงเท่าที่ต้องการ

 


จากภาพประกอบ 3  จะเห็นว่าเมื่อใช้คำสำคัญว่า “นักคณิตศาสตร์โรมัน”   ระบบ search engine    ไม่สามารถค้นหาข้อมูลที่ตรงกับคำสำคัญดังกล่าวได้เลย  เมื่อเป็นเช่นนี้เราก็ต้องเปลี่ยนไปใช้คำสำคัญตัวอื่นๆ แทน

 

2) คำสำคัญที่เป็นภาษาอังกฤษล้วนๆ
ในทำนองเดียวกัน  ถ้าคุณอยากได้ข้อมูลเกี่ยวกับนักคณิตศาสตร์ชาวกรีกแต่เป็นภาษาอังกฤษ          คำสำคัญ 2  คำแรกที่น่าจะใช้ได้ก็คือ  greek  mathematician  แต่ผมมีข้อสังเกตของการใช้เว็บไซต์ http://www.google.co.th และ search engine หลายๆ ตัวในอินเทอร์เน็ต      คือ      ในการค้นหาข้อมูลที่ใช้คำสำคัญเป็นภาษาอังกฤษ  (รวมทั้งภาษาไทยด้วย)   ถ้าเราใช้เครื่องหมาย  “ ”  (double quote)  คร่อมระหว่างคำสำคัญคู่ใดๆ ก็ตาม      ผลการค้นหาอาจแตกต่างกันเล็กน้อยซึ่งเป็นรายละเอียดทางเทคนิค                ผมจะไม่อธิบายไว้ในที่นี้     ในกรณีนี้คำสำคัญว่า greek mathematician  (คำว่า greek แล้วเว้นวรรคจากนั้นตามด้วยคำว่า mathematician)     อาจให้ผลการค้นหาที่ต่างจากคำสำคัญ “greek mathematician”            และที่สำคัญอีกอย่างก็คือตัวอักษรใหญ่เล็กที่ต่างกันก็อาจจะให้ผลการค้นหาที่ต่างกันได้อีกเช่นกัน


จากภาพประกอบ 4  และภาพประกอบ 5  จะพบว่าเมื่อไม่ใช้เครื่องหมาย “ ” (double quote)     คร่อมระหว่างคำสำคัญคู่ใดๆ ผลลัพธ์การค้นหามีจำนวนมากถึง 86,400 ผลลัพธ์         แต่เมื่อเราใส่เครื่องหมาย  “ ”  คร่อมระหว่างคำสำคัญคู่หนึ่งแล้ว  ผลการค้นหาลดจำนวนลงเหลือเพียง 15,400 ผลลัพธ์ ซึ่งทำให้เราสะดวกต่อการค้นหาข้อมูลมากขึ้น             และขอย้ำอีกครั้งหนึ่งว่าจำนวนผลลัพธ์ที่น้อยลงไม่ได้เป็นเครื่องรับประกันว่าเราจะได้ข้อมูลอย่างที่คาดหวังไว้แต่อย่างใด


3) คำสำคัญที่เป็นภาษาไทยปนภาษาอังกฤษ
search engine  บางแห่งอาจค้นไม่พบข้อมูลที่ต้องการเมื่อใช้คำสำคัญที่เป็นภาษาไทยกับภาษาอังกฤษปนกัน  แต่อย่างไรก็ตามผมพบว่าเว็บไซต์    http://www.google.co.th        ไม่มีปัญหากับคำสำคัญที่เป็นแบบ 2 ภาษาปนกัน  สมมติว่าคุณต้องการไฟล์บทเรียนเกี่ยวกับไฟฟ้ากระแส  คำสำคัญที่อาจจะใช้ได้มีดังต่อไปนี้
1) ไฟฟ้ากระแสตรง  “direct current”
2) “direct current” ไฟฟ้า กระแสตรง
3) “direct current” เนื้อหา
ฯลฯ

 

เทคนิคที่ 2 การใช้คำสำคัญ (keyword) เพื่อเจาะจงรูปแบบของไฟล์
ในการค้นหาข้อมูลนั้น บางครั้งเราอาจต้องการเจาะจงรูปแบบของไฟล์เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ต้องการนำไฟล์นั้นไปใช้พิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์   หรือว่านำไปใช้ประกอบการทำรายงาน   หรือแม้กระทั่งนำไปใช้ในการนำเสนอผลงาน  ซึ่ง search engine  บางแห่งไม่สนับสนุนรูปแบบไฟล์อื่นๆ นอกจากไฟล์เว็บเพ็จที่มีนามสกุล (Extension)  เป็น *.html หรือ *.htm แต่เว็บไซต์ http://www.google.co.th สนับสนุนไฟล์ในรูปแบบอื่นๆ นอกจาก *.html หรือ *.htm  ได้แก่  *.doc (ไฟล์ที่สร้างจากโปรแกรม Microsoft Word), *.xls (ไฟล์ที่สร้างจากโปรแกรม Microsoft Excel), *.ppt (ไฟล์ที่สร้างจากโปรแกรม Microsoft PowerPoint) และไฟล์ *.pdf (Portable Document Format) ซึ่งเปิดอ่านได้จากโปรแกรมยอดนิยมอย่าง Adobe Acrobat Reader  เป็นต้น


สมมติว่าคุณต้องการไฟล์บทเรียนเกี่ยวกับกรด – เบสที่อยู่ในรูปแบบไฟล์ pdf และไม่จำกัดภาษา   คำสำคัญที่อาจจะใช้ได้มีดังต่อไปนี้
1) acid base  pdf
2) “acid-base” pdf
3) “Aqueous Equillibria” lecture notes pdf
4) สมดุลกรด – เบส pdf
5) กรด – เบส pdf
6) กรด เบส pdf
ฯลฯ


เทคนิคที่ 3 หลีกเลี่ยงการใช้คำหรือเครื่องหมายบางประเภทประกอบในคำสำคัญ
search engine ส่วนใหญ่ซึ่งรวมถึง  http://www.google.co.th  มักจะไม่รวมเอาคำสรรพนามไม่ชี้เฉพาะ  คำบุพบท  คำสันธานในภาษาอังกฤษ  เช่น  a , an , the , on  ฯลฯ  เข้าไว้ในการค้นหา

จากภาพประกอบ 8    จะเห็นได้ว่าคำสรรพนามไม่ชี้เฉพาะ  “the”    ไม่ถูกรวมในการค้นหา  ทั้งนี้เนื่องจากว่าในการค้นหาเอกสารภาษาอังกฤษส่วนใหญ่  (โดยส่วนตัวผมเชื่อว่ามากกว่า 95% ของจำนวนเอกสารที่เป็นภาษาอังกฤษที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต)  คำสรรพนามตัวนี้จะอยู่ในเอกสารอยู่แล้ว         เพราะฉะนั้นเพื่อให้ผลการค้นหารัดกุมและผลลัพธ์มีจำนวนไม่มากเกินไป    ระบบ search engine ส่วนใหญ่จึงไม่รวมคำว่า  the  ไว้ในการค้นหา  แต่ทั้งนี้ถ้าหากว่าต้องการให้คำสรรพนามชี้เฉพาะ หรือคำยกเว้นต่างๆ รวมอยู่ในการค้นหาด้วย  ผมแนะนำว่าให้ใช้เครื่องหมาย  “ ”  คร่อมคำเฉพาะนั้นด้วย ดังภาพประกอบ 9


เทคนิคที่ 4 หลีกเลี่ยงการใช้คำสำคัญที่มีความยาวเกินไป
search engine  ส่วนใหญ่ซึ่งรวมถึง   http://www.google.co.th  มักจะแสดงผลการค้นหาในทำนองว่า “ไม่พบข้อมูลที่ต้องการ”   เนื่องจากสาเหตุหลายประการ          โดยหนึ่งในสาเหตุเหล่านั้นก็คือการใช้คำสำคัญที่ยาวเกินไป  สมมติว่าคุณต้องการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับ     “การแยกตัวประกอบของพหุนาม” แต่ปรากฏว่าไม่มีข้อมูลที่ต้องการ  เราก็เปลี่ยนคำสำคัญใหม่โดยการแตกคำสำคัญที่ยาวๆ นั้นให้สั้นลง  แล้วใช้วิธีการเว้นวรรค หรือใช้เครื่องหมาย  “  ”  คร่อมคำสำคัญคู่ใดคู่หนึ่งแทน  ในกรณีนี้ก็อาจเปลี่ยนไปใช้คำว่า  “พหุนาม”  “แยกตัวประกอบ”  ก็ได้

เทคนิคที่ 5 การค้นหาข้อมูลที่เป็นราชทินนามฐานันดรศักดิ์บรรดาศักดิ์ชื่อบุคคล
ในบางครั้งถ้าหากเราต้องการข้อมูลเกี่ยวกับสมาชิกในพระบรมราชวงศ์        บรรดาศักดิ์ของขุนนาง   ชื่อของบุคคล  เป็นต้น  เราอาจพบว่าไม่มีข้อมูลที่ต้องการ  สาเหตุประการหนึ่งก็คือคำสำคัญที่ยาวเกินไป  ในกรณีนี้เทคนิคที่ 4  สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้     แต่ถ้าหากว่าเราต้องการค้นหาชื่อบุคคล  เราก็สามารถประยุกต์ใช้เทคนิคที่ 4 ได้อีกเช่นกันโดยการแยกส่วนที่เป็นชื่อกับนามสกุลออกจากกัน           เช่น     ต้องการหาข้อมูลของ  “ทักษิณ  ชินวัตร”  สมมติว่า  search engine  ไม่พบข้อมูลเกี่ยวกับ “ทักษิณ ชินวัตร” หรือพบแต่ไม่ใช่สิ่งที่เราต้องการ    ก็เลี่ยงไปใช้คำสำคัญ  “ทักษิณ”  “ชินวัตร”  แทนอย่างนี้เป็นต้น      แต่อย่างไรก็ตามผมมีข้อสังเกตว่าการใช้คำสำคัญติดกันโดยการคร่อมด้วยเครื่องหมาย  “  ”   ก็อาจให้ทางเลือกที่ดีกว่าในการค้นหาและคัดเลือกข้อมูลโดยตัวเราเอง

เทคนิคที่ 6 ตรวจสอบตัวสะกดให้ถูกต้อง
สาเหตุหนึ่งที่  search engine ไม่พบข้อมูลที่ต้องการหรือผลการค้นหาไม่เป็นไปตามที่คาดหวังก็คือการสะกดคำที่ไม่ถูกต้อง  ในกรณีนี้ส่วนใหญ่มักเกิดจากการใช้คำสำคัญภาาษต่างประเทศที่ใช้วิธีเขียนทับศัพท์เป็นภาษาไทยไปเลย หรือในกรณีคำสำคัญที่เป็นภาษาต่างประเทศก็คือตกตัวสะกดไปตัวหนึ่งหรือเขียนผิดไปตัวหนึ่งก็ทำให้ผลการค้นหาคลาดเคลื่อนได้เช่นกัน

เทคนิคที่ 7 การใช้  search engine  เป็นเครื่องมือค้นหาเว็บไซต์ที่ต้องการ
ในบางครั้งถ้าเราต้องการเข้าไปยังเว็บไซต์หนึ่งแต่เราไม่แน่ใจหรือจำไม่ได้ว่าเว็บไซต์นั้นมี URL (Uniform Resource Locator) ว่าอย่างไร  สมมติว่าคุณต้องการเข้ามายังเว็บไซต์ sudipan.net แต่ปรากฏว่าเราลืม URL ของเว็บนี้ วิธีที่ง่ายที่สุดก็คือใช้คำสำคัญซึ่งเป็นชื่อที่เรานึกออกว่าเป็นส่วนหนึ่งของชื่อเว็บไซต์นั้น ซึ่งในกรณีนี้สมมติผมใช้คำสำคัญว่า “sudipan” ก็จะได้ผลการค้นหาเป็นทุกๆ เว็บเพ็จที่มีคำว่า sudipan แต่เป้าหมายของเราคือต้องการเข้าไปยังเว็บไซต์ดังกล่าวไม่ใช่หาข้อมูลเกี่ยวกับ sudipan เราก็เลือกที่ลิงก์แรกซึ่งมี URL คือ http://www.sudipan.net นั่นเอง

เทคนิคที่ 8 การใช้คำสำคัญในทางตรรกศาสตร์
search engine หลายแห่งสามารถใช้คำในวิชาตรรกศาสตร์มาช่วยคัดเลือกข้อมูลได้ โดยจะเป็นผลให้จำนวนผลการค้นหาลดน้อยลงหรือเป็นไปตามที่เราคาดหวังมากขึ้น ซึ่งคำในวิชาตรรกศาสตร์ที่ใช้ได้มีดังต่อไปนี้  AND  OR  NOT  สำหรับวิธีการใช้งานอย่างคร่าวๆ  มีดังนี้
1. AND ใช้เมื่อต้องการให้ผลการค้นหาประกอบด้วยคำสำคัญที่อยู่ติดกับคำว่า AND ทั้งสองคำ เช่น  “chemistry” AND “atomic theory” หมายความว่าให้ค้นหาข้อมูลที่มีคำว่า chemistry และคำว่า atomic theory ทั้ง 2 คำอยู่ในเอกสารเดียวกัน
2. OR ใช้เมื่อต้องการให้ผลการค้นหาประกอบด้วยคำสำคัญตัวใดตัวหนึ่งที่อยู่ติดกับคำว่า OR เช่น  “physics”  OR  “mechanics” หมายความว่าให้ค้นหาข้อมูลที่มีคำว่า  physics  หรือ  mechanics คำใดคำหนึ่งก็ได้
3. NOT ใช้เมื่อต้องการให้ผลการค้นหาประกอบด้วยคำสำคัญที่อยู่หน้าคำว่า  NOT แต่ไม่ต้องค้นหาคำที่อยู่หลังคำว่า NOT     เช่น  mathematics  NOT  calculus  หมายความว่า ให้ค้นหาข้อมูลที่มีคำว่า  mathematics  แต่ต้องไม่มีคำว่า calculus  อยู่ด้วย
หมายเหตุ เทคนิคที่ 8 นี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการค้นหาข้อมูลในฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุดตามมหาวิทยาลัยได้ด้วย

 http://www.azizstan.ac.th/th/index.php?option=com_content&view=article&id=176:-search-engine&catid=66&Itemid=109

guest profile guest

5.   เทคนิคการสืบค้นข้อมูล

  1. การค้นหาแบบพื้นฐาน (Basic Search) เป็นการค้นหาสารสนเทศอย่างง่ายๆ ไม่ซับซ้อน

โดยใช้คำโดดๆ หรือผสมเพียง 1 คำ ในการสืบค้นข้อมูล โดยส่วนใหญ่การค้นหาแบบง่ายจะมี

ทางเลือกในการค้นหา ได้แก่

  1.1  ชื่อผู้แต่ง (Author) เป็นการค้นหาโดยใช้ชื่อของบุคคล กลุ่มบุคคล นามปากกา หรือ

ชื่อหน่วยงาน/องค์กร ที่เป็นผู้แต่งหรือเขียนหนังสือ บทความ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ หรือทรัพยากร

สารสนเทศนั้นๆ ซึ่งมีหลักการค้นหาง่ายๆ ดังนี้

   1.1.1 ผู้แต่งคนไทย เป็นการค้นหาชื่อบุคคล ตัวอย่างเช่น กุลธิดา  ท้วมสุข ให้ตัดคำ

นำหน้าชื่อออก เช่น นาย นาง นางสาว หรือหากเป็นบุคคลที่มีบรรดาศักดิ์หรือฐานันดรศักดิ์ ให้ค้น

ด้วยชื่อ และต่อท้ายด้วยบรรดาศักดิ์หรือฐานันดรศักดิ์ หากเป็นการค้นหาชื่อที่เป็น นามปากกา ฉายา

หรือสมณศักดิ์ ให้ค้นหาตามนามปากกา ฉายา หรือสมณศักดิ์
              ยกตัวอย่างเช่น
- นางกุลธิดา ท้วมสุข ชื่อที่ใช้ค้น คือ
กุลธิดา  ท้วมสุข  (ให้ตัดคำนำหน้าชื่อออก)
- ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมท ชื่อที่ใช้ค้น คือ
คึกฤทธิ์ ปราโมท, ม.ร.ว. 

 (ให้เอาบรรดาศักดิ์ หรือฐานันดรศักดิ์ มาต่อท้ายชื่อ)
- ร.ต.อ ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ ชื่อที่ใช้ค้น คือ
ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์    (ให้ตัดยศหรือ ตำแหน่งออก)
- พระยาอุปกิตติศิลปสาร ชื่อที่ใช้ค้น คือ
พระยาอุปกิตติศิลปสาร 
- ว.วชิรเมธี ชื่อที่ใช้ค้น คือ
ว.วชิรเมธี    
- พระครูวิมลคุณากร ชื่อที่ใช้ค้น คือ
พระครูวิมลคุณากร               
1.1.2 ผู้แต่งที่เป็นชาวต่างประเทศ ให้ค้นหาโดยใช้ ชื่อสกุล ตามด้วยชื่อกลางและชื่อต้น
              ยกตัวอย่างเช่น
"Judith G. Voet" ชื่อที่ใช้ค้น คือ
Voet, Judith G.
                                                                             หรือ   Voet, Judith 
                                                                             หรือ   Voet
                     1.1.3 ผู้แต่งที่เป็นหน่วยงาน/องค์กร ให้ค้นหาตามชื่อหน่วยงานหรือชื่อองค์กรนั้น เช่น การค้นหาชื่อหน่วยงานที่มีทั้งหน่วยงานใหญ่และหน่วยงานย่อย ให้ค้นหาโดยใช้ชื่อหน่วยงานใหญ่ก่อน แล้วตามด้วยชื่อหน่วยงานย่อย หากเป็นชื่อย่อ เมื่อค้นหาให้ใช้ชื่อเต็ม
              ยกตัวอย่างเช่น
-
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ชื่อที่ใช้ค้น คือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สำนักวิทยบริการ
                     - ททท.  ชื่อที่ใช้ค้น คือ การท่องเที่ยวแห่ประเทศไทย
1.2  ชื่อเรื่อง (Title) เป็นการค้นหาข้อมูล ด้วยชื่อเรื่อง เช่น ชื่อหนังสือ ชื่อบทความ ชื่อเรื่องสั้น นวนิยาย ชื่องานวิจัย หรือวิทยานิพนธ์ การค้นโดยใช้ชื่อเรื่องนี้ เป็นการค้นหาแบบเจาะจง ดังนั้นผู้ค้น ต้องรู้จักชื่อเรื่อง หลักการค้นหาด้วยชื่อเรื่องทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ใช้หลักการเดียวกัน คือ ค้นหาตามชื่อนั้นๆ ได้เลย โดยระบบจะทำการค้นหาจากชื่อเรื่อง เริ่มจากอักษรตัวแรกและตัวถัดไปตามลำดับ
              ยกตัวอย่างเช่น
       - เพลงรักในสายลมหนาว   (ชอบดูมาก..ชึ้ง..แถมพระเอกหล๊อ..หล่อ)
- อินเทอร์เน็ตสำหรับผู้เริ่มต้น (เรื่องนี้ก็ชื่นชอบผู้แต่ง อ. ยืน ภู่วรวรรณ)
- Engineering Analysis (เรื่องนี้ไม่อ่าน เพราะเดี๋ยวเจ็บหัว)

              1.3 หัวเรื่อง (Subject Heading) คือ คำหรือวลีที่กำหนดขึ้นมา เพื่อใช้แทนเนื้อหาของหนังสือ บทความ งานวิจัย วิทยานิพนธ์หรือทรัพยากรสารสนเทศนั้นๆ
หัวเรื่องที่ใช้ในการค้นหานั้น มาจากที่ไหนใครเป็นผู้กำหนดขึ้น? โดยปกติแล้วคำหรือวลีที่กำหนดให้เป็นหัวเรื่อง จะนำมาจากคู่มือหัวเรื่องที่ใช้กันเป็นมาตรฐานในห้องสมุดหรือหน่วยงานที่ให้บริการสารสนเทศ ทั้งในประเทศไทยและในต่างประเทศ (โอย...เรื่องมันย๊าววว...ยาว...) ว่างๆ จะเล่าให้ฟังเกี่ยวกับหลักการให้หัวเรื่องต่อไป...เพื่อจะได้ค้นเก่งๆ
แต่ตอนนี้..เอาเป็นว่า ง่ายๆ สั้นๆ ให้นึกถึง หัวเรื่องใหญ่และเรื่องย่อยเอาไว้ เช่น หัวเรื่องที่ต้องการค้นหา คือ คณิตศาสตร์ นี่คือหัวเรื่องใหญ่ ภายใต้หัวเรื่องใหญ่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ จะมีเรื่องย่อยๆ ซ่อนอยู่เช่น การบวก การลบ การคูณ การหาร เป็นต้น
              1.4 คำสำคัญ (Keywords) คือ การค้นหาด้วยคำหรือวลีที่กำหนดขึ้นมา เพื่อใช้แทนเรื่องที่ต้องการค้นหา โดยทั่วไปคำสำคัญจะมีลักษณะที่สั้น กระทัดรัด ได้ใจความ มีความหมาย เป็นคำนามหรือเป็นศัพท์เฉพาะในแต่ละสาขาวิชา
จะกำหนดคำสำคัญอย่างไร? ง่ายๆ คือ กำหนดมาจากคำที่อยู่ในชื่อเรื่องและหัวเรื่องที่เราต้องการค้นหานั่นเอง
การค้นหาด้วยคำสำคัญนั้น ระบบจะทำการค้นหาคำที่ปรากฏอยู่ในชื่อเรื่อง ไม่ว่าจะอยู่ต้นเรื่อง กลางเรื่องหรือท้ายเรื่อง
              ยกตัวอย่าง การกำหนดคำสำคัญเพื่อใช้ค้นหา เช่น
รายงานการวิจัย เรื่อง การปรับปรุงคุณภาพและการเพิ่มผลผลิตข้าวหอมมะลิที่มีความสามารถในการทนแล้งโดยการใช้
เทคโนโลยีชีวภาพและพันธุวิศวกรรม
ผู้ค้น จะต้องดึงคำสำคัญที่อยู่ในชื่อเรื่องออกมา เพื่อใช้ค้นหา ซึ่งก็ไม่ยากหากดูข้อ 1.4 ประกอบ จากชื่อเรื่องดังกล่าว พบว่า มี Keyword หลักๆ อยู่ 3 คำ ด้วยกัน คือ ข้าวหอมมะลิ, เทคโนโลยีชีวภาพและพันธุวิศวกรรม นี่คือตัวอย่างง่ายๆ ของการกำหนดคำสำหรับใช้ค้นหา
รู้จักการค้นหาแบบง่ายๆ กันแล้ว ลองมาดูการค้นหาแบบขั้นสูงกันบ้างนะคะ...

          2. การค้นหาแบบขั้นสูง (Advanced Search) เป็นการค้นหาที่ซับซ้อนมากกว่าแบบพื้นฐาน ซึ่งมีเทคนิคหรือรูปแบบการค้นที่จะช่วยให้ผู้ค้นสามารถจำกัดขอบเขตการค้นหาหรือค้นแบบเจาะจงได้มากขึ้น เพื่อให้สามารถค้นหาข้อมูลได้ที่ตรงกับความต้องการมากที่สุด
             2.1 การสืบค้นข้อมูล โดยใช้ตรรกบูลีน (Boolean Logic) หรือการค้นหาโดยใช้ Operator เป็นการค้นหา โดยใช้คำเชื่อม 3 ตัว คือ AND, OR, NOT ดังนี้
- AND ใช้เชื่อมคำค้น เพื่อจำกัดขอบเขตการค้นหาให้แคบลง เช่นต้องการค้นหาคำว่าสัมตำที่เป็นอาหาร มีรูปแบบการค้นดังนี้ คือ
ส้มตำ AND อาหาร หมายถึง ต้องการค้นหาคำว่า ส้มตำ และคำว่า อาหาร 
- OR ใช้เชื่อมคำค้น เพื่อขยายขอบเขตให้กว้างขึ้น เช่น
สัมตำไทย OR ส้มตำปูปลาร้า (โอย..น้ำยาย..ไหยยยย..แซ๊บ..แซบ..เด้อ) หมายถึง ต้องการค้นหาคำว่า สัมตำไทย และ ส้มตำปูปลาร้า หรือค้นหาคำใดคำหนึ่งก็ได้
- NOT ใช้เชื่อมคำค้น เพื่อจำกัดขอบเขตให้แคบลง เช่น ต้องการค้นหาคำว่า
ส้มตำ AND อาหาร NOT เพลง หมายถึง ต้องการค้นหา คำว่า ส้มตำ ที่เป็นอาหาร ไม่เอาส้มตำที่เป็นเพลง เป็นต้น 
             2.2 เทคนิคการตัดคำ (Truncation) 
2.3 เทคนิคการจำกัดคำค้น (Limit Search) หรือการใช้

 

 

guest profile guest

Google จะใช้ and (และ) อยู่ในประโยคเสมอ เช่น ค้นหา harvest moon back to nature. Google จะค้นหาแบบ harvest AND moon AND back… (พูดง่ายๆคือค้นหาแบบแยกคำ)

  1. การใช้ OR (หรือ) คือการให้ Google หาข้อมูลมากขึ้นจาก คำA และ คำB (พูดง่ายๆ คือนำผลที่ได้ มารวมกันรวมกัน) วิธีใช้ พิมพ์ OR ด้วยตัวใหญ่ระหว่างคำที่ต้องการ เช่น vacation london OR paris คือหาทั้งใน London และ Paris
  2. Google จะละคำทั่วๆไป (เช่น the, to, of) และตัวอักษรเดี่ยว เพราะจะทำให้ค้นหาช้าลง แต่ถ้าคำ พวกนั้นสามารถช่วยให้หาข้อมูลง่ายขึ้น ก็ต้องใช้เครื่องหมาย + ช่วยโดยนำไปอยู่หน้าคำนั้น (ต้องเว้นวรรคก่อนด้วย) เช่น back +to nature final fantasy +x
  3. Google สามารถกันขอบเขตการค้นหาให้เล็กลงด้วยการใช้ Advanced Search หรือ การค้นหา แบบพิเศษ ใน Google ภาษาไทย
  4. Google สามารถตัดคำพ้องรูปได้โดยใช้เครื่องหมาย - ช่วยโดยการนำไปอยู่คำที่จะตัด เช่น คำว่า bass มี 2 ความหมายคือ เกี่ยวกับปลา และดนดรีเราจะตัดที่มีความหมายเกี่ยว กับดนตรีออกโดยพิมพ์ bass -music หมายความว่า bass ที่ไม่มีคำว่า music นอกจากนี้มันยังสามารถตัดอย่างอื่นได้อีก เช่น “front mission 3″ -filetype:pdf หมายความว่า เรื่องเกี่ยวกับ front mission 3 แต่ไม่แสดงไฟล์ PDF
  5. การค้นหาแบบทั้งวลี (คือการค้นหาทั้งกลุ่มคำ) ให้ใช้เครื่องหมาย ” ” เช่น “Breath of fire IV”
  6. Google สามารถแปลเวปภาษา Italian, French, Spanish, German, และ Portuguese เป็น ภาษาอังกฤษได้ (โดยคลิ้กที่คำว่า “Translate this page” ด้านข้างชื่อเวป)
  7. Google สามารถหาไฟล์ในรูปแบบอื่นๆที่ไม่ใช่ HTML ได้ ประเภทไฟล์ที่รองรับคือ
  8. Google สามารถเก็บ Cached ของเวปที่จะเข้าชมไว้ได้ (โดยคลิ้กที่ Cached หรือ ถูกเก็บไว้ ใน Google ภาษาไทย) ประโยชน์ของมันคือช่วยให้เราสามารถเข้าเวปบางเวปที่อาจโดนลบไปแล้ว โดย ข้อมูลที่ได้เป็นข้อมูลก่อนถูกลบ (ใหม่สุดที่มันจะมีได้)
  9. Google สามารถค้นหาหน้าที่คล้ายกัน (โดยคลิ้ก Similar pages หรือ หน้าที่คล้ายกัน ใน Google ภาษาไทย) โดยจะค้นหาข้อมูลที่คล้ายๆ กันให้เรา เช่น ถ้าเรากำลังหาข้อมูลการวิจัย ความสามารถนี้จะ ช่วยให้หาข้อมูลได้มากมายในเวลาที่รวดเร็วโดยไม่ต้องเป็นห่วงเรื่อง keyword
  10. Google สามารถค้นหา link ทั้งหมดที่เชื่อมไปยังเวปนั้นได้ วิธีใช้ link:ชื่อ URL เช่น ink:www.google.com และคุณไม่สามารถใช้ความสามารถนี้ร่วมกับการหาแบบอื่นๆ ได้
  11. Google สามารถค้นหาเวปที่จำเพาะเจาะจงได้ โดยพิมพ์ คำที่คุณต้องการเจาะจง site:ชื่อ URL เช่น ถ้าคุณต้องการหาเวปเกี่ยวกับการเข้า (admission) มหาวิทยาลัย Stanford ให้พิมพ์ admission site:www.stanford.edu
  12. ถ้าคุณมีเวลาน้อย (และคิดว่าโชคดี) Google มีบริการการค้นหาด่วน (ชื่อบริการ I’m Feeling Lucky) โดยที่ Google จะนำเวปที่อยู่ลำดับแรกของการค้นหา ส่งให้คุณเลย (link ไปเวปนั้นให้เสร็จ) เช่น คุณต้องการค้นหาเวปมหาวิทยาลัย Stanford อย่างด่วนให้พิมพ์ Stanford แล้วกด I’m Feeling Lucky หรือ โชคเข้าข้างเราแน่ ใน Google ไทย
  13. Google สามารถหาแผนที่ของสหรัฐอเมริกาได้โดยพิมพ์ ที่อยู่ ชื่อถนน พร้อมด้วยชื่อรัฐ เช่น 165 University Ave Palo Alto CA Google จะจัดการส่งแผนที่คุณภาพสูงมาให้คุณ
  14. Google สามารถหาเบอร์โทร (เฉพาะอเมริกา) หรือพิมพ์เบอร์โทรแล้วหาบริษัทได้โดยพิมพ์first name (or first initial), last name, city (state is optional) phone number, including area codefirst name (or first initial), last name, state last name, city, statefirst name (or first initial), last name, area code last name, zip codefirst name (or first initial), last name, zip code

แล้วแต่ว่าคุณจะใช้แบบไหน

  1. Google สามารถค้นหา Catalog สินค้าได้ (เข้าไปที่ http://catalogs.google.com)/
  2. นอกจากนี้มันยังสามารถคำนวนเลขได้ด้วยนะครับ ลองใส่โจทย์เลขลงไปในช่อง Search ดูสิ เช่น 52869-8956 หรือ 562475+8422 แล้วกด enter ดู จริงๆ มันยังแปลงค่า เช่น จากไมล์เป็นกิโลเมตร หรือจากเซนติเมตรเป็นนิ้วได้ แค่ใส่ลงไป เช่น ใส่ว่า 130 miles to kilometer ก็จะได้ผลออกมาเป็นกิโลเมตร เป็นต้น
  3. นอกจากนี้ยังแปลงค่าเงินได้อีกด้วย ใส่ลงไปในช่องค้นหาว่า 50 USD to baht ก็จะได้อัตราแลกเปลี่ยนเงินจากดอลลาร์เป็นบาท หรือจะเป็นค่าอื่น ก็แค่เปลี่ยนสกุลเงิน แล้วตามท้ายว่า To baht ก็จะได้อัตราแลกเปลี่ยนแล้วครับ ไปลองดูเลย เวิร์กมาก
    เป็นไงครับ เทคนิกการใช้ก็มีมากมายที่พอรู้แล้ว เราก็จะค้นหาข้อมูล หรือใช้ประโยชน์จาก Google ได้มากขึ้น ไปลองเล่นดูนะครับ แล้วเจอกันใหม่ศุกร์หน้าครับ

 

guest profile guest
เทคนิคการหาข้อมูล

Search Engine เป็นเครื่องมือที่ทรงคุณค่า แต่ในทางกลับกันก็สร้างโทษมหันต์ จากสถิติพบว่าเว็บไซต์ที่ค้นหาจาก Google มีเว็บไซต์ที่มีประโยชน์ไม่ถึง 20% ที่เหลือเป็นเว็บที่ไม่มีประโยชน์เท่านั้นยังไม่พอยังเป็นโทษด้วย เช่นเว็บเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจาร หรือเนื้อหาไม่เหมาะสมคาดว่ามีมากกว่า 20-40% ของเว็บทั้งหมด


ข้อควรจำเกี่ยวกับเว็บไซต์ Google
    จงท่องไว้ว่า Google เป็นเว็บที่อันตรายมีหลายประเทศที่มีการ บล็อกเว็บไซต์นี้ รายการที่อยู่ใน 10 ลำดับแรกถ้าไม่ใช่สุดฮิตจริงๆ ก็มีเป้าหมายในการตลาด รายการที่อยู่หลังๆ ส่วนใหญ่จะมีเปอร์เซนต์ที่ซ่อนข้อมูลที่มีค่า และเว็บสุดแย่ รูปภาพทั้งหมดที่ปรากฎใน Google ให้คิดว่ามีลิขสิทธิ์นำไปใช้เพื่อสาธารณะไม่ควร ระวังติดคุก ยกเว้น แต่เจ้าของเว็บจะยินยอมให้ใช้ เราสามารถเลือกค้นหา ซึ่งเป็นจุดเด่นเว็บนี้ หารูป หรือเข้าในสารระบบ กลุ่มข่าวได้ด้วย 
ดังนั้นเพื่อให้เราเข้าใจ และใช้เครื่องมือที่มีทั้งคุณและโทษนี้จึงมีคำแนะนำวิธีการใช้ดังนี้
๑. ไม่ควรใช้เครื่อง Notebook หรือเครื่องประจำตัว
ถ้าจำเป็นต้องใช้แนะนำให้ติดตั้งเครื่องมือป้องกันเต็มพิกัด
Update Patch ใหม่สุด มี Personal firewall มี Antivirus ที่อัพเดต Signature ใหม่สุดๆ AntiSpyware มี IDS/IPS ประจำเครื่องยิ่งดี
ปิดบริการบนเครื่องที่ไม่จำเป็น โดยเฉพาะการใช้ NetBIOS สำหรับเครื่อง Windows และ NFS ในเครื่อง Unix
๒. เมื่อ Browser ทำการขึ้นข้อความใดๆให้เราเลือก No ไว้ก่อน ถ้าอ่านแล้วงงๆ
๓. เมื่อเข้าลิงค์จากรายการที่ค้นหาแล้ว ต้องลงทะเบียนชื่อแนะนำให้ใช้ข้อมูลที่ได้รับผลกระทบน้อยที่สุด เช่นเบอร์โทรศัพท์, Free E-mail เนื่องจากผลของเว็บที่ค้นหาเหล่านี้ส่วนใหญ่เกิน 20% ที่พบมีวัตถุประสงค์ร้าย ชื่อที่ต้องสงสัยในรายการที่ค้นหาพบ เช่นเป็นหมายเลข IP address หรือไม่มีแหล่งข้อมูลยืนยันว่าปลอดภัย ให้ใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ



ขอคุณข้อมูลจาก http://www.khajorn.com/Contents/Googletechnic.htm
guest profile guest
เทคนิคการค้นหาข้อมูลทางอิเทอร์เน็ต 
1.รู้ว่าหาอะไร
2.ใช้เครื่องมีอการค้นหาเว็บไซต์อื่นด้วยเพราะแต่ละเว็บไซต์จะลิงค์เนื้อหาไม่เหมือนกัน เช่น google.com,yahoo.com,looksmart.com
3.ระบุชื่อข้อมุลที่เจาะจงมากที่สุด เช่น ความหมาย.........,ความหมายของ...........,
4.เว็บไซต์ส่วนใหญ่จะไม่อ่านคํากิริยา,คําคุณศัพท์และคําสันธาน
5.การค้นหาด้วยวลี โดยการใส่เครื่องหมาย"......."

6.ใช้เครื่องหมาย*ช่วยในการค้นหาเช่น retriev* แทนคํา retriev
7.ใส่คําค้นหาเป็นภาษาอังกฤษเป็นพิมพ์เล็ก
8.ใส่หัวเรื่องหลักไว้ส่วนด้านหน้าของการค้นหาเนื่องจากเครื่องมือค้นหาจะหาจากคําแรกเสมอ


guest profile guest

เทคนิคการค้นหาข้อมูลด้วย Google

วิธีที่หนึ่ง

พิมพ์คำเหล่านี้ ใน Google Search

(1) " parent directory " /spectralab 4.3213/ -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

(2) " parent directory " DVDRip -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

(3) " parent directory "Xvid -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

(4) " parent directory " Gamez -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

(5) " parent directory " MP3 -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

(6) " parent directory " Name of Singer or album -xxx -html -htm -php -shtml -opendivx -md5 -md5sums

หมายเหตุ ให้คุณเปลี่ยน คำที่ตามหลัง parent directory เช่น MP3 Gamez appz DVDRip เป็นสิ่งที่คุณอยากได้แล้วก้อค้นหา คุณจะพบกับ ความมหัศจรรย์ใน Google

 

วิธีที่สอง

พิมพ์คำต่อไปนี้ใน Google

?intitle:index.of? mp3

จากนั้นแค่เพิ่มชื่อ เพลง อัลบั้ม นักร้อง ลงไป เช่น ?intitle:index.of? mp3 myfavoritesongs

 

วิธีที่สาม

พิมพ์คำต่อไปนี้ใน Google

inurl:micr0s0f filetype:iso

จากนั้น ก้อเปลี่ยน คำว่า micr0s0f กับคำว่า iso เป็นคำที่คุณต้องการ เช่น inurl:myc0mpany filetype:zip

 

เพิ่มเติม

1.Google จะใช้ and (และ) อยู่ในประโยคเสมอ เช่น ค้นหา harvest moon back to nature Google จะค้นหาแบบ harvest AND moon AND back... (พูดง่ายๆคือค้นหาแบบแยกคำ)

2. การใช้ OR (หรือ) คือการให้ Google หาข้อมูลมากขึ้นจาก คำA และ คำB (พูดง่ายๆ คือนำผลที่ได้ มารวมกันรวมกัน) วิธีใช้ พิมพ์ OR ด้วยตัวใหญ่ระหว่างคำที่ต้องการ เช่น vacation london OR paris คือหาทั้งใน London และ Paris

3. Google จะละคำทั่วๆไป (เช่น the, to, of) และตัวอักษรเดี่ยว เพราะจะทำให้ค้นหาช้าลง แต่ถ้าคำพวกนั้นสามารถช่วยให้หาข้อมูลง่ายขึ้น ก็ต้องใช้เครื่องหมาย + ช่วยโดยนำไปอยู่หน้าคำนั้น (ต้องเว้นวรรคก่อนด้วย) เช่น back +to nature หรือ final fantasy +x

4. Google สามารถกันขอบเขตการค้นหาให้เล็กลงด้วยการใช้ Advanced Search หรือ การค้นหา แบบพิเศษ ใน Google ภาษาไทย

5. Google สามารถตัดคำพ้องรูปได้โดยใช้เครื่องหมาย - ช่วยโดยการนำไปอยู่คำที่จะตัด เช่น คำว่า bass มี 2 ความหมายคือ เกี่ยวกับปลา และดนตรีเราจะตัดที่มีความหมายเกี่ยวกับดนตรีออกโดยพิมพ์ bass -music หมายความว่า bass ที่ไม่มีคำว่า music นอกจากนี้มันยังสามารถตัดอย่างอื่นได้อีก เช่น "front mission 3" -filetype pdf หมายความว่า เรื่องเกี่ยวกับ front mission 3 แต่ไม่แสดงไฟล์ PDF

6. การค้นหาแบบทั้งวลี (คือการค้นหาทั้งกลุ่มคำ) ให้ใช้เครื่องหมาย " " เช่น "Breath of fire IV"

7. Google สามารถแปลเว็บภาษา Italian, French, Spanish, German, และ Portuguese เป็น ภาษาอังกฤษได้ (โดยคลิ้กที่คำว่า "Translate this page" ด้านข้างชื่อเว็บ)

8. Google สามารถหาไฟล์ในรูปแบบอื่นๆที่ไม่ใช่ HTML ได้ ประเภทไฟล์ที่รองรับคือ

Adobe Portable Document Format (นามสกุลของไฟล์ pdf)

Adobe PostScript (นามสกุลของไฟล์ ps)

Lotus 1-2-3 (นามสกุลของไฟล์ wk1, wk2, wk3, wk4, wk5, wki, wks, wku)

Lotus WordPro (นามสกุลของไฟล์ lwp)

MacWrite (นามสกุลของไฟล์ mw)

Microsoft Excel (นามสกุลของไฟล์ xls)

Microsoft PowerPoint (นามสกุลของไฟล์ ppt)

Microsoft Word (นามสกุลของไฟล์ doc)

Microsoft Works (นามสกุลของไฟล์ wks, wps, wdb)

Microsoft Write (นามสกุลของไฟล์ wri)

Rich Text Format (นามสกุลของไฟล์ rtf)

Text (นามสกุลของไฟล์ ans หรือ txt)

วิธีใช้ filetype:นามสกุลของไฟล์ เช่น "Chrono Cross" filetype:pdf หมายความว่าเอกสารของ Chrono Cross ที่เป็น PDF และมันยังมีความสามารถดูไฟล์เหล่านั้นในรูปแบบของ HTML ได้ (โดยคลิ้ก View as HTML หรือ รูปแบบ HTML ใน Google ไทย)

9. Google สามารถเก็บ Cached ของเว็บที่จะเข้าชมไว้ได้ (โดยคลิ้กที่ Cached หรือ ถูกเก็บไว้ ใน Google ภาษาไทย) ประโยชน์ของมันคือช่วยให้เราสามารถเข้าเว็บบางเว็บที่อาจโดนลบไปแล้ว โดยข้อมูลที่ได้เป็นข้อมูลก่อนถูกลบ (ใหม่สุดที่มันจะมีได้)

10.Google สามารถค้นหาหน้าที่คล้ายกัน (โดยคลิ้ก Similar pages หรือ หน้าที่คล้ายกัน ใน Google ภาษาไทย) โดยจะค้นหาข้อมูลที่คล้ายๆ กันให้เรา เช่น ถ้าเรากำลังหาข้อมูลการวิจัย ความสามารถนี้จะช่วยให้หาข้อมูลได้มากมายในเวลาที่รวดเร็วโดยไม่ต้องเป็น ห่วงเรื่อง keyword

11.Google สามารถค้นหา link ทั้งหมดที่เชื่อมไปยังเว็บนั้นได้ วิธีใช้ link:ชื่อ URL เช่น link:www.google.com แต่คุณไม่สามารถใช้ความสามารถนี้ร่วมกับการหาแบบอื่นๆ ได้

12.Google สามารถค้นหาเว็บที่จำเพาะเจาะจงได้ โดยพิมพ์ คำที่คุณต้องการเจาะจง site:ชื่อ URL เช่น ถ้าคุณต้องการหาเว็บเกี่ยวกับการเข้า (admission) มหาวิทยาลัย Stanford ให้พิมพ์ admission site:www.stanford.edu

13.ถ้าคุณมีเวลาน้อย (และคิดว่าโชคดี) Google มีบริการการค้นหาด่วน (ชื่อบริการ I'm Feeling Lucky) โดยที่ Google จะนำเว็บที่อยู่ลำดับแรกของการค้นหา ส่งให้คุณเลย (link ไปเว็บนั้นให้เสร็จ) เช่น คุณต้องการค้นหาเว็บมหาวิทยาลัย Stanford อย่างด่วนให้พิมพ์ Stanford แล้วกด I'm Feeling Lucky หรือ ใช่เลย! เจอแน่ๆ ใน Google ไทย

14.Google สามารถหาแผนที่ของสหรัฐอเมริกาได้โดยพิมพ์ ที่อยู่ ชื่อถนน พร้อมด้วยชื่อรัฐ เช่น 165 University Ave Palo Alto CA Google จะจัดการส่งแผนที่คุณภาพสูงมาให้คุณ

15.Google สามารถหาเบอร์โทร (เฉพาะอเมริกา) หรือพิมพ์เบอร์โทรแล้วหาบริษัทได้โดยพิมพ์

first name (or first initial), last name, city (state is optional)

first name (or first initial), last name, state

first name (or first initial), last name, area code

first name (or first initial), last name, zip code

phone number, including area code

last name, city, state

last name, zip code

แล้วแต่ว่าคุณจะใช้แบบไหน

16.Google สามารถค้นหา Catalog สินค้าได้ (เข้าไปที่ http://catalogs.google.com)

17.Google สามารถเก็บข้อมูลลักษณะการใช้ที่คุณต้องการได้โดยเข้าไปที่ Preferences หรือ ตัวเลือก ใน Google ไทย

เครดิต falcoa_th : http://main-it.blogspot.com/2009/06/google.html

 

วิธีที่ 1-3 ทดลองใช้แล้วยัง คิดว่า อืม ยังไม่เห็นผลสัมฤทธิ์ มาก อาจจะช่วยทำให้ข้อมูลที่ค้นหา แคบลง

แต่การใช้เครื่อง วงเล็บ บวก ลบ มาช่วยนั้นใช้ประจำและได้ผลดีอยู่

 

ที่มา  http://www.oknation.net/blog/brave/2010/01/03/entry-1

guest profile guest

เทคนิคการค้นหาข้อมูลบน Internet

 

ทุกท่านคงได้ทราบมาแล้วว่า Internet มีข้อมูลอย่างมากมายมหาศาล แต่บ่อยครั้งที่เราต้องการข้อมูลบางอย่างที่แน่ใจว่ามี หรือน่าจะมีใน Internet แต่กลับหาไม่พบ


ปกติแล้วการเข้า Website เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ต้องการในทันทีทันใดนั้น วิธีการที่ดีที่สุดคือ เราทราบ URL ของ Web Page นั้น ๆ แล้วป้อนเข้าไปในช่อง Address ของ Web Browser เช่น


ซึ่งเป็น URL ของ Website ที่แสดงรายงานผู้ป่วยโรค SARS ซึ่งกำลังเป็นหัวข้อที่สนใจกันมากในขณะนี้ กรณีนี้เราได้ทราบ URL มา จึงได้ข้อมูลที่ต้องการอย่างรวดเร็ว แต่มีบ่อยครั้งที่เราไม่ทราบ URL พวกนี้ แต่ต้องการหาข้อมูลที่ต้องการให้ได้อย่างรวดเร็ว ฉบับนี้จะแนะนำเทคนิคการค้นหาข้อมูลในInternet โดยใช้ Search Engine จาก Web site ที่เปิดให้บริการ

ค้นหาข้อมูลบน Intenet

 

Search Engine ที่นิยมใช้

Search Engine ที่เป็นที่นิยมของคนทั่วโลก ได้แก่

http://www.google.com http://www.altavista.com http://www.yahoo.com
http://www.infoseek.com http://www.lycos.com http://www.webcrawler.com
สำหรับ Search Engine ที่สามารถค้นหาคำภาษาไทย และค้นหา Web Site ของไทย ได้แก่
http://www.google.com http://www.siamguru.com http://www.thaiseek.com http://search.cscoms.com/

การใช้ Search Engine หาข้อมูลที่ต้องการ

อันดับแรกต้องเข้าใจว่า Search Engine แต่ละแห่งนั้น แม้จะใช้ค้นหาข้อมูลบน Web เหมือนกัน แต่อาจจะมีวิธีการใช้งานที่แตกต่างกันไป ถ้าจะใช้ค้นหาให้ได้ประสิทธิภาพจริง ๆ ควรอ่านวิธีการใช้งานของ Search Engine นั้น ๆ ด้วย สำหรับหลักการใช้ Search Engine โดยทั่วไป เพื่อค้นหาข้อมูลที่ต้องการ มีดังนี้


1. ค้นหาจาก Directory หรือ Category

Web Site ที่ใช้ค้นหาส่วนใหญ่มักมีการจัดทำหมวดหมู่ (Category หรือ Directory) ของข้อมูลต่าง ๆ ไว้แล้ว ถ้าเราทราบว่าสิ่งที่เราต้องการค้นหา ควรจะอยู่ในหมวดหมู่หรือหัวข้อใด ก็ควรเข้าไปดูและตรวจสอบในหมวดหมู่ดังกล่าว ซึ่งอาจทำให้ได้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ต้องการมากขึ้นและยังมีโอกาสเลือกสิ่งที่น่าสนใจเพิ่มเติมขึ้นอีกด้วย


2. ค้นหาจาก Search Engine หลาย ๆ แห่ง

เนื่องจากข้อมูลใน Internet มีมากมายมหาศาล ไม่มี Search Engine ใดที่จะค้นหาข้อมูลได้ครอบคลุมทั้งหมดได้
ดังนั้นเมื่อค้นหาข้อมูลที่ต้องการไม่พบใน Search Engine ตัวหนึ่ง ควรลองใช้ Search Engine อื่น ๆ อีก เพราะนอกจากจะทำให้ได้ข้อมูลที่ต้องการแล้ว อาจทำให้ได้ข้อมูลที่หลากหลายมากขึ้น


3. การค้นหาโดยใช้คำสำคัญ (Keyword)

คำที่ใช้เป็นหลักในการค้นหา จำเป็นต้องมีความเฉพาะเจาะจง หรือเป็นเอกลักษณ์ เพื่อให้ Search Engine ทำการค้นหาได้ผลลัพธ์ออกมาตรงตามความต้องการ และมีผลลัพธ์ไม่มากเกินไป ทำให้ไม่เสียเวลาอ่านผลลัพธ์ที่ไม่เกี่ยวข้อง

ตัวอย่าง ได้แก่

ต้องการทราบรายละเอียดเกี่ยวกับโครงงานพระไตรปิฎกฉบับคอมพิวเตอร์ และเคยได้ยินชื่อโครงงานว่าชื่อ BUDSIR เราจึงใช้คำว่า “BUDSIR” เป็น Keyword ในการค้นหา

ต้องการตรวจสอบผลการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในปีการศึกษา 2546 สามารถระบุคำว่า “ผล entrance ปี 46” เป็น Keyword สำหรับ Search Engine ที่รองรับการสืบค้นภาษาไทย


4. ใช้ Advanced Search

ในหลายกรณีที่ไม่อาจหาคำที่เฉพาะเจาะจงในการค้นหาได้ จึงจำเป็นต้องใช้หลาย ๆ คำประกอบกัน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ตรงกับความต้องการ Search Engine ส่วนมากจะรองรับการค้นหา โดยใช้คำสั่งที่เรียกว่า Boolean Operator ต่อไปนี้


AND เป็นการบังคับการค้นหา โดยให้ผลลัพธ์ที่ออกมามีคำทั้งหมดที่เราใส่ไว้ เช่น เมื่อทำการค้นหาคำว่า cloning AND dolly ผลลัพธ์ที่ออกมาต้องมีทั้งคำว่า cloning และ dolly ด้วย โดยปกติแล้ว Search Engine ทั่วไปมักใช้ AND เป็นกฎเกณฑ์ในการค้นหาอยู่แล้วเมื่อใส่คำมากกว่า 1 คำในการค้นหา ดังนั้นเมื่อค้นหาคำว่า cloning dolly จะให้ผลเหมือนกับ cloning AND dolly

OR เป็นการบังคับการค้นหาให้ผลลัพธ์มีทั้งคำที่ 1 หรือ คำที่ 2 (หรือทั้ง 2 คำ) กรณีนี้ มีการใช้ไม่มากนัก
เนื่องจากจะได้ผลลัพธ์มากกว่าการใช้ AND แต่หลาย Search Engine ก็รองรับคำสั่งนี้


NOT เป็นการระบุให้ Search Engine ค้นหาคำโดยตัดคำที่ไม่เกี่ยวข้องออกไป เช่น กรณีที่ค้นหาคำว่า cloning

NOT dolly ผลลัพธ์ที่ได้จะมีคำว่า cloning แต่ไม่มีคำว่า dolly

* ใช้ในการหาเฉพาะส่วนของคำ ซึ่งทำได้เฉพาะในบาง Search Engine เท่านั้น


Phrase เป็นการค้นหาโดยใช้วลี เช่น “genetic engineering” ผลลัพธ์ที่ได้ ต้องมีคำที่ 1 ตามด้วยคำที่ 2 เท่านั้น


วิธีการใช้คำสั่ง Boolean Operator เหล่านี้อาจแตกต่างกันออกไปในแต่ละ Search Engine ผู้ใช้บริการควรอ่านวิธีการค้นหาของ Search Engine แต่ละแห่งก่อนใช้งาน ปัจจุบันการค้นหาข้อมูลในลักษณะ Advanced Search นี้มักเป็นลักษณะให้เลือกเติมคำเฉพาะเองด้วยเงื่อนไขต่าง ๆ

 

ที่มา: http://www.cc.mahidol.ac.th/newsletter/

guest profile guest
เทคนิค การค้นหา ข้อมูล  Search Engine
             การค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ปัจจุบันจะมีตัวช่วยในการค้นหามากมายหลายโปรแกรม  แต่การค้นหาด้วยโปรแกรมต่าง ๆ จะสะดวกมากขึ้น จำเป็นจะต้องรู้เทคนิคในการค้นหา  google ก็มีเทคนิคมากมาย  การค้นหาจาก  google มีหลายวิธีให้คุณ หาข้อมูลได้มากขึ้น

1. Google จะใช้ and (และ) อยู่ในประโยคเสมอ เช่น ค้นหา Ohm the handsome back to her จะ
ค้นหาแบบ ohm AND handsome AND back... (พูดง่ายๆคือค้นหาแบบแยกคำ)

2. การใช้ OR (หรือ) คือการให้ Google หาข้อมูลมากขึ้นจาก คำA และ คำB (พูดง่ายๆ คือนำผลที่ได้มา
รวมกันรวมกัน) วิธีใช้ พิมพ์ OR ด้วยตัวใหญ่ระหว่างคำที่ต้องการ เช่น vacation london OR paris คือ
หาทั้งใน London และ Paris

3. Google จะละคำทั่วๆไป (เช่น the, to, of) และตัวอักษรเดี่ยว เพราะจะทำให้ค้นหาช้าลง แต่ถ้าคำ
พวกนั้นสามารถช่วยให้หาข้อมูลง่ายขึ้น ก็ต้องใช้เครื่องหมาย + ช่วยโดยนำไปอยู่หน้าคำนั้น
(ต้องเว้นวรรคก่อนด้วย) เช่น back +to nature final fantasy +x

4. Google สามารถกันขอบเขตการค้นหาให้เล็กลงด้วยการใช้ Advanced Search หรือ การค้นหาแบบ
พิเศษ ใน Google ภาษาไทย

5. Google สามารถตัดคำพ้องรูปได้โดยใช้เครื่องหมาย - ช่วยโดยการนำไปอยู่คำที่จะตัดเช่น คำว่า bass
มี 2 ความหมายคือ เกี่ยวกับปลา และดนดรีเราจะตัดที่มีความหมายเกี่ยวกับดนตรีออกโดยพิมพ์ bass -music
หมายความว่า bass ที่ไม่มีคำว่า music นอกจากนี้มันยังสามารถตัดอย่างอื่นได้อีกเช่น "front mission
3" -filetype:pdf หมายความว่า เรื่องเกี่ยวกับ front mission 3 แต่ไม่แสดงไฟล์ PDF

6. การค้นหาแบบทั้งวลี (คือการค้นหาทั้งกลุ่มคำ) ให้ใช้เครื่องหมาย " " เช่น "Breath of fire IV"

7. Google สามารถแปลเวปภาษา Italian, French, Spanish, German, และ Portuguese เป็น
ภาษาอังกฤษได้ (โดยคลิ้กที่คำว่า "Translate this page" ด้านข้างชื่อเวป)

8. Google สามารถหาไฟล์ในรูปแบบอื่นๆที่ไม่ใช่ HTML ได้ ประเภทไฟล์ที่รองรับคือ

Adobe Portable Document Format (pdf)
Adobe PostScript (ps)
Lotus 1-2-3 (wk1, wk2, wk3, wk4, wk5, wki, wks, wku)
Lotus WordPro (lwp)
MacWrite (mw)
Microsoft Excel (xls)
Microsoft PowerPoint (ppt)
Microsoft Word (doc)
Microsoft Works (wks, wps, wdb)
Microsoft Write (wri)
Rich Text Format (rtf)
Text (ans, txt)

วิธีใช้ filetype:นามสกุลของไฟล์ เช่น "Chrono Cross" filetype:pdf หมายความว่าเอกสารของ
Chrono Cross ที่เป็น PDF และมันยังมีความสามารถดูไฟล์เหล่านั้นในรูปแบบของ HTML ได้ (โดยคลิ้ก
View as HTML หรือ รูปแบบ HTML ใน Google ไทย)

9. Google สามารถเก็บ Cached ของเวปที่จะเข้าชมไว้ได้ (โดยคลิ้กที่ Cached หรือ ถูกเก็บไว้ ใน
Google ภาษาไทย) ประโยชน์ของมันคือช่วยให้เราสามารถเข้าเวปบางเวปที่อาจโดนลบไปแล้ว โดยข้อมูลที่
ได้เป็นข้อมูลก่อนถูกลบ (ใหม่สุดที่มันจะมีได้)

10.Google สามารถค้นหาหน้าที่คล้ายกัน (โดยคลิ้ก Similar pages หรือ หน้าที่คล้ายกัน ใน Google
ภาษาไทย) โดยจะค้นหาข้อมูลที่คล้ายๆ กันให้เรา เช่น ถ้าเรากำลังหาข้อมูลการวิจัย ความสามารถนี้จะ ช่วย
ให้หาข้อมูลได้มากมายในเวลาที่รวดเร็วโดยไม่ต้องเป็นห่วงเรื่อง keyword

11.Google สามารถค้นหา link ทั้งหมดที่เชื่อมไปยังเวปนั้นได้ วิธีใช้ link:ชื่อ URL เช่น
link:www.google.com และคุณไม่สามารถใช้ความสามารถนี้ร่วมกับการหาแบบอื่นๆ ได้

12.Google สามารถค้นหาเวปที่จำเพาะเจาะจงได้ โดยพิมพ์ คำที่คุณต้องการเจาะจง site:ชื่อ URLเช่น
ถ้าคุณต้องการหาเวปเกี่ยวกับการเข้า (admission) มหาวิทยาลัย Stanford ให้พิมพ์admission
site:www.stanford.edu
guest profile guest
เทคนิค การค้นหา ข้อมูล  Search Engine
             การค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ปัจจุบันจะมีตัวช่วยในการค้นหามากมายหลายโปรแกรม  แต่การค้นหาด้วยโปรแกรมต่าง ๆ จะสะดวกมากขึ้น จำเป็นจะต้องรู้เทคนิคในการค้นหา  google ก็มีเทคนิคมากมาย  การค้นหาจาก  google มีหลายวิธีให้คุณ หาข้อมูลได้มากขึ้น

1. Google จะใช้ and (และ) อยู่ในประโยคเสมอ เช่น ค้นหา Ohm the handsome back to her จะ
ค้นหาแบบ ohm AND handsome AND back... (พูดง่ายๆคือค้นหาแบบแยกคำ)

2. การใช้ OR (หรือ) คือการให้ Google หาข้อมูลมากขึ้นจาก คำA และ คำB (พูดง่ายๆ คือนำผลที่ได้มา
รวมกันรวมกัน) วิธีใช้ พิมพ์ OR ด้วยตัวใหญ่ระหว่างคำที่ต้องการ เช่น vacation london OR paris คือ
หาทั้งใน London และ Paris

3. Google จะละคำทั่วๆไป (เช่น the, to, of) และตัวอักษรเดี่ยว เพราะจะทำให้ค้นหาช้าลง แต่ถ้าคำ
พวกนั้นสามารถช่วยให้หาข้อมูลง่ายขึ้น ก็ต้องใช้เครื่องหมาย + ช่วยโดยนำไปอยู่หน้าคำนั้น
(ต้องเว้นวรรคก่อนด้วย) เช่น back +to nature final fantasy +x

4. Google สามารถกันขอบเขตการค้นหาให้เล็กลงด้วยการใช้ Advanced Search หรือ การค้นหาแบบ
พิเศษ ใน Google ภาษาไทย

5. Google สามารถตัดคำพ้องรูปได้โดยใช้เครื่องหมาย - ช่วยโดยการนำไปอยู่คำที่จะตัดเช่น คำว่า bass
มี 2 ความหมายคือ เกี่ยวกับปลา และดนดรีเราจะตัดที่มีความหมายเกี่ยวกับดนตรีออกโดยพิมพ์ bass -music
หมายความว่า bass ที่ไม่มีคำว่า music นอกจากนี้มันยังสามารถตัดอย่างอื่นได้อีกเช่น "front mission
3" -filetype:pdf หมายความว่า เรื่องเกี่ยวกับ front mission 3 แต่ไม่แสดงไฟล์ PDF

6. การค้นหาแบบทั้งวลี (คือการค้นหาทั้งกลุ่มคำ) ให้ใช้เครื่องหมาย " " เช่น "Breath of fire IV"

7. Google สามารถแปลเวปภาษา Italian, French, Spanish, German, และ Portuguese เป็น
ภาษาอังกฤษได้ (โดยคลิ้กที่คำว่า "Translate this page" ด้านข้างชื่อเวป)

8. Google สามารถหาไฟล์ในรูปแบบอื่นๆที่ไม่ใช่ HTML ได้ ประเภทไฟล์ที่รองรับคือ

Adobe Portable Document Format (pdf)
Adobe PostScript (ps)
Lotus 1-2-3 (wk1, wk2, wk3, wk4, wk5, wki, wks, wku)
Lotus WordPro (lwp)
MacWrite (mw)
Microsoft Excel (xls)
Microsoft PowerPoint (ppt)
Microsoft Word (doc)
Microsoft Works (wks, wps, wdb)
Microsoft Write (wri)
Rich Text Format (rtf)
Text (ans, txt)

วิธีใช้ filetype:นามสกุลของไฟล์ เช่น "Chrono Cross" filetype:pdf หมายความว่าเอกสารของ
Chrono Cross ที่เป็น PDF และมันยังมีความสามารถดูไฟล์เหล่านั้นในรูปแบบของ HTML ได้ (โดยคลิ้ก
View as HTML หรือ รูปแบบ HTML ใน Google ไทย)

9. Google สามารถเก็บ Cached ของเวปที่จะเข้าชมไว้ได้ (โดยคลิ้กที่ Cached หรือ ถูกเก็บไว้ ใน
Google ภาษาไทย) ประโยชน์ของมันคือช่วยให้เราสามารถเข้าเวปบางเวปที่อาจโดนลบไปแล้ว โดยข้อมูลที่
ได้เป็นข้อมูลก่อนถูกลบ (ใหม่สุดที่มันจะมีได้)

10.Google สามารถค้นหาหน้าที่คล้ายกัน (โดยคลิ้ก Similar pages หรือ หน้าที่คล้ายกัน ใน Google
ภาษาไทย) โดยจะค้นหาข้อมูลที่คล้ายๆ กันให้เรา เช่น ถ้าเรากำลังหาข้อมูลการวิจัย ความสามารถนี้จะ ช่วย
ให้หาข้อมูลได้มากมายในเวลาที่รวดเร็วโดยไม่ต้องเป็นห่วงเรื่อง keyword

11.Google สามารถค้นหา link ทั้งหมดที่เชื่อมไปยังเวปนั้นได้ วิธีใช้ link:ชื่อ URL เช่น
link:www.google.com และคุณไม่สามารถใช้ความสามารถนี้ร่วมกับการหาแบบอื่นๆ ได้

12.Google สามารถค้นหาเวปที่จำเพาะเจาะจงได้ โดยพิมพ์ คำที่คุณต้องการเจาะจง site:ชื่อ URLเช่น
ถ้าคุณต้องการหาเวปเกี่ยวกับการเข้า (admission) มหาวิทยาลัย Stanford ให้พิมพ์admission
site:www.stanford.edu
guest profile guest

เทคนิคการค้นหาข้อมูล (Search Tips)

- เลือกใช้คำที่ชัดเจนหรือเฉพาะเจาะจงไปเลย เช่น คุณต้องการหาข้อมูลของ Britney Spears ก็ให้ใช้คำว่า Britney Spears ไปเลยดีกว่าใช้คำว่านักร้อง

- ไม่ต้องใช้คำว่า And เมื่อใส่คำลงไปมากกว่า 1 คำ เช่น ต้องการข้อมูลท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ก็ให้ใช้แค่ 2 คำคือ ท่องเที่ยว กับ เชียงใหม่ ได้เลย โดยไม่ต้องใส่คำว่า And เพราะ Search Engine จะอ่านคำที่มากกว่า 2 คำเหมือนมีคำว่า And อยู่แล้ว

- คำที่เป็น Common Word เช่น Where How นั้น Search Engine จะตัดออกไปโดยอัตโนมัติ แต่ถ้าอยากใช้ให้ใส่เครื่องหมาย + หรือเครื่องหมายคำพูด เช่น Britney +Who หรือ “Who is Britney” ซึ่งการใส่เครื่องหมาย + ต้องเคาะว่างก่อน 1 ครั้งเสมอ

- ใช้เครื่องหมาย เพื่อไม่เอาคำนั้น เช่น bass –music จะได้ผลลัพธ์ที่มีคำว่า bass แต่ไม่มีคำว่า music

- เครื่องหมาย ~ ใช้เพื่อค้นหาข้อมูลที่มีความหมายเหมือนกัน เช่น ใช้ค้นหาข้อมูลที่มีความหมายเหมือนกัน เช่น ~food ~facts จะได้ผลลัพธ์คือ nutrition และ cooking information มาด้วย

การค้นหาข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตนั้นโดยทั่วไปแล้วอาจทำได้หลายวิธีเช่น

- ค้นหาจากสารบนเว็บ (Web Directories) ซึ่งเป็นการค้นหาข้อมูล โดยเลือกจากกลุ่มรายชื่อต่างๆ ที่แต่ละเว็บไซต์จัดหมวดหมู่ไว้แล้ว

- ค้นหาจากเว็บที่สืบค้น เป็นการค้นหาจากเว็บโดยแต่ละเว็บจะมีโปรแกรมสืบค้นข้อมูล (Search Engine) ที่เขียนขึ้นมาเพื่อช่วยในการค้น เช่น www.google.com, www.google.co.th, www.msn.com หรือ www.yahoo.com เป็นต้น น่าสังเกตว่าเว็บไซต์ที่เป็นที่นิยมนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นทั้งแบบสารบบเว็บและ Search Engine ด้วย

- ค้นหาโดยทำการสืบค้นจากหลายๆ Search Engine พร้อมกัน (Meta Search) เช่น www.search.com, www.dogpile.com หรือ http://www.mamma.com เป็นต้น

- ค้นหาจากโปรแกรมสำเร็จรูปที่เขียนขึ้นมาเพื่องานนี้โดยเฉพาะ เช่น WebFerret หรือ Copernic

Search Engine ยอดนิยม

            Search Engine ที่นิยมใช้ในปัจจุบันนี้มีมากมายเช่น Google, Yahoo, Msn, Ask, AOL, Excite, Lycos, AltaVista, Hotbot, All the Web และ Teoma เป็นต้น

            เนื่องจากในปัจจุบัน Google เป็นเว็บที่มีทั้งสารบบเว็บและ Search Engine ที่มีความสามารถในการค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว จึงมีผู้นิยมใช้มากที่สุดในประเทศและต่างประเทศในที่นี้จึงขออธิบายเฉพาะการค้นหาโดยใช้เว็บ Google เพื่อเป็นแนวทางเบื้องต้นในการสืบค้นข้อมูลซึ่งสามารถค้นหาข้อมูลได้หลายวิธีการดังต่อไปนี้

ค้นหาโดยใช้สารบบเว็บของ Google

            การค้นหาด้วยวิธีนี้มีข้อดีคือ ทำได้ง่ายมาก เพราะเป็นการเลือกจากสารบบหรือกลุ่มรายชื่อต่างๆ ที่คิดว่าเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการหา และเข้าไปดูว่าในกลุ่มรายชื่อนั้นมีเว็บไซต์ใดที่เกี่ยวข้องอยู่บ้าง การค้นหาแบบนี้มักจะได้ผลลัพธ์ที่ตรงตามต้องการเพราะแต่ละเว็บไซต์ที่ถูกรวบรวมไว้ได้ถูกพิจารณาแล้วว่าเกี่ยวกับเรื่องนั้นจริงๆ แต่การค้นวิธีการนี้ก็มีข้อเสีย คือ ถ้าไม่สามารถจำแนกว่าสิ่งต้องการหานั้นควรอยู่ในกลุ่มใดก็ไม่สามาระค้นหาต่อไปได้ หรือถ้ารายชื่อที่รวบรวมไว้มีไม่มากพอก็อาจทำให้ไม่ได้ผลตามต้องการ ซึ่งเราจะค้นหาจากสารบบหรือกลุ่มรายชื่อต่างๆของ Google

ค้นหาโดยใช้ Search Engine ของ Google

            การค้นหาด้วย Search Engine เป็นการค้นหาโดยนำคำที่ต้องการไปเปรียบเทียบกับฐานข้อมูลที่ทางผู้ให้บริการ Search Engine ได้รวบรวมไว้เพื่อดูว่ามีเว็บไซต์ใดบ้างที่มีคำเหล่านี้อยู่ หลังจากนั้นจึงนำผลลัพธ์ที่ได้มาแสดงให้กับผู้ทำการค้นหา การเลือกคำเพื่อนำไปใช้ในการค้นหานี้ หากเลือกใช้คำไม่เหมาะสมหรือคำที่ใช้มีความหมายคลุมเครือ หรือคำที่ค้นไม่ใช่คำที่เป็นสาระสำคัญ ผลลัพธ์ที่ได้ก็อาจเกิดความผิดพลาดคลาดเคลื่อนได้ ดังนั้นผู้ที่จะค้นหาโดยวิธีนี้ต้องมีความชำนาญในการเลือกใช้คำเพื่อจะได้ผลลัพธ์ตรงตามต้องการ

เครื่องหมายและคำสั่งพิเศษประกอบการค้นหาใน Google

            หลังจากที่เรียกเว็บ Google แล้ว และต้องการพิมพ์ข้อความเพื่อการค้นหาในช่องสี่เหลี่ยมนั้น เราอาจพิมพ์คำที่ต้องการค้นมากกว่าหนึ่งคำก็ได้ โดยคำแต่ละคำนั้นควรจะเป็นคำที่มีสาระสำคัญและไม่ควรเป็นคำทั่วไป (Common Word) เช่น a, the, of, how หรือ Where เป็นต้น เพราะโดยปกติแล้ว Google จะไม่ค้นหาคำที่เป็นคำทั่วไปเหล่านี้ เนื่องจากจะทำให้ใช้เวลาในการหานานแล้วยังอาจจะได้เว็บเพจที่ไม่ตรงกับที่ต้องการอีกมากมาย แต่ถ้าต้องการค้นคำเหล่านี้หรือต้องการค้นหลายๆคำ ให้มีการเชื่อมต่อกันหรือสัมพันธ์กัน เราจำเป็นต้องใส่เครื่องหมายหรือคำสั่งพิเศษ เพิ่มเติม

            เครื่องหมายหรือคำสั่งพิเศษเพื่อเพิ่มเงื่อนไขในการค้นหานี้มีด้วยกันหลายอย่าง เช่น เครื่องหมาย (+),ลบ (-) หรือเครื่องหมายคำพูด (“  ”) เป็นต้น

เครื่องหมาย

ความหมายของเครื่องหมายใน Google

ไม่ใส่เครื่องหมายใดๆเลยและใช้การเว้นว่างระหว่างคำ

ค้นหาเว็บประกอบด้วยคำที่ต้องการค้นหาทุกคำหรือคำใดคำหนึ่ง

เครื่องหมายคำพูดคร่อมคำที่ต้องการค้นหา (“  ”)

เป็นการค้นหาแบบทั้งวลี (ค้นหาทั้งกลุ่มคำ) โดยจะเชื่อมคำหลายๆคำ ที่อยู่ภายในเครื่องหมายคำพูดให้เป็นคำหรือวลีเดียวกันเพื่อค้นหา

เครื่องหมายบวก (+)

นำคำที่มาบวกไปค้นหาด้วย และก่อนหน้าเครื่องหมายต้องเว้น 1 ตัวอักษร

เครื่องหมายบวก (-)

ค้นหาเว็บไซต์ที่ไม่มีคำๆนี้ มักใช้รวมกับคำอื่นๆหรือเครื่องหมายอื่นๆ และก่อนหน้าเครื่องหมายต้องเว้น 1 ตัวอักษร

 

เครื่องหมาย

ความหมายของคำสั่งพิเศษใน Google

Filetype : สกุลของไฟล์

ค้นหาเฉพาะสกุลไฟล์ที่กำหนด

Site : ชื่อเว็บไซต์

ค้นหาเฉพาะเว็บไซต์ที่กำหนด

Link : ชื่อเว็บไซต์

ค้นหาลิงค์ทั้งหมดที่เชื่อมไปยังเว็บไซต์ที่กำหนด

Date : ตัวเลข

ค้นหาภายในระยะที่กำหนด เช่น Olympics date : 3 หมายถึง ค้นหาคำว่า Olympics ภายในระยะเวลา 3 เดือนที่ผ่านมา เป็นต้น

Define : คำที่กำหนด

ค้นหาเฉพาะคำจำกัดความของคำที่กำหนด

 

เทคนิคในการใช้ Google

            นอกจากเครื่องหมายพิเศษที่กล่าวไปแล้ว ยังมีเทคนิคบางประการที่น่าสนใจเกี่ยวกับการใช้ Google ตัวอย่างเช่น

1.      นอกจากภาษาอังกฤษและภาษาไทยแล้ว Google ยังสามารถปรับตั้งค่าคำสั่งและการแสดงผลเป็นภาษาต่างๆได้อีกมากมาย ตัวอย่างเช่น ภาษาอิตาลี ฝรั่งเศส สเปน เยอรมัน หรือโปรตุเกส เป็นต้น ซึ่งวิธีการปรับนั้นสามารถทำได้โดยคลิกขวาที่คำว่าการตั้งค่าหรือ “Preferences” ที่อยู่ด้านล่างของการค้นหาอย่างละเอียด

2.      Google ยังมีความสามารถค้นหาเว็บเพจที่เขียนด้วยภาษาต่างๆได้อีกมากมาย โดยคลิกขวาคำว่า เครื่องมือเกี่ยวกับภาษาหรือ “Language Tool” ซึ่งอยู่ด้านล่างของ การตั้งค่า

3.      จากคำสั่งพิเศษของ Google ที่กล่าวไปแล้ว จะพบว่าเราสามารถหาไฟล์ในรูปแบบอื่นๆที่ไม่ใช่ HTML ได้ โดยใช้คำสั่งว่า filetype : ตามด้วยนามสกุลของไฟล์ เช่น ค้นหาด้วยคำว่า –“คอมพิวเตอร์” filetype : pdf- จะหมายถึงการค้นหาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับคำว่าคอมพิวเตอร์ที่เป็นไฟล์สกุล PDF และยังมีความสามารถดูไฟล์เหล่านั้นในรูปแบบของ HTML ได้โดยเลือกที่ แสดงเป็นแบบ HTML”

4.      เนื่องจาก Google สามารถค้นหาหน้าที่คล้ายกันได้โดยคลิกที่ “Similar Page” หรือ หน้าที่คล้ายกัน(ใน Google ภาษาไทย) ความสามารถนี้จะช่วยหาข้อมูลได้อีกมากมายในเวลาที่รวดเร็ว

5.      Google สามารถค้นหาลิงก์ทั้งหมดที่เชื่อมไปยังเว็บนั้นได้ โดยใช้คำสั่ง link:ชื่อเว็บที่ต้องการ เช่น link:www.google.com แต่คุณไม่สามารถใช้ความสามารถนี้ร่วมกับการหาแบบอื่นๆได้

6.      ถ้ามีเวลาค้นไม่มากนักและคิดว่าโชคดีพอ Google มีบริการค้นหาด่วน โดยคลิกที่ “I’m Feeling Lucky” หรือ โชคเข้าข้างเราแน่(สำหรับ Google ภาษาไทย) หลังจากนั้น Google จะค้นหาและลิงก์ไปหาเว็บที่ลำดับแรกสุดของการค้นให้ทันทีโดยไม่ต้องคลิก

7.      ในกรณีที่ต้องการค้นหารูปภาพ สามารถทำได้โดยเรียกเว็บ Google และคลิกเลือกที่ “Images” หรือ รูปภาพแล้วพิมพ์ชื่อหรือข้อมูลเกี่ยวกับรูปภาพที่ต้องการค้นหา แล้วคลิก ค้นหารูปภาพจะได้รูปภาพที่ต้องการ เพียงแต่ในบางครั้งมีรูปที่ไม่ต้องการปนมาด้วย ซึ่งต้องเลือกดู

 

ที่มา : จากหนังสือค้นหาขุมทรัพย์ (ข้อมูล) บนอินเตอร์เน็ต

 

guest profile guest

เทคนิคการค้นหาข้อมูล (Search Tips)

- เลือกใช้คำที่ชัดเจนหรือเฉพาะเจาะจงไปเลย เช่น คุณต้องการหาข้อมูลของ Britney Spears ก็ให้ใช้คำว่า Britney Spears ไปเลยดีกว่าใช้คำว่านักร้อง

- ไม่ต้องใช้คำว่า And เมื่อใส่คำลงไปมากกว่า 1 คำ เช่น ต้องการข้อมูลท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ก็ให้ใช้แค่ 2 คำคือ ท่องเที่ยว กับ เชียงใหม่ ได้เลย โดยไม่ต้องใส่คำว่า And เพราะ Search Engine จะอ่านคำที่มากกว่า 2 คำเหมือนมีคำว่า And อยู่แล้ว

- คำที่เป็น Common Word เช่น Where How นั้น Search Engine จะตัดออกไปโดยอัตโนมัติ แต่ถ้าอยากใช้ให้ใส่เครื่องหมาย + หรือเครื่องหมายคำพูด เช่น Britney +Who หรือ “Who is Britney” ซึ่งการใส่เครื่องหมาย + ต้องเคาะว่างก่อน 1 ครั้งเสมอ

- ใช้เครื่องหมาย เพื่อไม่เอาคำนั้น เช่น bass –music จะได้ผลลัพธ์ที่มีคำว่า bass แต่ไม่มีคำว่า music

- เครื่องหมาย ~ ใช้เพื่อค้นหาข้อมูลที่มีความหมายเหมือนกัน เช่น ใช้ค้นหาข้อมูลที่มีความหมายเหมือนกัน เช่น ~food ~facts จะได้ผลลัพธ์คือ nutrition และ cooking information มาด้วย

การค้นหาข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตนั้นโดยทั่วไปแล้วอาจทำได้หลายวิธีเช่น

- ค้นหาจากสารบนเว็บ (Web Directories) ซึ่งเป็นการค้นหาข้อมูล โดยเลือกจากกลุ่มรายชื่อต่างๆ ที่แต่ละเว็บไซต์จัดหมวดหมู่ไว้แล้ว

- ค้นหาจากเว็บที่สืบค้น เป็นการค้นหาจากเว็บโดยแต่ละเว็บจะมีโปรแกรมสืบค้นข้อมูล (Search Engine) ที่เขียนขึ้นมาเพื่อช่วยในการค้น เช่น www.google.com, www.google.co.th, www.msn.com หรือ www.yahoo.com เป็นต้น น่าสังเกตว่าเว็บไซต์ที่เป็นที่นิยมนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นทั้งแบบสารบบเว็บและ Search Engine ด้วย

- ค้นหาโดยทำการสืบค้นจากหลายๆ Search Engine พร้อมกัน (Meta Search) เช่น www.search.com, www.dogpile.com หรือ http://www.mamma.com เป็นต้น

- ค้นหาจากโปรแกรมสำเร็จรูปที่เขียนขึ้นมาเพื่องานนี้โดยเฉพาะ เช่น WebFerret หรือ Copernic

Search Engine ยอดนิยม

            Search Engine ที่นิยมใช้ในปัจจุบันนี้มีมากมายเช่น Google, Yahoo, Msn, Ask, AOL, Excite, Lycos, AltaVista, Hotbot, All the Web และ Teoma เป็นต้น

            เนื่องจากในปัจจุบัน Google เป็นเว็บที่มีทั้งสารบบเว็บและ Search Engine ที่มีความสามารถในการค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว จึงมีผู้นิยมใช้มากที่สุดในประเทศและต่างประเทศในที่นี้จึงขออธิบายเฉพาะการค้นหาโดยใช้เว็บ Google เพื่อเป็นแนวทางเบื้องต้นในการสืบค้นข้อมูลซึ่งสามารถค้นหาข้อมูลได้หลายวิธีการดังต่อไปนี้

ค้นหาโดยใช้สารบบเว็บของ Google

            การค้นหาด้วยวิธีนี้มีข้อดีคือ ทำได้ง่ายมาก เพราะเป็นการเลือกจากสารบบหรือกลุ่มรายชื่อต่างๆ ที่คิดว่าเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการหา และเข้าไปดูว่าในกลุ่มรายชื่อนั้นมีเว็บไซต์ใดที่เกี่ยวข้องอยู่บ้าง การค้นหาแบบนี้มักจะได้ผลลัพธ์ที่ตรงตามต้องการเพราะแต่ละเว็บไซต์ที่ถูกรวบรวมไว้ได้ถูกพิจารณาแล้วว่าเกี่ยวกับเรื่องนั้นจริงๆ แต่การค้นวิธีการนี้ก็มีข้อเสีย คือ ถ้าไม่สามารถจำแนกว่าสิ่งต้องการหานั้นควรอยู่ในกลุ่มใดก็ไม่สามาระค้นหาต่อไปได้ หรือถ้ารายชื่อที่รวบรวมไว้มีไม่มากพอก็อาจทำให้ไม่ได้ผลตามต้องการ ซึ่งเราจะค้นหาจากสารบบหรือกลุ่มรายชื่อต่างๆของ Google

ค้นหาโดยใช้ Search Engine ของ Google

            การค้นหาด้วย Search Engine เป็นการค้นหาโดยนำคำที่ต้องการไปเปรียบเทียบกับฐานข้อมูลที่ทางผู้ให้บริการ Search Engine ได้รวบรวมไว้เพื่อดูว่ามีเว็บไซต์ใดบ้างที่มีคำเหล่านี้อยู่ หลังจากนั้นจึงนำผลลัพธ์ที่ได้มาแสดงให้กับผู้ทำการค้นหา การเลือกคำเพื่อนำไปใช้ในการค้นหานี้ หากเลือกใช้คำไม่เหมาะสมหรือคำที่ใช้มีความหมายคลุมเครือ หรือคำที่ค้นไม่ใช่คำที่เป็นสาระสำคัญ ผลลัพธ์ที่ได้ก็อาจเกิดความผิดพลาดคลาดเคลื่อนได้ ดังนั้นผู้ที่จะค้นหาโดยวิธีนี้ต้องมีความชำนาญในการเลือกใช้คำเพื่อจะได้ผลลัพธ์ตรงตามต้องการ

เครื่องหมายและคำสั่งพิเศษประกอบการค้นหาใน Google

            หลังจากที่เรียกเว็บ Google แล้ว และต้องการพิมพ์ข้อความเพื่อการค้นหาในช่องสี่เหลี่ยมนั้น เราอาจพิมพ์คำที่ต้องการค้นมากกว่าหนึ่งคำก็ได้ โดยคำแต่ละคำนั้นควรจะเป็นคำที่มีสาระสำคัญและไม่ควรเป็นคำทั่วไป (Common Word) เช่น a, the, of, how หรือ Where เป็นต้น เพราะโดยปกติแล้ว Google จะไม่ค้นหาคำที่เป็นคำทั่วไปเหล่านี้ เนื่องจากจะทำให้ใช้เวลาในการหานานแล้วยังอาจจะได้เว็บเพจที่ไม่ตรงกับที่ต้องการอีกมากมาย แต่ถ้าต้องการค้นคำเหล่านี้หรือต้องการค้นหลายๆคำ ให้มีการเชื่อมต่อกันหรือสัมพันธ์กัน เราจำเป็นต้องใส่เครื่องหมายหรือคำสั่งพิเศษ เพิ่มเติม

            เครื่องหมายหรือคำสั่งพิเศษเพื่อเพิ่มเงื่อนไขในการค้นหานี้มีด้วยกันหลายอย่าง เช่น เครื่องหมาย (+),ลบ (-) หรือเครื่องหมายคำพูด (“  ”) เป็นต้น

เครื่องหมาย

ความหมายของเครื่องหมายใน Google

ไม่ใส่เครื่องหมายใดๆเลยและใช้การเว้นว่างระหว่างคำ

ค้นหาเว็บประกอบด้วยคำที่ต้องการค้นหาทุกคำหรือคำใดคำหนึ่ง

เครื่องหมายคำพูดคร่อมคำที่ต้องการค้นหา (“  ”)

เป็นการค้นหาแบบทั้งวลี (ค้นหาทั้งกลุ่มคำ) โดยจะเชื่อมคำหลายๆคำ ที่อยู่ภายในเครื่องหมายคำพูดให้เป็นคำหรือวลีเดียวกันเพื่อค้นหา

เครื่องหมายบวก (+)

นำคำที่มาบวกไปค้นหาด้วย และก่อนหน้าเครื่องหมายต้องเว้น 1 ตัวอักษร

เครื่องหมายบวก (-)

ค้นหาเว็บไซต์ที่ไม่มีคำๆนี้ มักใช้รวมกับคำอื่นๆหรือเครื่องหมายอื่นๆ และก่อนหน้าเครื่องหมายต้องเว้น 1 ตัวอักษร

 

เครื่องหมาย

ความหมายของคำสั่งพิเศษใน Google

Filetype : สกุลของไฟล์

ค้นหาเฉพาะสกุลไฟล์ที่กำหนด

Site : ชื่อเว็บไซต์

ค้นหาเฉพาะเว็บไซต์ที่กำหนด

Link : ชื่อเว็บไซต์

ค้นหาลิงค์ทั้งหมดที่เชื่อมไปยังเว็บไซต์ที่กำหนด

Date : ตัวเลข

ค้นหาภายในระยะที่กำหนด เช่น Olympics date : 3 หมายถึง ค้นหาคำว่า Olympics ภายในระยะเวลา 3 เดือนที่ผ่านมา เป็นต้น

Define : คำที่กำหนด

ค้นหาเฉพาะคำจำกัดความของคำที่กำหนด

 

เทคนิคในการใช้ Google

            นอกจากเครื่องหมายพิเศษที่กล่าวไปแล้ว ยังมีเทคนิคบางประการที่น่าสนใจเกี่ยวกับการใช้ Google ตัวอย่างเช่น

1. นอกจากภาษาอังกฤษและภาษาไทยแล้ว Google ยังสามารถปรับตั้งค่าคำสั่งและการแสดงผลเป็นภาษาต่างๆได้อีกมากมาย ตัวอย่างเช่น ภาษาอิตาลี ฝรั่งเศส สเปน เยอรมัน หรือโปรตุเกส เป็นต้น ซึ่งวิธีการปรับนั้นสามารถทำได้โดยคลิกขวาที่คำว่าการตั้งค่าหรือ “Preferences” ที่อยู่ด้านล่างของการค้นหาอย่างละเอียด

2. Google ยังมีความสามารถค้นหาเว็บเพจที่เขียนด้วยภาษาต่างๆได้อีกมากมาย โดยคลิกขวาคำว่า เครื่องมือเกี่ยวกับภาษาหรือ “Language Tool” ซึ่งอยู่ด้านล่างของ การตั้งค่า

3. จากคำสั่งพิเศษของ Google ที่กล่าวไปแล้ว จะพบว่าเราสามารถหาไฟล์ในรูปแบบอื่นๆที่ไม่ใช่ HTML ได้ โดยใช้คำสั่งว่า filetype : ตามด้วยนามสกุลของไฟล์ เช่น ค้นหาด้วยคำว่า –“คอมพิวเตอร์” filetype : pdf- จะหมายถึงการค้นหาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับคำว่าคอมพิวเตอร์ที่เป็นไฟล์สกุล PDF และยังมีความสามารถดูไฟล์เหล่านั้นในรูปแบบของ HTML ได้โดยเลือกที่ แสดงเป็นแบบ HTML”

4. เนื่องจาก Google สามารถค้นหาหน้าที่คล้ายกันได้โดยคลิกที่ “Similar Page” หรือ หน้าที่คล้ายกัน(ใน Google ภาษาไทย) ความสามารถนี้จะช่วยหาข้อมูลได้อีกมากมายในเวลาที่รวดเร็ว

5. Google สามารถค้นหาลิงก์ทั้งหมดที่เชื่อมไปยังเว็บนั้นได้ โดยใช้คำสั่ง link:ชื่อเว็บที่ต้องการ เช่น link:www.google.com แต่คุณไม่สามารถใช้ความสามารถนี้ร่วมกับการหาแบบอื่นๆได้

6. ถ้ามีเวลาค้นไม่มากนักและคิดว่าโชคดีพอ Google มีบริการค้นหาด่วน โดยคลิกที่ “I’m Feeling Lucky” หรือ โชคเข้าข้างเราแน่(สำหรับ Google ภาษาไทย) หลังจากนั้น Google จะค้นหาและลิงก์ไปหาเว็บที่ลำดับแรกสุดของการค้นให้ทันทีโดยไม่ต้องคลิก

7. ในกรณีที่ต้องการค้นหารูปภาพ สามารถทำได้โดยเรียกเว็บ Google และคลิกเลือกที่ “Images” หรือ รูปภาพแล้วพิมพ์ชื่อหรือข้อมูลเกี่ยวกับรูปภาพที่ต้องการค้นหา แล้วคลิก ค้นหารูปภาพจะได้รูปภาพที่ต้องการ เพียงแต่ในบางครั้งมีรูปที่ไม่ต้องการปนมาด้วย ซึ่งต้องเลือกดู

 

ที่มา : จากหนังสือค้นหาขุมทรัพย์ (ข้อมูล) บนอินเตอร์เน็ต

 

guest profile guest

เทคนิคการค้นหาข้อมูล (Search Tips)

- เลือกใช้คำที่ชัดเจนหรือเฉพาะเจาะจงไปเลย เช่น คุณต้องการหาข้อมูลของ Britney Spears ก็ให้ใช้คำว่า Britney Spears ไปเลยดีกว่าใช้คำว่านักร้อง

- ไม่ต้องใช้คำว่า And เมื่อใส่คำลงไปมากกว่า 1 คำ เช่น ต้องการข้อมูลท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ก็ให้ใช้แค่ 2 คำคือ ท่องเที่ยว กับ เชียงใหม่ ได้เลย โดยไม่ต้องใส่คำว่า And เพราะ Search Engine จะอ่านคำที่มากกว่า 2 คำเหมือนมีคำว่า And อยู่แล้ว

- คำที่เป็น Common Word เช่น Where How นั้น Search Engine จะตัดออกไปโดยอัตโนมัติ แต่ถ้าอยากใช้ให้ใส่เครื่องหมาย + หรือเครื่องหมายคำพูด เช่น Britney +Who หรือ “Who is Britney” ซึ่งการใส่เครื่องหมาย + ต้องเคาะว่างก่อน 1 ครั้งเสมอ

- ใช้เครื่องหมาย เพื่อไม่เอาคำนั้น เช่น bass –music จะได้ผลลัพธ์ที่มีคำว่า bass แต่ไม่มีคำว่า music

- เครื่องหมาย ~ ใช้เพื่อค้นหาข้อมูลที่มีความหมายเหมือนกัน เช่น ใช้ค้นหาข้อมูลที่มีความหมายเหมือนกัน เช่น ~food ~facts จะได้ผลลัพธ์คือ nutrition และ cooking information มาด้วย

การค้นหาข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตนั้นโดยทั่วไปแล้วอาจทำได้หลายวิธีเช่น

- ค้นหาจากสารบนเว็บ (Web Directories) ซึ่งเป็นการค้นหาข้อมูล โดยเลือกจากกลุ่มรายชื่อต่างๆ ที่แต่ละเว็บไซต์จัดหมวดหมู่ไว้แล้ว

- ค้นหาจากเว็บที่สืบค้น เป็นการค้นหาจากเว็บโดยแต่ละเว็บจะมีโปรแกรมสืบค้นข้อมูล (Search Engine) ที่เขียนขึ้นมาเพื่อช่วยในการค้น เช่น www.google.com, www.google.co.th, www.msn.com หรือ www.yahoo.com เป็นต้น น่าสังเกตว่าเว็บไซต์ที่เป็นที่นิยมนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นทั้งแบบสารบบเว็บและ Search Engine ด้วย

- ค้นหาโดยทำการสืบค้นจากหลายๆ Search Engine พร้อมกัน (Meta Search) เช่น www.search.com, www.dogpile.com หรือ http://www.mamma.com เป็นต้น

- ค้นหาจากโปรแกรมสำเร็จรูปที่เขียนขึ้นมาเพื่องานนี้โดยเฉพาะ เช่น WebFerret หรือ Copernic

Search Engine ยอดนิยม

            Search Engine ที่นิยมใช้ในปัจจุบันนี้มีมากมายเช่น Google, Yahoo, Msn, Ask, AOL, Excite, Lycos, AltaVista, Hotbot, All the Web และ Teoma เป็นต้น

            เนื่องจากในปัจจุบัน Google เป็นเว็บที่มีทั้งสารบบเว็บและ Search Engine ที่มีความสามารถในการค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว จึงมีผู้นิยมใช้มากที่สุดในประเทศและต่างประเทศในที่นี้จึงขออธิบายเฉพาะการค้นหาโดยใช้เว็บ Google เพื่อเป็นแนวทางเบื้องต้นในการสืบค้นข้อมูลซึ่งสามารถค้นหาข้อมูลได้หลายวิธีการดังต่อไปนี้

ค้นหาโดยใช้สารบบเว็บของ Google

            การค้นหาด้วยวิธีนี้มีข้อดีคือ ทำได้ง่ายมาก เพราะเป็นการเลือกจากสารบบหรือกลุ่มรายชื่อต่างๆ ที่คิดว่าเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการหา และเข้าไปดูว่าในกลุ่มรายชื่อนั้นมีเว็บไซต์ใดที่เกี่ยวข้องอยู่บ้าง การค้นหาแบบนี้มักจะได้ผลลัพธ์ที่ตรงตามต้องการเพราะแต่ละเว็บไซต์ที่ถูกรวบรวมไว้ได้ถูกพิจารณาแล้วว่าเกี่ยวกับเรื่องนั้นจริงๆ แต่การค้นวิธีการนี้ก็มีข้อเสีย คือ ถ้าไม่สามารถจำแนกว่าสิ่งต้องการหานั้นควรอยู่ในกลุ่มใดก็ไม่สามาระค้นหาต่อไปได้ หรือถ้ารายชื่อที่รวบรวมไว้มีไม่มากพอก็อาจทำให้ไม่ได้ผลตามต้องการ ซึ่งเราจะค้นหาจากสารบบหรือกลุ่มรายชื่อต่างๆของ Google

ค้นหาโดยใช้ Search Engine ของ Google

            การค้นหาด้วย Search Engine เป็นการค้นหาโดยนำคำที่ต้องการไปเปรียบเทียบกับฐานข้อมูลที่ทางผู้ให้บริการ Search Engine ได้รวบรวมไว้เพื่อดูว่ามีเว็บไซต์ใดบ้างที่มีคำเหล่านี้อยู่ หลังจากนั้นจึงนำผลลัพธ์ที่ได้มาแสดงให้กับผู้ทำการค้นหา การเลือกคำเพื่อนำไปใช้ในการค้นหานี้ หากเลือกใช้คำไม่เหมาะสมหรือคำที่ใช้มีความหมายคลุมเครือ หรือคำที่ค้นไม่ใช่คำที่เป็นสาระสำคัญ ผลลัพธ์ที่ได้ก็อาจเกิดความผิดพลาดคลาดเคลื่อนได้ ดังนั้นผู้ที่จะค้นหาโดยวิธีนี้ต้องมีความชำนาญในการเลือกใช้คำเพื่อจะได้ผลลัพธ์ตรงตามต้องการ

เครื่องหมายและคำสั่งพิเศษประกอบการค้นหาใน Google

            หลังจากที่เรียกเว็บ Google แล้ว และต้องการพิมพ์ข้อความเพื่อการค้นหาในช่องสี่เหลี่ยมนั้น เราอาจพิมพ์คำที่ต้องการค้นมากกว่าหนึ่งคำก็ได้ โดยคำแต่ละคำนั้นควรจะเป็นคำที่มีสาระสำคัญและไม่ควรเป็นคำทั่วไป (Common Word) เช่น a, the, of, how หรือ Where เป็นต้น เพราะโดยปกติแล้ว Google จะไม่ค้นหาคำที่เป็นคำทั่วไปเหล่านี้ เนื่องจากจะทำให้ใช้เวลาในการหานานแล้วยังอาจจะได้เว็บเพจที่ไม่ตรงกับที่ต้องการอีกมากมาย แต่ถ้าต้องการค้นคำเหล่านี้หรือต้องการค้นหลายๆคำ ให้มีการเชื่อมต่อกันหรือสัมพันธ์กัน เราจำเป็นต้องใส่เครื่องหมายหรือคำสั่งพิเศษ เพิ่มเติม

            เครื่องหมายหรือคำสั่งพิเศษเพื่อเพิ่มเงื่อนไขในการค้นหานี้มีด้วยกันหลายอย่าง เช่น เครื่องหมาย (+),ลบ (-) หรือเครื่องหมายคำพูด (“  ”) เป็นต้น

เครื่องหมาย

ความหมายของเครื่องหมายใน Google

ไม่ใส่เครื่องหมายใดๆเลยและใช้การเว้นว่างระหว่างคำ

ค้นหาเว็บประกอบด้วยคำที่ต้องการค้นหาทุกคำหรือคำใดคำหนึ่ง

เครื่องหมายคำพูดคร่อมคำที่ต้องการค้นหา (“  ”)

เป็นการค้นหาแบบทั้งวลี (ค้นหาทั้งกลุ่มคำ) โดยจะเชื่อมคำหลายๆคำ ที่อยู่ภายในเครื่องหมายคำพูดให้เป็นคำหรือวลีเดียวกันเพื่อค้นหา

เครื่องหมายบวก (+)

นำคำที่มาบวกไปค้นหาด้วย และก่อนหน้าเครื่องหมายต้องเว้น 1 ตัวอักษร

เครื่องหมายบวก (-)

ค้นหาเว็บไซต์ที่ไม่มีคำๆนี้ มักใช้รวมกับคำอื่นๆหรือเครื่องหมายอื่นๆ และก่อนหน้าเครื่องหมายต้องเว้น 1 ตัวอักษร

 

เครื่องหมาย

ความหมายของคำสั่งพิเศษใน Google

Filetype : สกุลของไฟล์

ค้นหาเฉพาะสกุลไฟล์ที่กำหนด

Site : ชื่อเว็บไซต์

ค้นหาเฉพาะเว็บไซต์ที่กำหนด

Link : ชื่อเว็บไซต์

ค้นหาลิงค์ทั้งหมดที่เชื่อมไปยังเว็บไซต์ที่กำหนด

Date : ตัวเลข

ค้นหาภายในระยะที่กำหนด เช่น Olympics date : 3 หมายถึง ค้นหาคำว่า Olympics ภายในระยะเวลา 3 เดือนที่ผ่านมา เป็นต้น

Define : คำที่กำหนด

ค้นหาเฉพาะคำจำกัดความของคำที่กำหนด

 

เทคนิคในการใช้ Google

            นอกจากเครื่องหมายพิเศษที่กล่าวไปแล้ว ยังมีเทคนิคบางประการที่น่าสนใจเกี่ยวกับการใช้ Google ตัวอย่างเช่น

1. นอกจากภาษาอังกฤษและภาษาไทยแล้ว Google ยังสามารถปรับตั้งค่าคำสั่งและการแสดงผลเป็นภาษาต่างๆได้อีกมากมาย ตัวอย่างเช่น ภาษาอิตาลี ฝรั่งเศส สเปน เยอรมัน หรือโปรตุเกส เป็นต้น ซึ่งวิธีการปรับนั้นสามารถทำได้โดยคลิกขวาที่คำว่าการตั้งค่าหรือ “Preferences” ที่อยู่ด้านล่างของการค้นหาอย่างละเอียด

2. Google ยังมีความสามารถค้นหาเว็บเพจที่เขียนด้วยภาษาต่างๆได้อีกมากมาย โดยคลิกขวาคำว่า เครื่องมือเกี่ยวกับภาษาหรือ “Language Tool” ซึ่งอยู่ด้านล่างของ การตั้งค่า

3. จากคำสั่งพิเศษของ Google ที่กล่าวไปแล้ว จะพบว่าเราสามารถหาไฟล์ในรูปแบบอื่นๆที่ไม่ใช่ HTML ได้ โดยใช้คำสั่งว่า filetype : ตามด้วยนามสกุลของไฟล์ เช่น ค้นหาด้วยคำว่า –“คอมพิวเตอร์” filetype : pdf- จะหมายถึงการค้นหาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับคำว่าคอมพิวเตอร์ที่เป็นไฟล์สกุล PDF และยังมีความสามารถดูไฟล์เหล่านั้นในรูปแบบของ HTML ได้โดยเลือกที่ แสดงเป็นแบบ HTML”

4. เนื่องจาก Google สามารถค้นหาหน้าที่คล้ายกันได้โดยคลิกที่ “Similar Page” หรือ หน้าที่คล้ายกัน(ใน Google ภาษาไทย) ความสามารถนี้จะช่วยหาข้อมูลได้อีกมากมายในเวลาที่รวดเร็ว

5. Google สามารถค้นหาลิงก์ทั้งหมดที่เชื่อมไปยังเว็บนั้นได้ โดยใช้คำสั่ง link:ชื่อเว็บที่ต้องการ เช่น link:www.google.com แต่คุณไม่สามารถใช้ความสามารถนี้ร่วมกับการหาแบบอื่นๆได้

6. ถ้ามีเวลาค้นไม่มากนักและคิดว่าโชคดีพอ Google มีบริการค้นหาด่วน โดยคลิกที่ “I’m Feeling Lucky” หรือ โชคเข้าข้างเราแน่(สำหรับ Google ภาษาไทย) หลังจากนั้น Google จะค้นหาและลิงก์ไปหาเว็บที่ลำดับแรกสุดของการค้นให้ทันทีโดยไม่ต้องคลิก

7. ในกรณีที่ต้องการค้นหารูปภาพ สามารถทำได้โดยเรียกเว็บ Google และคลิกเลือกที่ “Images” หรือ รูปภาพแล้วพิมพ์ชื่อหรือข้อมูลเกี่ยวกับรูปภาพที่ต้องการค้นหา แล้วคลิก ค้นหารูปภาพจะได้รูปภาพที่ต้องการ เพียงแต่ในบางครั้งมีรูปที่ไม่ต้องการปนมาด้วย ซึ่งต้องเลือกดู

 

ที่มา : จากหนังสือค้นหาขุมทรัพย์ (ข้อมูล) บนอินเตอร์เน็ต

 

guest profile guest
เทคนิคการค้นหาข้อมูล
1. เลือกหมวดหมู่ที่สนใจ และตรงกับเนื้อหาที่ต้องการให้มากที่สุด
2. ระบุคีร์เวิร์ดให้มากๆ ให้ครอบคลุมเนื้อหาให้มากที่สุด
3. คีร์เวิร์ดต้องไม่กำกวม
4. ไม่ต้องใส่คำนำหน้า คำเชื่อมในคีร์เวิร์ด เช่น the, a, an, and, or
5. ระบุคำที่สนใจไว้ในเครื่องหมายคำพูด
6. ใส่ตัวกรอง (Filter) ช่วยในการค้นหา
- ใช้เครื่องหมาย + นำหน้าคีร์เวิร์ด เพื่อบังคับให้มีคำที่ระบุ
- ใช้เครื่องหมาย - นำหน้าคีร์เวิร์ด เพื่อบังคับให้มีคำที่ระบุ
7. ข้อมูลที่เป็นภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว ควรใช้ค้นหาจากเว็บไซด์ที่ให้บริการเฉพาะทาง เช่น siamguru.com, altavista.com
8. ค้นหาโดยอาศัยกลุ่มข่าว และเว็บบอร์ด
- www.pantip.com
- www.sanook.com
- www.looksmart.com
- www.infopress2000.com
9. ติดตั้งเครื่องมือช่วยค้นหาให้กับเบราเซอร์ (Search Engine Utility)
10. จัดกลุ่มการค้นหา เพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน
- entrypoint
www.entrypoint.com
    - ferret                www.webferret.com


การค้นหาข้อมูล
แบ่งเป็น 2 ประเภท
1) Search Engine คือ เว็บไซต์ค้นหาข้อมูลที่ใช้โปรแกรมอัตโนมัติรวบรวมข้อมูลของเว็บไซต์ต่าง ๆ เหมาะที่จะค้นหาข้อมูลประเภทเจาะจงมาก ๆ
2) Search Directories คือ เว็บไซต์ค้นหาข้อมูลที่ใช้คนในการรวบรวมข้อมูลของเว็บไซต์ต่าง ๆ และแต่ละเว็บเพจได้รับการจัดเป็นหมวดหมู่ที่เหมาะสม ดังนั้น ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลที่เป็นหมวดใหญ่ ๆ เว็บแบบนี้จะเหมาะกว่า



ที่มา http://www.stks.or.th/web/presentation/search-it_files/frame.htm
http://www.lks.ac.th/anchalee/tec32.htm
guest profile guest

เทคนิคการค้นหาข้อมูลSearch Techniques
การค้นหาข้อมูลมักกำหนดขอบเขตข้อมูลหนึ่งเป็นคีย์สำหรับการค้นหาและผลของการค้นหาเป็นได้ 2 ทาง คือ ค้นพบสำเร็จและค้นพบไม่สำเร็จ

 

 

 

 

 

เทคนิคการค้นหาข้อมูล มีดังนี้
1.การค้นหาแบบลำดับ
2.การค้นหาแบบบล็อก
3.การค้นหาแบบน่าจะเป็น
4.การค้นหาแบบไบนารี

การค้นหาแบบลำดับ (Sequential Searchหรือ Linear Search)
การค้นหาแบบลำดับเป็นวิธีการที่ใช้กันมาก เพราะสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่าย และใช้กับตารางที่เรียงลำดับหรือไม่เรียงลำดับก็ได้ การค้นหาข้อมูลจะต้องเปรียบเทียบข้อมูลในตารางตั้งแต่ต้นจนกว่าจะพบระเบียนที่ต้องการ

ตัวอย่าง
จากตารางต้องการหา 26 จะต้องกาถึง 31 ครั้ง และหา 20 ต้องหาจนหมดตาราง คือ 40 ครั้ง จึงรู้ว่าไม่มีข้อมูลนี้

18

16

35

33

3

61

6

100

39

19

4

44

70

90

72

74

27

7

42

40

8

38

60

21

1

23

45

12

30

80

26

78

14

31

53

55

45

95

15

10

 

                 ตารางที่1 ตารางข้อมูลที่ไม่เรียงลำดับ

แต่ถ้าข้อมูลทั้งสองในตารางที่ 2 จะค้นหาเพียง 16 และ 14 ครั้ง ตามลำดับ

1

3

4

6

7

8

10

12

14

15

16

18

19

21

23

26

27

30

31

33

35

38

39

40

42

44

45

49

53

55

60

61

70

72

74

78

80

90

95

100


                   ตารางที่2 ตารางข้อมูลที่เรียงลำดับ

สรุปการค้นหาแบบลำดับ มีจำนวนครั้งในการเปรียบเทียบ

      มากที่สุด=จำนวนข้อมูลทั้งหมดในตาราง
โดยเฉลี่ย=1/2 ของจำนวนข้อมูลทั้งหมดในตาราง

การค้นหาแบบบล็อก(Block Search หรือ Skip Search)
การค้นหาแบบบล็อกแฟ้มข้อมูลต้องรียงลำดับจากน้อยไปมากและรวมกลุ่มเป็นบล็อก วิธีนี้จะเปรียบเทียบข้อมูลบล็อกละ 1 ครั้ง โดยเปรียบเทียบกับคีย์ที่มีค่าสูงสุดในแต่ละบล็อก โดยเริ่มจากคีย์สูงสุดของบล็อกที่ 1 ตามด้วยบล็อกที่ 2,3...ทันทีที่พบคีย์สูงสุดของบล็อกใดที่มีค่ามากกว่าที่ต้องการ จะหยุดการเปรียบเทียบกับบล็อกที่เหลือ แต่จะค้นหาแบบลำดับในบล็อกนั้นจนกว่าจะพบตัวที่ต้องการ วิธีนี้จำนวนครั้งในการเปรียบเทียบน้อยกว่าแบบลำดับมากพอสมควร

ตัวอย่าง
สมมติให้ 38 และ 62เป็นคีย์ของระเบียนที่ต้องการหาในตารางที่ 2

การเปรียบเทียบ             คีย์สูงสุดของ           คีย์ที่ต้องการหา

 

 

 

 

 

ครั้งที่            แต่ละบล็อก

 1            15 <      38  62 
2 33 < 38 62
3 55 >= 38 62
< 62
4 100>= 62
  
 สำหรับคีย์ 38 ต้องเปรียบเทียบกับค่าสูงสุดของแต่ละบล็อกได้เพียง3 ครั้ง ก็พบคีย์ที่ใหญ่กว่า คือ 55 จะจัดการคัดลอกในบล็อกที่ 3 ทั้งหมดแล้ว เริ่มการเปรียบเทียบ ตั้งแต่ตัวแรกจนพบระเบียนที่ต้องการ ในการเปรียบเทียบครั้งที่ 2 รวมจำนวนครั้งการเปรียบเทียบ เท่ากับ 5        
ส่วนคีย์62 ต้องเปรียบเทียบกับคีย์สูงสุดของแต่ละบล็อก 4 ครั้ง และเปรียบเทียบข้อมูลในบล็อกที่ 4 ตั้งแต่ตัวแรกเป็นต้นไปเมื่อเปรียบเทียบกับ เปรียบเทียบกับ 70 ซึ่งมีค่ามากกว่า 62 แล้วยังไม่พบจุดที่ยังค้นหาแสดงว่าไม่มีค่าในตารางนี้ จำนวนครั้งในการเปรียบเทียบเท่ากับ 7 จากข้อมูลทั้งหมด 40 ตัว

 ถ้าใช้การค้นหาแบบลำดับแล้ว คีย์ 38 ต้องเปรียบเทียบ 22 ครั้ง

 

                                                 ส่วนคีย์ 62 ต้องเปรียบเทียบ 33 ครั้ง

 

การค้นหาตามความน่าจะเป็น (Probability Search)

เป็นการค้นหาโดยใช้ความรู้ความน่าจะเป็น ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาให้ดียิ่งขึ้น การค้นหาแบบนี้ต้องทราบความถี่ของการเกิดข้อมูลแต่ละตัวล่วงหน้า เพื่อใช้เตรียมตารางขึ้นมาโดยให้คีย์แต่ละตัวเรียงลำดับตามความถี่ เช่น ตัวอักษรแรกของชื่อคนไทย จากการสำรวจพบว่ามักขึ้นด้วยตัวอักษร ส. ตามด้วย ก. และขึ้นต้นด้วย ฎ ฆ ฤ ฟ ฒ ฬ น้อยมาก

 

  เทคนิคการค้นหาแบบนี้ เหมาะสำหรับแฟ้มข้อมูลขนาดใหญ่และมีจำนวนค่อนข้างคงที่

 

การค้นหาแบบไบนารี (Binary Search) 
        ตารางข้อมูลที่จะค้นหาจะต้องเรียงตามลำดับของคีย์ ถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลจะต้องเก็บอยู่ในสื่อบันทึกข้อมูลชนิด DASD

       การค้นหาแบบไบนารี สามารถค้นหาได้รวดเร็ว โดยการเปรียบเทียบคีย์ที่ต้องการกับคีย์ที่กึ่งกลางของตาราง ถ้ามีค่าเท่ากัน แสดงว่าพบแล้ว มิฉะนั้น จากผลก็ทำให้ทราบว่า ข้อมูลที่ต้องการอยู่ครึ่งใดของตาราง ที่จะต้องหาต่อในวิธีเดียวกัน คือ เปรียบเทียบคีย์ที่ตำแหน่งกึ่งกลาง คีย์ที่ต้องการในส่วนที่เหลือ
  จำนวนครั้งในการเปรียบเทียบเพื่อค้นหาข้อมูลแบบไบนารีนี้
  มากสุดไม่เกิน [
log2N] เมื่อ N คือจำนวนข้อมูลทั้งหมด

ตัวอย่าง
จงหาระเบียนที่มีคีย์เท่ากับ 15 จากข้อมูลต่อไปนี้จากข้อมูลต่อไปนี้ 2 6 7 10  12 15 17 25 26 

วิธีทำ   2       6       7     10       12       15       17       25       26 

 

ครั้งที่ 1low                              mid                                    high

ครั้งที่ 2                                            low       mid

ครั้งที่ 3                                            high

คำอธิบายครั้งแรก low = 1 high = 9 ฉะนั้น mid = 5 คีย์ที่ต้องการค้นหาคือ 15 แต่คีย์ในตำแหน่ง mid คือ 12 จากการเปรียบเทียบพบว่า k>key ในตำแหน่ง mid แสดงว่า k ต้องอยู่ครึ่งหลัง ดังนั้นจึงเปลี่ยนค่า low = mid+1 = 6 และตำแหน่ง mid เป็นครั้งที่ 2 ได้ mid = 15/2 = 17 (ค่าต่ำ) คีย์ในตำแหน่ง mid =17 มีค่า มากกว่า k ดังนั้นเปลี่ยนค่า high = 6 ฉะนั้น high = low = mid (ใหม่) และเราพบคีย์ที่ต้องการในรอบนี้ ถ้าไม่พบแสดงว่าไม่มีคีย์ในตาราง

 

 

 

  ที่มา:cit.snru.ac.th/userfiles/unit_4(1).pdf

guest profile guest

เทคนิคการค้นหาข้อมูลSearch Techniques
การค้นหาข้อมูลมักกำหนดขอบเขตข้อมูลหนึ่งเป็นคีย์สำหรับการค้นหาและผลของการค้นหาเป็นได้ 2 ทาง คือ ค้นพบสำเร็จและค้นพบไม่สำเร็จ

 

 

 

 

 

เทคนิคการค้นหาข้อมูล มีดังนี้
1.การค้นหาแบบลำดับ
2.การค้นหาแบบบล็อก
3.การค้นหาแบบน่าจะเป็น
4.การค้นหาแบบไบนารี

การค้นหาแบบลำดับ (Sequential Searchหรือ Linear Search)
การค้นหาแบบลำดับเป็นวิธีการที่ใช้กันมาก เพราะสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่าย และใช้กับตารางที่เรียงลำดับหรือไม่เรียงลำดับก็ได้ การค้นหาข้อมูลจะต้องเปรียบเทียบข้อมูลในตารางตั้งแต่ต้นจนกว่าจะพบระเบียนที่ต้องการ

ตัวอย่าง
จากตารางต้องการหา 26 จะต้องกาถึง 31 ครั้ง และหา 20 ต้องหาจนหมดตาราง คือ 40 ครั้ง จึงรู้ว่าไม่มีข้อมูลนี้

18

16

35

33

3

61

6

100

39

19

4

44

70

90

72

74

27

7

42

40

8

38

60

21

1

23

45

12

30

80

26

78

14

31

53

55

45

95

15

10

 

                 ตารางที่1 ตารางข้อมูลที่ไม่เรียงลำดับ

แต่ถ้าข้อมูลทั้งสองในตารางที่ 2 จะค้นหาเพียง 16 และ 14 ครั้ง ตามลำดับ

1

3

4

6

7

8

10

12

14

15

16

18

19

21

23

26

27

30

31

33

35

38

39

40

42

44

45

49

53

55

60

61

70

72

74

78

80

90

95

100


                   ตารางที่2 ตารางข้อมูลที่เรียงลำดับ

สรุปการค้นหาแบบลำดับ มีจำนวนครั้งในการเปรียบเทียบ

      มากที่สุด=จำนวนข้อมูลทั้งหมดในตาราง
โดยเฉลี่ย=1/2 ของจำนวนข้อมูลทั้งหมดในตาราง

การค้นหาแบบบล็อก(Block Search หรือ Skip Search)
การค้นหาแบบบล็อกแฟ้มข้อมูลต้องรียงลำดับจากน้อยไปมากและรวมกลุ่มเป็นบล็อก วิธีนี้จะเปรียบเทียบข้อมูลบล็อกละ 1 ครั้ง โดยเปรียบเทียบกับคีย์ที่มีค่าสูงสุดในแต่ละบล็อก โดยเริ่มจากคีย์สูงสุดของบล็อกที่ 1 ตามด้วยบล็อกที่ 2,3...ทันทีที่พบคีย์สูงสุดของบล็อกใดที่มีค่ามากกว่าที่ต้องการ จะหยุดการเปรียบเทียบกับบล็อกที่เหลือ แต่จะค้นหาแบบลำดับในบล็อกนั้นจนกว่าจะพบตัวที่ต้องการ วิธีนี้จำนวนครั้งในการเปรียบเทียบน้อยกว่าแบบลำดับมากพอสมควร

ตัวอย่าง
สมมติให้ 38 และ 62เป็นคีย์ของระเบียนที่ต้องการหาในตารางที่ 2

การเปรียบเทียบ             คีย์สูงสุดของ           คีย์ที่ต้องการหา

 

 

 

 

 

ครั้งที่            แต่ละบล็อก

 1            15 <      38  62 
2 33 < 38 62
3 55 >= 38 62
< 62
4 100>= 62
  
 สำหรับคีย์ 38 ต้องเปรียบเทียบกับค่าสูงสุดของแต่ละบล็อกได้เพียง3 ครั้ง ก็พบคีย์ที่ใหญ่กว่า คือ 55 จะจัดการคัดลอกในบล็อกที่ 3 ทั้งหมดแล้ว เริ่มการเปรียบเทียบ ตั้งแต่ตัวแรกจนพบระเบียนที่ต้องการ ในการเปรียบเทียบครั้งที่ 2 รวมจำนวนครั้งการเปรียบเทียบ เท่ากับ 5        
ส่วนคีย์62 ต้องเปรียบเทียบกับคีย์สูงสุดของแต่ละบล็อก 4 ครั้ง และเปรียบเทียบข้อมูลในบล็อกที่ 4 ตั้งแต่ตัวแรกเป็นต้นไปเมื่อเปรียบเทียบกับ เปรียบเทียบกับ 70 ซึ่งมีค่ามากกว่า 62 แล้วยังไม่พบจุดที่ยังค้นหาแสดงว่าไม่มีค่าในตารางนี้ จำนวนครั้งในการเปรียบเทียบเท่ากับ 7 จากข้อมูลทั้งหมด 40 ตัว

 ถ้าใช้การค้นหาแบบลำดับแล้ว คีย์ 38 ต้องเปรียบเทียบ 22 ครั้ง

 

                                                 ส่วนคีย์ 62 ต้องเปรียบเทียบ 33 ครั้ง

 

การค้นหาตามความน่าจะเป็น (Probability Search)

เป็นการค้นหาโดยใช้ความรู้ความน่าจะเป็น ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาให้ดียิ่งขึ้น การค้นหาแบบนี้ต้องทราบความถี่ของการเกิดข้อมูลแต่ละตัวล่วงหน้า เพื่อใช้เตรียมตารางขึ้นมาโดยให้คีย์แต่ละตัวเรียงลำดับตามความถี่ เช่น ตัวอักษรแรกของชื่อคนไทย จากการสำรวจพบว่ามักขึ้นด้วยตัวอักษร ส. ตามด้วย ก. และขึ้นต้นด้วย ฎ ฆ ฤ ฟ ฒ ฬ น้อยมาก

 

  เทคนิคการค้นหาแบบนี้ เหมาะสำหรับแฟ้มข้อมูลขนาดใหญ่และมีจำนวนค่อนข้างคงที่

 

การค้นหาแบบไบนารี (Binary Search) 
        ตารางข้อมูลที่จะค้นหาจะต้องเรียงตามลำดับของคีย์ ถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลจะต้องเก็บอยู่ในสื่อบันทึกข้อมูลชนิด DASD

       การค้นหาแบบไบนารี สามารถค้นหาได้รวดเร็ว โดยการเปรียบเทียบคีย์ที่ต้องการกับคีย์ที่กึ่งกลางของตาราง ถ้ามีค่าเท่ากัน แสดงว่าพบแล้ว มิฉะนั้น จากผลก็ทำให้ทราบว่า ข้อมูลที่ต้องการอยู่ครึ่งใดของตาราง ที่จะต้องหาต่อในวิธีเดียวกัน คือ เปรียบเทียบคีย์ที่ตำแหน่งกึ่งกลาง คีย์ที่ต้องการในส่วนที่เหลือ
  จำนวนครั้งในการเปรียบเทียบเพื่อค้นหาข้อมูลแบบไบนารีนี้
  มากสุดไม่เกิน [
log2N] เมื่อ N คือจำนวนข้อมูลทั้งหมด

ตัวอย่าง
จงหาระเบียนที่มีคีย์เท่ากับ 15 จากข้อมูลต่อไปนี้จากข้อมูลต่อไปนี้ 2 6 7 10  12 15 17 25 26 

วิธีทำ   2       6       7     10       12       15       17       25       26 

 

ครั้งที่ 1low                              mid                                    high

ครั้งที่ 2                                            low       mid

ครั้งที่ 3                                            high

คำอธิบายครั้งแรก low = 1 high = 9 ฉะนั้น mid = 5 คีย์ที่ต้องการค้นหาคือ 15 แต่คีย์ในตำแหน่ง mid คือ 12 จากการเปรียบเทียบพบว่า k>key ในตำแหน่ง mid แสดงว่า k ต้องอยู่ครึ่งหลัง ดังนั้นจึงเปลี่ยนค่า low = mid+1 = 6 และตำแหน่ง mid เป็นครั้งที่ 2 ได้ mid = 15/2 = 17 (ค่าต่ำ) คีย์ในตำแหน่ง mid =17 มีค่า มากกว่า k ดังนั้นเปลี่ยนค่า high = 6 ฉะนั้น high = low = mid (ใหม่) และเราพบคีย์ที่ต้องการในรอบนี้ ถ้าไม่พบแสดงว่าไม่มีคีย์ในตาราง

 

 

 

  ที่มา:cit.snru.ac.th/userfiles/unit_4(1).pdf

guest profile guest

เทคนิคการค้นหาข้อมูลSearch Techniques
การค้นหาข้อมูลมักกำหนดขอบเขตข้อมูลหนึ่งเป็นคีย์สำหรับการค้นหาและผลของการค้นหาเป็นได้ 2 ทาง คือ ค้นพบสำเร็จและค้นพบไม่สำเร็จ
เทคนิคการค้นหาข้อมูล มีดังนี้
1.การค้นหาแบบลำดับ
2.การค้นหาแบบบล็อก
3.การค้นหาแบบน่าจะเป็น
4.การค้นหาแบบไบนารี
การค้นหาแบบลำดับ (Sequential Searchหรือ Linear Search)
การค้นหาแบบลำดับเป็นวิธีการที่ใช้กันมาก เพราะสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่าย และใช้กับตารางที่เรียงลำดับหรือไม่เรียงลำดับก็ได้ การค้นหาข้อมูลจะต้องเปรียบเทียบข้อมูลในตารางตั้งแต่ต้นจนกว่าจะพบระเบียนที่ต้องการ
ตัวอย่าง
จากตารางต้องการหา 26 จะต้องกาถึง 31 ครั้ง และหา 20 ต้องหาจนหมดตาราง คือ 40 ครั้ง จึงรู้ว่าไม่มีข้อมูลนี้

18

16

35

33

3

61

6

100

39

19

4

44

70

90

72

74

27

7

42

40

8

38

60

21

1

23

45

12

30

80

26

78

14

31

53

55

45

95

15

10

 

                  ตารางที่1 ตารางข้อมูลที่ไม่เรียงลำดับ
แต่ถ้าข้อมูลทั้งสองในตารางที่ 2 จะค้นหาเพียง 16 และ 14 ครั้ง ตามลำดับ

1

3

4

6

7

8

10

12

14

15

16

18

19

21

23

26

27

30

31

33

35

38

39

40

42

44

45

49

53

55

60

61

70

72

74

78

80

90

95

100


                   ตารางที่2 ตารางข้อมูลที่เรียงลำดับ

สรุปการค้นหาแบบลำดับ มีจำนวนครั้งในการเปรียบเทียบ

      มากที่สุด=จำนวนข้อมูลทั้งหมดในตาราง
โดยเฉลี่ย=1/2 ของจำนวนข้อมูลทั้งหมดในตาราง
การค้นหาแบบบล็อก(Block Search หรือ Skip Search)
การค้นหาแบบบล็อกแฟ้มข้อมูลต้องรียงลำดับจากน้อยไปมากและรวมกลุ่มเป็นบล็อก วิธีนี้จะเปรียบเทียบข้อมูลบล็อกละ 1 ครั้ง โดยเปรียบเทียบกับคีย์ที่มีค่าสูงสุดในแต่ละบล็อก โดยเริ่มจากคีย์สูงสุดของบล็อกที่ 1 ตามด้วยบล็อกที่ 2,3...ทันทีที่พบคีย์สูงสุดของบล็อกใดที่มีค่ามากกว่าที่ต้องการ จะหยุดการเปรียบเทียบกับบล็อกที่เหลือ แต่จะค้นหาแบบลำดับในบล็อกนั้นจนกว่าจะพบตัวที่ต้องการ วิธีนี้จำนวนครั้งในการเปรียบเทียบน้อยกว่าแบบลำดับมากพอสมควร
ตัวอย่าง
สมมติให้ 38 และ 62เป็นคีย์ของระเบียนที่ต้องการหาในตารางที่ 2

การเปรียบเทียบ             คีย์สูงสุดของ           คีย์ที่ต้องการหา

 

 

 

 

 

ครั้งที่            แต่ละบล็อก

 1            15 <      38  62 
2 33 < 38 62
3 55 >= 38 62
< 62
4 100>= 62
  
 สำหรับคีย์ 38 ต้องเปรียบเทียบกับค่าสูงสุดของแต่ละบล็อกได้เพียง3 ครั้ง ก็พบคีย์ที่ใหญ่กว่า คือ 55 จะจัดการคัดลอกในบล็อกที่ 3 ทั้งหมดแล้ว เริ่มการเปรียบเทียบ ตั้งแต่ตัวแรกจนพบระเบียนที่ต้องการ ในการเปรียบเทียบครั้งที่ 2 รวมจำนวนครั้งการเปรียบเทียบ เท่ากับ 5        
ส่วนคีย์62 ต้องเปรียบเทียบกับคีย์สูงสุดของแต่ละบล็อก 4 ครั้ง และเปรียบเทียบข้อมูลในบล็อกที่ 4 ตั้งแต่ตัวแรกเป็นต้นไปเมื่อเปรียบเทียบกับ เปรียบเทียบกับ 70 ซึ่งมีค่ามากกว่า 62 แล้วยังไม่พบจุดที่ยังค้นหาแสดงว่าไม่มีค่าในตารางนี้ จำนวนครั้งในการเปรียบเทียบเท่ากับ 7 จากข้อมูลทั้งหมด 40 ตัว

 ถ้าใช้การค้นหาแบบลำดับแล้ว คีย์ 38 ต้องเปรียบเทียบ 22 ครั้ง

 

                                        ส่วนคีย์ 62 ต้องเปรียบเทียบ 33 ครั้ง

 

การค้นหาตามความน่าจะเป็น (Probability Search)

เป็นการค้นหาโดยใช้ความรู้ความน่าจะเป็น ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาให้ดียิ่งขึ้น การค้นหาแบบนี้ต้องทราบความถี่ของการเกิดข้อมูลแต่ละตัวล่วงหน้า เพื่อใช้เตรียมตารางขึ้นมาโดยให้คีย์แต่ละตัวเรียงลำดับตามความถี่ เช่น ตัวอักษรแรกของชื่อคนไทย จากการสำรวจพบว่ามักขึ้นด้วยตัวอักษร ส. ตามด้วย ก. และขึ้นต้นด้วย ฎ ฆ ฤ ฟ ฒ ฬ น้อยมาก

 

  เทคนิคการค้นหาแบบนี้ เหมาะสำหรับแฟ้มข้อมูลขนาดใหญ่และมีจำนวนค่อนข้างคงที่

การค้นหาแบบไบนารี (Binary Search) 
ตารางข้อมูลที่จะค้นหาจะต้องเรียงตามลำดับของคีย์ ถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลจะต้องเก็บอยู่ในสื่อบันทึกข้อมูลชนิด DASD

 

การค้นหาแบบไบนารี สามารถค้นหาได้รวดเร็ว โดยการเปรียบเทียบคีย์ที่ต้องการกับคีย์ที่กึ่งกลางของตาราง ถ้ามีค่าเท่ากัน แสดงว่าพบแล้ว มิฉะนั้น จากผลก็ทำให้ทราบว่า ข้อมูลที่ต้องการอยู่ครึ่งใดของตาราง ที่จะต้องหาต่อในวิธีเดียวกัน คือ เปรียบเทียบคีย์ที่ตำแหน่งกึ่งกลาง คีย์ที่ต้องการในส่วนที่เหลือ
จำนวนครั้งในการเปรียบเทียบเพื่อค้นหาข้อมูลแบบไบนารีนี้
มากสุดไม่เกิน [
log2N] เมื่อ N คือจำนวนข้อมูลทั้งหมด
ตัวอย่าง
จงหาระเบียนที่มีคีย์เท่ากับ 15 จากข้อมูลต่อไปนี้จากข้อมูลต่อไปนี้ 2 6 7 10  12 15 17 25 26 

วิธีทำ   2       6    7     10       12       15       17       25       26 

 

ครั้งที่ 1low                           mid                                    high

ครั้งที่ 2                                         low       mid

ครั้งที่ 3                                        high

คำอธิบายครั้งแรก low = 1 high = 9 ฉะนั้น mid = 5 คีย์ที่ต้องการค้นหาคือ 15 แต่คีย์ในตำแหน่ง mid คือ 12 จากการเปรียบเทียบพบว่า k>key ในตำแหน่ง mid แสดงว่า k ต้องอยู่ครึ่งหลัง ดังนั้นจึงเปลี่ยนค่า low = mid+1 = 6 และตำแหน่ง mid เป็นครั้งที่ 2 ได้ mid = 15/2 = 17 (ค่าต่ำ) คีย์ในตำแหน่ง mid =17 มีค่า มากกว่า k ดังนั้นเปลี่ยนค่า high = 6 ฉะนั้น high = low = mid (ใหม่) และเราพบคีย์ที่ต้องการในรอบนี้ ถ้าไม่พบแสดงว่าไม่มีคีย์ในตาราง

 

 

 

  ที่มา:cit.snru.ac.th/userfiles/unit_4(1).pdf

guest profile guest

4 เทคนิคสำหรับการค้นหาข้อมูลผ่านเว็บอย่างปลอดภัย

อินเทอร์เน็ตคือแหล่งข้อมูลชั้นยอดถ้าหากคุณท่องเว็บอย่างปลอดภัย

สิ่งที่น่าแปลกใจก็คือผู้ซึ่งใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อพยายามค้นหาข้อมูลอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพกลับมักละเลยในเรื่องของความปลอดภัยเป็นประจำ ถ้าหากคุณเป็นคนหนึ่งซึ่งใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อค้นหาข้อมูลแบบใดแบบหนึ่งแล้วละก็ คุณกำลังทำให้ตนเองและบริษัทของคุณตกอยู่ในความเสี่ยงจากอันตรายที่ซุกซ่อนอยู่ตามจุดต่างๆในอินเทอร์เน็ต อาทิเช่นการโอนถ่ายข้อมูลลับของคุณออกไปโดยที่คุณไม่ได้อนุญาตเป็นต้น นอกจากนั้นคงไม่มีพนักงานคนใดอยากเป็นผู้รับผิดชอบเรื่องการปิดระบบเครือข่ายทั่วทั้งบริษัทเป็นแน่

ไม่ว่าคุณใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการใดก็ตาม เรามีวิธีที่ช่วยให้คุณค้นหาข้อมูลอย่างชาญฉลาดได้ นั่นก็คือจงตื่นตัวและเฝ้าระวังอยู่เสมอ เทคนิค 4 ประการดังต่อไปนี้จะช่วยป้องกันตัวของคุณและบริษัทของคุณจากแฮกเกอร์และโปรแกรมชั่วร้ายต่างๆได้

1. อัพเดต อัพเดต อัพเดต

ไมโครซอฟท์ทำการปรับปรุงคุณสมบัติและอัพเดตระบบรักษาความปลอดภัยให้แก่ผลิตภัณฑ์ทั้งหมดที่มีอยู่อย่างต่อเนื่อง รวมทั้ง Internet Explorer ด้วย ไม่มีโปรแกรมชนิดใดที่ปลอดภัยจากภัยคุกคามต่างๆได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ถ้าหากมีการค้นพบช่องโหว่ต่างๆ ไมโครซอฟท์จะทำการแก้ไข อัพเกรด และจัดทำเซอร์วิสแพกให้แก่ผลิตภัณฑ์เหล่านั้น ถ้าหากคุณต้องการทำให้คอมพิวเตอร์ของคุณมีระบบรักษาความปลอดภัยอยู่ในระดับสูงสุด คุณและแผนกไอทีของบริษัทจำเป็นต้องตรวจสอบดูว่า มีการติดตั้งเซอร์วิสแพกให้แก่โปรแกรมต่างๆแล้วหรือยัง

ก่อนที่คุณจะเข้าไปท่องเว็บ คุณต้องตรวจสอบให้แน่ใจเสียก่อนว่าคุณใช้ Internet Explorer เวอร์ชันล่าสุดแล้วหรือยัง ซึ่งใช้ขณะที่กำลังเขียนบทความนี้อยู่ IE รุ่นล่าสุดที่ใช้กับ Windows XP ก็คือเวอร์ชัน 6.0.2 (ต้องมีการติดตั้ง Service Pack 2 ให้แก่ Windows XP ด้วย) เซอร์วิสแพกหมายถึงโปรแกรมอัพเดตแจกฟรี เพื่อใช้กับโปรแกรมต่างๆของไมโครซอฟท์ ซึ่งในนั้นจะบรรจุการแก้ไขและการปรับปรุงต่างๆเอาไว้ ถ้าหากต้องการดูว่า IE ที่คุณใช้อยู่เป็นเวอร์ชันอะไร ให้ปฏิบัติตามขั้นตอนดังต่อไปนี้

  1. ใน Internet Explorer เข้าไปที่เมนู Help คลิกที่ About Internet Explorer ซึ่งในวินโดวส์ที่ปรากฏขึ้นมา คุณควรสังเกตหัวข้อ 3 หัวข้อดังนี้
  • Cipher Strength:
  1. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณใช้ Internet Explorer เวอร์ชันล่าสุด
  1. คลิก OK เพื่อปิดวินโดวส์

2.แบ่งโซน

การเซ็ตอัพอินเทอร์เน็ตโซนให้สอดคล้องกับความต้องการส่วนตัวของคุณเองจะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถป้องกันคุณในขณะที่ท่องเว็บได้ โซนก็คือพื้นที่โลจิคอลหรือการแบ่งเว็บไซต์ออกเป็นกลุ่มๆ โดยขึ้นอยู่กับว่าเว็บไซต์ตั้งอยู่ที่ใดจริงๆ และคุณเชื่อใจต้นตอดังกล่าวขนาดไหน โซนปกติซึ่งมีอยู่ใน Internet Explorer 6.0.2 ประกอบด้วย

  • Local Intranet: เว็บไซต์ซึ่งตั้งอยู่ในระบบเครือข่ายแบบโลคอลของคุณเอง การเรียกใช้เว็บไซต์เหล่านี้ไม่จำเป็นต้องกระทำผ่านอินเทอร์เน็ต
  • Trusted Sites: รายชื่อเว็บไซต์ที่คุณเชื่อใจว่าไม่ทำอันตรายต่อคอมพิวเตอร์ของคุณอย่างแน่นอน อาทิเช่นไซต์ซึ่งคุณพบว่ามีการเข้ารหัสอย่างเหมาะสมแล้ว
  • Restricted Sites: รายชื่อของเว็บไซต์ที่คุณมั่นใจหรือสงสัยว่าอาจก่ออันตรายต่อคอมพิวเตอร์ของคุณได้
  • Internet: ไซต์อื่นๆทั้งหมดที่ไม่อยู่ใน 3 กลุ่มแรก

คุณสามารถระบุได้ว่า Internet Explorer ควรทำงานอย่างไรเพื่อเรียกใช้เว็บไซต์ซึ่งอยู่ในแต่ละโซน โดยวิธีการก็คือเข้าไปใน Internet Explorer ในเมนู Tools คลิก Internet Options จากนั้นในกรอบInternet Options ให้คลิกที่หัวข้อ Security

เมื่อคุณเลือกโซนเนื้อหาในเว็บแล้ว คุณสามารถเปลี่ยนแปลงระดับของระบบรักษาความปลอดภัยได้ คุณสามารถระบุรายชื่อไซต์ลงไปในแต่ละโซนได้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขเฉพาะของคุณเอง ยกเว้นโซน Internet ในขณะที่หัวข้อ Custom Level จะยอมให้คุณเปิดหรือปิดออปชันต่างๆได้โดยอิงกับความพอใจส่วนตัว ตัวอย่างเช่นคุณอาจต้องการให้มีการล็อกออนอัตโนมัติในเว็บไซต์ซึ่งกำหนดเอาไว้ในโซน Internet เท่านั้น แต่ไซต์อื่นๆจะไม่มีการล็อกออนอัตโนมัติ ส่วนหัวข้อ User Authentication ในโซน Custom Level ยอมให้คุณกำหนดความพึงพอใจส่วนตัวดังกล่าวได้ หรือถ้าหากคุณต้องการตรวจสอบดูว่ามีการเปิดการทำงานของ Pop-Up Blocker แล้วหรือยัง คุณก็สามารถเข้ามาดูได้ใน Custom Level นี้

3.จำกัดการรับคุ๊กกี้

คุ๊กกี้คือไฟล์ขนาดเล็กที่เก็บเอาไว้ในคอมพิวเตอร์ของคุณ ในไฟล์ดังกล่าวมีข้อมูลที่เว็บไซต์บางแห่งจำเป็นต้องใช้ คุ๊กกี้สามารถจัดเก็บหมายเลขประจำตัว รหัสผ่าน ความพอใจส่วนตัว ข้อมูลส่วนตัวหรือข้อมูลอื่นๆ ซึ่งจะช่วยให้ประสบการณ์ในการเข้าไปในไซต์ต่างๆดีขึ้น ตัวอย่างเช่นสมมติว่าคุณเข้าไปในเว็บไซต์ที่ยอมให้คุณเลือกภาษาที่คุณต้องการได้ จากนั้นคุณจึงไม่จำเป็นต้องเลือกภาษาทุกครั้งที่คุณเข้าไปในเว็บไซต์ดังกล่าว เนื่องจากเว็บไซต์แห่งนั้นทั้งไฟล์ข้อความที่จัดเก็บตัวเลือกภาษาที่คุณต้องการเอาไว้ในคอมพิวเตอร์ของคุณแล้ว ไฟล์ดังกล่าวก็คือคุ๊กกี้นั่นเอง

ข้อเสียก็คือ คุณไม่ทราบว่าคุ๊กกี้ถูกตั้งโปรแกรมให้รวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง คุณไม่รู้ว่าคุ๊กกี้มีประสงค์ร้ายหรือไม่ ถ้าหากมันเป็นคุ๊กกี้ประสงค์ร้าย คุณก็จะมีโปรแกรมชั่วร้ายขนาดเล็กติดตั้งเอาไว้ในฮาร์ดไดร์ฟของคุณโดยตรง คุ๊กกี้ประสงค์ร้ายสามารถจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลเกือบทุกอย่างเอาไว้ได้ อาทิเช่นชื่อของคุณ หมายเลขบัตรเครดิต ที่อยู่ และอื่นๆอีกมาก คุ๊กกี้อาจทำให้เมื่อคุณเข้าไปในเว็บไซต์แห่งใดแห่งหนึ่ง ก็อาจมีการจัดเก็บหรือเรียกใช้ข้อมูลซ้ำๆโดยที่คุณไม่ต้องการได้

ตัวแปรปกติของ Internet Explorer ยอมให้ติดตั้งคุ๊กกี้ได้ทุกโซน ยกเว้นโซน Restricted Sites อย่างไรก็ตามถ้าหากคุณต้องการจำกัดไม่ให้คุ๊กกี้เข้าไปในโซนใดโซนหนึ่ง สิ่งที่คุณต้องทำก็คือ

  1. ใน Internet explorer เข้าไปที่เมนู Tools คลิกที่ Internet Options เมื่อกรอบ Internet Options โผล่ขึ้นมาให้คลิกที่หัวข้อ Privacy
  1. ในหัวข้อ Setting ขยับแถบเลื่อนขึ้นหรือลงเพื่อปรับแต่งตัวแปร

การเลื่อนแถบเลื่อนขึ้นจะช่วยให้ระบบรักษาความปลอดภัยในคอมพิวเตอร์ของคุณแข็งแกร่งยิ่งขึ้น เพื่อไม่ให้มีการรับคุ๊กกี้เข้ามา ส่วนการเลื่อนแถบเลื่อนลงจะทำให้ระบบรักษาความปลอดภัยมีความเข้มงวดลดลง ซึ่งจะทำให้คุ๊กกี้เข้ามาได้ คุณต้องตรวจสอบกับแผนกไอทีของบริษัท ถ้าหากคุณไม่แน่ใจว่าจำเป็นต้องกำหนดตัวแปรระดับไหนกันแน่

นอกจากนั้นในหัวข้อ Settings ให้คลิกที่ Sites เพื่อกำหนดนโยบายคุ๊กกี้สำหรับแต่ละเว็บไซต์โดยตรงได้ ซึ่งตรงจุดนี้คุณสามารถกำหนดว่ามีเว็บไซต์ใดบ้างที่ยอมหรือไม่ยอมให้มีการใช้คุ๊กกี้บ้าง ให้คุณกรอกเว็บไซต์แอดเดรสที่ต้องการลงไปในกรอบข้อความ Address of Web site คลิกที่ปุ่ม Block เพื่อป้องกันไม่ให้คุ๊กกี้ทั้งหมดเว็บไซต์ที่ระบุเอาไว้หรือคลิกที่ปุ่ม Allow เพื่อยอมให้คุ๊กกี้ทั้งหมดจากเว็บไซต์ที่ระบุเข้ามาได้

     3.        กำหนดตัวแปรสำหรับแต่ละเว็บไซต์อื่นๆที่คุณต้องการกำหนดนโยบายคุ๊กกี้ด้วย

     4.        คลิก OK เพื่อย้อนกลับไปยังกรอบ Internet Options คลิก OK

ถ้าหากคุณกังวลว่าอาจมีคุ๊กกี้ในคอมพิวเตอร์ที่เก็บข้อมูลส่วนตัวของคุณเอาไว้ คุณสามารถลบคุ๊กกี้ได้โดยใช้ขั้นตอนดังต่อไปนี้

  1. ใน Internet Explorer เข้าไปในเมนู Tools คลิก Internet Options
  1. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าเลือกหัวข้อ General เอาไว้แล้ว (นี่เป็นค่าเริ่มต้นปกติ)
  1. ในหัวข้อ Temporary Internet files คลิกที่ปุ่ม Delete Cookies ระบบจะถามให้คุณยืนยันก่อนดำเนินการต่อไป
  1. คลิก OK

4.ตรวจสอบการเข้ารหัสก่อนที่จะกรอกข้อมูลลงไปในไซต์ต่างๆ

แม้ว่าการท่องอินเทอร์เน็ตมีอันตรายน้อยกว่าการเจอกระเป๋าลืมทิ้งเอาไว้ที่สนามบินก็ตาม แต่คุณก็ควรใส่ใจระบบรักษาความปลอดภัยอยู่ดี การเข้ารหัสเป็นวิธีการที่เจ้าของเว็บไซต์ใช้เพื่อช่วยในการปกป้องข้อมูลสำคัญอาทิเช่นชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ และหมายเลขบัตรเครดิตเป็นต้น ถ้าหากเว็บไซต์ที่คุณเข้าไปเยี่ยมชมไม่มีการเข้ารหัส ข้อมูลสำคัญที่คุณใส่ลงไปก็อาจถูกแฮกเกอร์เจาะไปใช้ในทางร้ายได้โดยง่าย

วิธีการตรวจสอบว่าคุณเรียกดูเว็บไซต์ที่เข้ารหัสอยู่หรือไม่

1.               ตรวจสอบดูว่าคุณใช้ Internet Explorer เวอร์ชันล่าสุดแล้วหรือยัง เหมือนอย่างที่อธิบายในข้อที่ 1 (อัพเดต อัพเดต อัพเดต) ด้านบน

2.               ตรวจสอบดูว่าเว็บไซต์ใช้ระบบเข้ารหัสเมื่อคุณกรอกหรือเรียกดูข้อมูลสำคัญ วิธีการตรวจสอบว่าเว็บไซต์ใช้ระบบเข้ารหัสหรือไม่ก็คือ ข้อหนึ่ง มีไอคอนกุญแจสีเหลืองอันเล็กๆอยู่ที่แถบสถานะของ Internet Explorer หรือไม่ ข้อสองดูจากเว็บแอดเดรส ถ้าหากข้อความเริ่มต้นโดย https:// (ต้องมีตัว s) นั่นหมายความว่าไซต์ดังกล่าวปลอดภัย ถ้าหากคุณเข้าไปในเว็บไซต์ที่ไม่มีระบบเข้ารหัสแบบใดแบบหนึ่ง จงอย่าคลิกปุ่ม Submit , Save หรือ OK เป็นอันขาด เนื่องจากข้อมูลสำคัญอาจถูกส่งออกไปโดยไม่มีการเข้ารหัส

http://my2tum.spaces.live.com/Blog/cns!8063AD140C744EB2!278.entry

guest profile guest

4 เทคนิคสำหรับการค้นหาข้อมูลผ่านเว็บอย่างปลอดภัย

อินเทอร์เน็ตคือแหล่งข้อมูลชั้นยอดถ้าหากคุณท่องเว็บอย่างปลอดภัย

สิ่งที่น่าแปลกใจก็คือผู้ซึ่งใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อพยายามค้นหาข้อมูลอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพกลับมักละเลยในเรื่องของความปลอดภัยเป็นประจำ ถ้าหากคุณเป็นคนหนึ่งซึ่งใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อค้นหาข้อมูลแบบใดแบบหนึ่งแล้วละก็ คุณกำลังทำให้ตนเองและบริษัทของคุณตกอยู่ในความเสี่ยงจากอันตรายที่ซุกซ่อนอยู่ตามจุดต่างๆในอินเทอร์เน็ต อาทิเช่นการโอนถ่ายข้อมูลลับของคุณออกไปโดยที่คุณไม่ได้อนุญาตเป็นต้น นอกจากนั้นคงไม่มีพนักงานคนใดอยากเป็นผู้รับผิดชอบเรื่องการปิดระบบเครือข่ายทั่วทั้งบริษัทเป็นแน่

ไม่ว่าคุณใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการใดก็ตาม เรามีวิธีที่ช่วยให้คุณค้นหาข้อมูลอย่างชาญฉลาดได้ นั่นก็คือจงตื่นตัวและเฝ้าระวังอยู่เสมอ เทคนิค 4 ประการดังต่อไปนี้จะช่วยป้องกันตัวของคุณและบริษัทของคุณจากแฮกเกอร์และโปรแกรมชั่วร้ายต่างๆได้

1. อัพเดต อัพเดต อัพเดต

ไมโครซอฟท์ทำการปรับปรุงคุณสมบัติและอัพเดตระบบรักษาความปลอดภัยให้แก่ผลิตภัณฑ์ทั้งหมดที่มีอยู่อย่างต่อเนื่อง รวมทั้ง Internet Explorer ด้วย ไม่มีโปรแกรมชนิดใดที่ปลอดภัยจากภัยคุกคามต่างๆได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ถ้าหากมีการค้นพบช่องโหว่ต่างๆ ไมโครซอฟท์จะทำการแก้ไข อัพเกรด และจัดทำเซอร์วิสแพกให้แก่ผลิตภัณฑ์เหล่านั้น ถ้าหากคุณต้องการทำให้คอมพิวเตอร์ของคุณมีระบบรักษาความปลอดภัยอยู่ในระดับสูงสุด คุณและแผนกไอทีของบริษัทจำเป็นต้องตรวจสอบดูว่า มีการติดตั้งเซอร์วิสแพกให้แก่โปรแกรมต่างๆแล้วหรือยัง

ก่อนที่คุณจะเข้าไปท่องเว็บ คุณต้องตรวจสอบให้แน่ใจเสียก่อนว่าคุณใช้ Internet Explorer เวอร์ชันล่าสุดแล้วหรือยัง ซึ่งใช้ขณะที่กำลังเขียนบทความนี้อยู่ IE รุ่นล่าสุดที่ใช้กับ Windows XP ก็คือเวอร์ชัน 6.0.2 (ต้องมีการติดตั้ง Service Pack 2 ให้แก่ Windows XP ด้วย) เซอร์วิสแพกหมายถึงโปรแกรมอัพเดตแจกฟรี เพื่อใช้กับโปรแกรมต่างๆของไมโครซอฟท์ ซึ่งในนั้นจะบรรจุการแก้ไขและการปรับปรุงต่างๆเอาไว้ ถ้าหากต้องการดูว่า IE ที่คุณใช้อยู่เป็นเวอร์ชันอะไร ให้ปฏิบัติตามขั้นตอนดังต่อไปนี้

  1. ใน Internet Explorer เข้าไปที่เมนู Help คลิกที่ About Internet Explorer ซึ่งในวินโดวส์ที่ปรากฏขึ้นมา คุณควรสังเกตหัวข้อ 3 หัวข้อดังนี้
  • Cipher Strength:
  1. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณใช้ Internet Explorer เวอร์ชันล่าสุด
  1. คลิก OK เพื่อปิดวินโดวส์

2.แบ่งโซน

การเซ็ตอัพอินเทอร์เน็ตโซนให้สอดคล้องกับความต้องการส่วนตัวของคุณเองจะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถป้องกันคุณในขณะที่ท่องเว็บได้ โซนก็คือพื้นที่โลจิคอลหรือการแบ่งเว็บไซต์ออกเป็นกลุ่มๆ โดยขึ้นอยู่กับว่าเว็บไซต์ตั้งอยู่ที่ใดจริงๆ และคุณเชื่อใจต้นตอดังกล่าวขนาดไหน โซนปกติซึ่งมีอยู่ใน Internet Explorer 6.0.2 ประกอบด้วย

  • Local Intranet: เว็บไซต์ซึ่งตั้งอยู่ในระบบเครือข่ายแบบโลคอลของคุณเอง การเรียกใช้เว็บไซต์เหล่านี้ไม่จำเป็นต้องกระทำผ่านอินเทอร์เน็ต
  • Trusted Sites: รายชื่อเว็บไซต์ที่คุณเชื่อใจว่าไม่ทำอันตรายต่อคอมพิวเตอร์ของคุณอย่างแน่นอน อาทิเช่นไซต์ซึ่งคุณพบว่ามีการเข้ารหัสอย่างเหมาะสมแล้ว
  • Restricted Sites: รายชื่อของเว็บไซต์ที่คุณมั่นใจหรือสงสัยว่าอาจก่ออันตรายต่อคอมพิวเตอร์ของคุณได้
  • Internet: ไซต์อื่นๆทั้งหมดที่ไม่อยู่ใน 3 กลุ่มแรก

คุณสามารถระบุได้ว่า Internet Explorer ควรทำงานอย่างไรเพื่อเรียกใช้เว็บไซต์ซึ่งอยู่ในแต่ละโซน โดยวิธีการก็คือเข้าไปใน Internet Explorer ในเมนู Tools คลิก Internet Options จากนั้นในกรอบInternet Options ให้คลิกที่หัวข้อ Security

เมื่อคุณเลือกโซนเนื้อหาในเว็บแล้ว คุณสามารถเปลี่ยนแปลงระดับของระบบรักษาความปลอดภัยได้ คุณสามารถระบุรายชื่อไซต์ลงไปในแต่ละโซนได้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขเฉพาะของคุณเอง ยกเว้นโซน Internet ในขณะที่หัวข้อ Custom Level จะยอมให้คุณเปิดหรือปิดออปชันต่างๆได้โดยอิงกับความพอใจส่วนตัว ตัวอย่างเช่นคุณอาจต้องการให้มีการล็อกออนอัตโนมัติในเว็บไซต์ซึ่งกำหนดเอาไว้ในโซน Internet เท่านั้น แต่ไซต์อื่นๆจะไม่มีการล็อกออนอัตโนมัติ ส่วนหัวข้อ User Authentication ในโซน Custom Level ยอมให้คุณกำหนดความพึงพอใจส่วนตัวดังกล่าวได้ หรือถ้าหากคุณต้องการตรวจสอบดูว่ามีการเปิดการทำงานของ Pop-Up Blocker แล้วหรือยัง คุณก็สามารถเข้ามาดูได้ใน Custom Level นี้

3.จำกัดการรับคุ๊กกี้

คุ๊กกี้คือไฟล์ขนาดเล็กที่เก็บเอาไว้ในคอมพิวเตอร์ของคุณ ในไฟล์ดังกล่าวมีข้อมูลที่เว็บไซต์บางแห่งจำเป็นต้องใช้ คุ๊กกี้สามารถจัดเก็บหมายเลขประจำตัว รหัสผ่าน ความพอใจส่วนตัว ข้อมูลส่วนตัวหรือข้อมูลอื่นๆ ซึ่งจะช่วยให้ประสบการณ์ในการเข้าไปในไซต์ต่างๆดีขึ้น ตัวอย่างเช่นสมมติว่าคุณเข้าไปในเว็บไซต์ที่ยอมให้คุณเลือกภาษาที่คุณต้องการได้ จากนั้นคุณจึงไม่จำเป็นต้องเลือกภาษาทุกครั้งที่คุณเข้าไปในเว็บไซต์ดังกล่าว เนื่องจากเว็บไซต์แห่งนั้นทั้งไฟล์ข้อความที่จัดเก็บตัวเลือกภาษาที่คุณต้องการเอาไว้ในคอมพิวเตอร์ของคุณแล้ว ไฟล์ดังกล่าวก็คือคุ๊กกี้นั่นเอง

ข้อเสียก็คือ คุณไม่ทราบว่าคุ๊กกี้ถูกตั้งโปรแกรมให้รวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง คุณไม่รู้ว่าคุ๊กกี้มีประสงค์ร้ายหรือไม่ ถ้าหากมันเป็นคุ๊กกี้ประสงค์ร้าย คุณก็จะมีโปรแกรมชั่วร้ายขนาดเล็กติดตั้งเอาไว้ในฮาร์ดไดร์ฟของคุณโดยตรง คุ๊กกี้ประสงค์ร้ายสามารถจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลเกือบทุกอย่างเอาไว้ได้ อาทิเช่นชื่อของคุณ หมายเลขบัตรเครดิต ที่อยู่ และอื่นๆอีกมาก คุ๊กกี้อาจทำให้เมื่อคุณเข้าไปในเว็บไซต์แห่งใดแห่งหนึ่ง ก็อาจมีการจัดเก็บหรือเรียกใช้ข้อมูลซ้ำๆโดยที่คุณไม่ต้องการได้

ตัวแปรปกติของ Internet Explorer ยอมให้ติดตั้งคุ๊กกี้ได้ทุกโซน ยกเว้นโซน Restricted Sites อย่างไรก็ตามถ้าหากคุณต้องการจำกัดไม่ให้คุ๊กกี้เข้าไปในโซนใดโซนหนึ่ง สิ่งที่คุณต้องทำก็คือ

  1. ใน Internet explorer เข้าไปที่เมนู Tools คลิกที่ Internet Options เมื่อกรอบ Internet Options โผล่ขึ้นมาให้คลิกที่หัวข้อ Privacy
  1. ในหัวข้อ Setting ขยับแถบเลื่อนขึ้นหรือลงเพื่อปรับแต่งตัวแปร

การเลื่อนแถบเลื่อนขึ้นจะช่วยให้ระบบรักษาความปลอดภัยในคอมพิวเตอร์ของคุณแข็งแกร่งยิ่งขึ้น เพื่อไม่ให้มีการรับคุ๊กกี้เข้ามา ส่วนการเลื่อนแถบเลื่อนลงจะทำให้ระบบรักษาความปลอดภัยมีความเข้มงวดลดลง ซึ่งจะทำให้คุ๊กกี้เข้ามาได้ คุณต้องตรวจสอบกับแผนกไอทีของบริษัท ถ้าหากคุณไม่แน่ใจว่าจำเป็นต้องกำหนดตัวแปรระดับไหนกันแน่

นอกจากนั้นในหัวข้อ Settings ให้คลิกที่ Sites เพื่อกำหนดนโยบายคุ๊กกี้สำหรับแต่ละเว็บไซต์โดยตรงได้ ซึ่งตรงจุดนี้คุณสามารถกำหนดว่ามีเว็บไซต์ใดบ้างที่ยอมหรือไม่ยอมให้มีการใช้คุ๊กกี้บ้าง ให้คุณกรอกเว็บไซต์แอดเดรสที่ต้องการลงไปในกรอบข้อความ Address of Web site คลิกที่ปุ่ม Block เพื่อป้องกันไม่ให้คุ๊กกี้ทั้งหมดเว็บไซต์ที่ระบุเอาไว้หรือคลิกที่ปุ่ม Allow เพื่อยอมให้คุ๊กกี้ทั้งหมดจากเว็บไซต์ที่ระบุเข้ามาได้

     3.        กำหนดตัวแปรสำหรับแต่ละเว็บไซต์อื่นๆที่คุณต้องการกำหนดนโยบายคุ๊กกี้ด้วย

     4.        คลิก OK เพื่อย้อนกลับไปยังกรอบ Internet Options คลิก OK

ถ้าหากคุณกังวลว่าอาจมีคุ๊กกี้ในคอมพิวเตอร์ที่เก็บข้อมูลส่วนตัวของคุณเอาไว้ คุณสามารถลบคุ๊กกี้ได้โดยใช้ขั้นตอนดังต่อไปนี้

  1. ใน Internet Explorer เข้าไปในเมนู Tools คลิก Internet Options
  1. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าเลือกหัวข้อ General เอาไว้แล้ว (นี่เป็นค่าเริ่มต้นปกติ)
  1. ในหัวข้อ Temporary Internet files คลิกที่ปุ่ม Delete Cookies ระบบจะถามให้คุณยืนยันก่อนดำเนินการต่อไป
  1. คลิก OK

4.ตรวจสอบการเข้ารหัสก่อนที่จะกรอกข้อมูลลงไปในไซต์ต่างๆ

แม้ว่าการท่องอินเทอร์เน็ตมีอันตรายน้อยกว่าการเจอกระเป๋าลืมทิ้งเอาไว้ที่สนามบินก็ตาม แต่คุณก็ควรใส่ใจระบบรักษาความปลอดภัยอยู่ดี การเข้ารหัสเป็นวิธีการที่เจ้าของเว็บไซต์ใช้เพื่อช่วยในการปกป้องข้อมูลสำคัญอาทิเช่นชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ และหมายเลขบัตรเครดิตเป็นต้น ถ้าหากเว็บไซต์ที่คุณเข้าไปเยี่ยมชมไม่มีการเข้ารหัส ข้อมูลสำคัญที่คุณใส่ลงไปก็อาจถูกแฮกเกอร์เจาะไปใช้ในทางร้ายได้โดยง่าย

วิธีการตรวจสอบว่าคุณเรียกดูเว็บไซต์ที่เข้ารหัสอยู่หรือไม่

1.               ตรวจสอบดูว่าคุณใช้ Internet Explorer เวอร์ชันล่าสุดแล้วหรือยัง เหมือนอย่างที่อธิบายในข้อที่ 1 (อัพเดต อัพเดต อัพเดต) ด้านบน

2.               ตรวจสอบดูว่าเว็บไซต์ใช้ระบบเข้ารหัสเมื่อคุณกรอกหรือเรียกดูข้อมูลสำคัญ วิธีการตรวจสอบว่าเว็บไซต์ใช้ระบบเข้ารหัสหรือไม่ก็คือ ข้อหนึ่ง มีไอคอนกุญแจสีเหลืองอันเล็กๆอยู่ที่แถบสถานะของ Internet Explorer หรือไม่ ข้อสองดูจากเว็บแอดเดรส ถ้าหากข้อความเริ่มต้นโดย https:// (ต้องมีตัว s) นั่นหมายความว่าไซต์ดังกล่าวปลอดภัย ถ้าหากคุณเข้าไปในเว็บไซต์ที่ไม่มีระบบเข้ารหัสแบบใดแบบหนึ่ง จงอย่าคลิกปุ่ม Submit , Save หรือ OK เป็นอันขาด เนื่องจากข้อมูลสำคัญอาจถูกส่งออกไปโดยไม่มีการเข้ารหัส

http://my2tum.spaces.live.com/Blog/cns!8063AD140C744EB2!278.entry

guest profile guest

เทคนิคการหาข้อมูลใน Google

Search Engine  เป็นเครื่องมือที่ทรงคุณค่า แต่ในทางกลับกันก็สร้างโทษมหันต์ จากสถิติเท่าที่ผมได้ยินมาพบว่าเว็บไซต์ที่ค้นหาจาก Google มี เว็บไซต์ที่มีประโยชน์ไม่ถึง 20% ที่เหลือเป็นเว็บที่ไม่มีประโยชน์เท่านั้นยังไม่พอ ยังเป็นโทษด้วย เช่นเว็บเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจาร หรือเนื้อหาไม่เหมาะสมคาดว่ามีมากกว่า 20-40% ของเว็บทั้งหมด

ข้อควรจำเกี่ยวกับเว็บไซต์ Google

  1. จงท่องไว้ว่า Google  เป็นเว็บที่อันตรายมีหลายประเทศที่มีการบล็อกเว็บไซต์นี้                          
  2. รายการที่อยู่ใน 10  ลำดับแรกถ้าไม่ใช่สุดฮิตจริงๆ      ก็มีเป้าหมายในการตลาด                    
  3. รายการที่อยู่หลังๆส่วน ใหญ่จะมีเปอร์เซนต์ที่ซ่อนข้อมูลที่มีค่า      และเว็บสุดแย่                    
  4. รูปภาพทั้งหมดที่ปรากฎใน  Google ให้คิดว่ามีลิขสิทธิ์นำไปใช้เพื่อสาธารณะไม่ควร      ระวังติดคุก ยกเว้น แต่เจ้าของเว็บจะยินยอมให้ใช้                    
  5. เราสามารถเลือกค้นหา  ซึ่งเป็นจุดเด่นเว็บนี้ หารูป      หรือเข้าในสารระบบ กลุ่มข่าวได้ด้วย

 

ดังนั้นเพื่อให้เราเข้าใจ และใช้เครื่องมือที่มีทั้งคุณและโทษนี้จึงมีคำแนะนำวิธีการใช้ดังนี้

  1. ไม่ควรใช้เครื่อง  Notebook หรือเครื่องประจำตัว                    
  2. ถ้าจำเป็นต้องใช้แนะนำ ให้ติดตั้งเครื่องมือป้องกันเต็มพิกัด
    1. Update       Patch ใหม่สุด                                        
    2. มี Personal  firewall                                        
    3. มี Antivirus ที่อัพเดต Signature       ใหม่สุดๆ                                        
    4. AntiSpyware                                        
    5. มี IDS/IPS ประจำเครื่องยิ่งดี                                        
    6. ปิดบริการบนเครื่องที่ ไม่จำเป็น โดยเฉพาะการใช้ NetBIOS       สำหรับเครื่อง Windows และ  NFS ในเครื่อง Unix                    
  3. เมื่อ Browser ทำการขึ้นข้อความใดๆให้เราเลือก      No ไว้ก่อน ถ้าอ่านแล้วงงๆ                                    
  4. เมื่อเข้าลิงค์จากรายการ ที่ค้นหาแล้ว      ต้องลงทะเบียนชื่อแนะนำให้ใช้ข้อมูลที่ได้รับผลกระทบน้อยที่สุด      เช่นเบอร์โทรศัพท์, Free E-mail เนื่องจากผลของเว็บที่ ค้นหาเหล่านี้ส่วนใหญ่เกิน      20% ที่พบมีวัตถุประสงค์ร้าย                                    
  5. ชื่อที่ต้องสงสัยใน รายการที่ค้นหาพบ เช่นเป็นหมายเลข IP      address หรือไม่มีแหล่งข้อมูลยืนยันว่าปลอดภัย      ให้ใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ            
guest profile guest

เทคนิคที่ควรรู้ในการค้นหาข้อมูล

                การค้นหาข้อมูลด้วย Search Engine ส่วนใหญ่แล้วปัญหาที่ผู้ใช้งานโดยทั่วไปมักจะพบเห็นหรือประสบอยู่เสมอๆ ก็คงจะหนีไปไม่พ้นข้อมูลที่ค้นหามาได้มีขนาดมากจนเกินไป ดังนั้นเพื่อความสะดวกในการใช้งาน คุณจึงน่าที่จะเรียนรู้เทคนิคต่างๆ เพื่อนำไปช่วยลด หรือจำกัดคำที่ค้นหามาได้ให้มีขนาดแคบ และตรงประเด็นกับเรามากที่สุด1. เลือกรูปแบบการค้นหาให้ตรงกับสิ่งที่คุณต้องการมากที่สุด ส่วนจะเลือกใช้วิธีไหนก็ตามแต่คุณจะเห็นว่า เหมาะสม

 

                1. เลือกรูปแบบการค้นหาให้ตรงกับสิ่งที่คุณต้องการมากที่สุด ส่วนจะเลือกใช้วิธีไหนก็ตามแต่คุณจะเห็นว่า เหมาะสม เช่น ถ้าคุณต้องการจะค้นหาข้อมูลที่มีลักษณะทั่วๆไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง ก็ควรเลือกบริการสืบค้นข้อมูล แบบ Index อย่างของ Yahoo เพราะโอกาสที่จะเจอนั้นมีเปอร์เซ็นต์ความเป็นไปได้สูงกว่าจะมานั่งสุ่มหาโดยใช้วิธีแบบ Search Engine

 

2. ใช้คำมากกว่าหนึ่งคำที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกันช่วยค้นหา เพราะจะทำให้ผลลัพธ์ที่ได้มามีขนาด แคบลง ชี้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น น่าจะดีกว่าการค้นหาโดยใช้เพียงคำเดียวโดดๆ

 

3. ใช้บริการของผู้ที่ให้บริการเฉพาะด้าน เช่น ต้องการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวของภาพยนตร์ก็น่าที่จะเลือกใช้ Search Engine ที่ให้บริการเกี่ยวกับเรื่องพวกนี้โดยตรง เพราะผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นหาน่าจะเป็นที่พอใจมากกว่า

 

              4. ใส่เครื่องหมายคำพูดคลุมกลุ่มคำที่ต้องการ เพื่อบอกกับ Search Engine ว่าเราต้องการผลของการค้นหาที่มีคำในกลุ่มนั้นครบถ้วน และตรงตามลำดับที่พิมพ์ทุกประการ เช่น “Free Shareware

 

              5. การขึ้นต้นของตัวอักษร กรณีที่คุณพิมพ์ตัวอักษรพิมพ์เล็กทั้งหมด Search Engine จะเข้าใจว่าเราต้องการให้มันค้นหาคำดังกล่าวแบบไม่ต้องสนใจว่าตัวอักษรที่ตรวจพบได้ จะมีขนาดเล็กหรือใหญ่ ดังนั้นหากคุณต้องการอยากที่จะให้มันค้นหาคำตรงตามแบบที่เขียนไว้ ก็ให้ใช้ตัวอักษรแบบพิมพ์ใหญ่แทน

 

                 6. ใช้ตัวเชื่อมทางโลจิก (Logic) หรือตรรกศาสตร์เข้ามาช่วยค้นหา มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 3 ตัวคือ

 

*   AND สั่งให้ค้นหาเว็บไซต์ที่มีคำสองคำนี้อยู่ด้วยมาแสดงเท่านั้น โดยไม่จำเป็นจะต้องอยู่ชิดติดกัน หากใส่เครื่องหมายคำพูดลงไปด้วย ความหมายก็จะเปลี่ยนแปลงไปในอีกรูปแบบหนึ่ง กลายเป็นการสั่งให้ค้นหาคำทั้งสองนี้ที่อยู่ในลักษณะชิดติดกันแทน เช่น titanic AND movie กับ “titanic  AND movie

 

*   OR สั่งให้ค้นหาเว็บไซต์ที่มีคำทั้งสองคำหรือคำใดคำหนี่งจากที่กำหนดมาแสดง

          

*   NOT ใช้สำหรับตัดคำที่ไม่ต้องการออกไปจากการค้นหา เช่น อาหาร AND เป็ดปักกิ่ง NOT หูฉลาม หมายความว่า ให้ Search Engine ทำการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับอาหารและเป็ดปักกิ่งแต่ไม่เอาหูฉลาม

 

              7. ใช้เครื่องหมายบวกลบช่วยตัดคำ

*     บวก (+) ใช่นำหน้าคำที่ต้องการจริงๆ

*     ลบ (-) ใช้นำหน้าคำที่ไม่ต้องการ

*     วงเล็บ () ใช้เครื่องหมายวงเล็บช่วยในการคัดแยกกลุ่มคำ เช่น (computer +ram) -rom

 

8. ใช้เครื่องหมายไวด์การ์ด (Widcard) ช่วยในการค้นหาคำที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน เช่น com* กรณีเช่นนี้ จะเป็นการบอกให้ Search Engine ทราบว่าเราต้องการต้นหาคำที่มีคำว่า com นำหน้า ส่วนตัวท้ายจะเป็นอะไรก็ได้ ยกตัวอย่าง coma, computer, combat และ company เป็นต้น

 

รายชื่อของ Search Engine ที่น่าสนใจ

                Search Engine ไทย (ใช้คำไทยค้นหาได้เลย)

 

 


                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                http://search.sanook.com/

 

 

 

 

 

 

 

 


                                                                                                                                http://www.google.co.th/

 

 

 

Search Engine ของเมืองนอก

 

 

                                                                                                                http://www.search.com/

 

 

 

Tips ในการตั้งคำถามสำหรับการค้นหาข้อมูล

                เมื่อเราต้องการค้นหาข้อมูลบางอย่างใน Internet นั้นเราจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องบอกความต้องการที่จะค้นหาข้อมูลให้ถูกต้อง ไม่เช่นนั้นแล้วผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นหาจะได้ตรงกับความต้องการของเรา เช่น การค้นหาคำว่า “restaurants in Italy” กับ “Italy restaurants” ผลลัพธ์ที่ได้จะห่างไกลกันมาก ดังนั้นในการค้นหาข้อมูลต่างๆในInternet นั้นจะต้องกำหนดคำถามที่ชัดเจนและตรงกับสิ่งที่เราต้องการจะค้นหามากที่สุด ซึ่งข้อแนะนำในการตั้งคำถามมีดังนี้

*   อย่าพยายามตั้งคำถามโดยมีคำนำหน้านาม (articles) นำหน้าคำที่ต้องการค้นหา เช่น การใช้ an หรือ The นำหน้า

*   ตั้งคำถามให้ตรงกับความต้องการของเรามากที่สุด โดยพิจารณาว่าสิ่งที่เราต้องการนั้นเป็นข้อมูลโดยตรงหรือข้อมูลอ้างอิง

*   ถ้าผลลัพธ์ที่ได้จากคำถามครั้งแรกไม่ตรงกับความต้องการให้ทดลองเปลี่ยนคำถามเล็กน้อย เช่น อาจเปลี่ยนการผสมคำต่างๆ เพื่อให้ได้คำถามใหม่ จากนั้นจึงทำการค้นหาอีกครั้งหนึ่ง

 

ที่มา:   หัวข้อเทคนิคการค้นหาข้อมูล จากหนังสือ Amazing internet (หน้า 249 - 251) ชื่อผู้แต่ง ธรรมรัตน์ ศานติวรนันท์

หัวข้อ Tips ในการตั้งคำถามสำหรับการค้นหาข้อมูล  จากหนังสือ Getting into Internet Handbook. (หน้า 95) ชื่อผู้แต่ง ธีรพล กาญจนอำพล และ ภิญโญ ตั้ง

             ภาพจาก http://search.sanook.com/, http://www.google.co.th/, http://www.search.com/

guest profile guest

เทคนิคที่ควรรู้ในการค้นหาข้อมูล

                การค้นหาข้อมูลด้วย Search Engine ส่วนใหญ่แล้วปัญหาที่ผู้ใช้งานโดยทั่วไปมักจะพบเห็นหรือประสบอยู่เสมอๆ ก็คงจะหนีไปไม่พ้นข้อมูลที่ค้นหามาได้มีขนาดมากจนเกินไป ดังนั้นเพื่อความสะดวกในการใช้งาน คุณจึงน่าที่จะเรียนรู้เทคนิคต่างๆ เพื่อนำไปช่วยลด หรือจำกัดคำที่ค้นหามาได้ให้มีขนาดแคบ และตรงประเด็นกับเรามากที่สุด1. เลือกรูปแบบการค้นหาให้ตรงกับสิ่งที่คุณต้องการมากที่สุด ส่วนจะเลือกใช้วิธีไหนก็ตามแต่คุณจะเห็นว่า เหมาะสม

 

                1. เลือกรูปแบบการค้นหาให้ตรงกับสิ่งที่คุณต้องการมากที่สุด ส่วนจะเลือกใช้วิธีไหนก็ตามแต่คุณจะเห็นว่า เหมาะสม เช่น ถ้าคุณต้องการจะค้นหาข้อมูลที่มีลักษณะทั่วๆไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง ก็ควรเลือกบริการสืบค้นข้อมูล แบบ Index อย่างของ Yahoo เพราะโอกาสที่จะเจอนั้นมีเปอร์เซ็นต์ความเป็นไปได้สูงกว่าจะมานั่งสุ่มหาโดยใช้วิธีแบบ Search Engine

 

2. ใช้คำมากกว่าหนึ่งคำที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกันช่วยค้นหา เพราะจะทำให้ผลลัพธ์ที่ได้มามีขนาด แคบลง ชี้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น น่าจะดีกว่าการค้นหาโดยใช้เพียงคำเดียวโดดๆ

 

3. ใช้บริการของผู้ที่ให้บริการเฉพาะด้าน เช่น ต้องการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวของภาพยนตร์ก็น่าที่จะเลือกใช้ Search Engine ที่ให้บริการเกี่ยวกับเรื่องพวกนี้โดยตรง เพราะผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นหาน่าจะเป็นที่พอใจมากกว่า

 

              4. ใส่เครื่องหมายคำพูดคลุมกลุ่มคำที่ต้องการ เพื่อบอกกับ Search Engine ว่าเราต้องการผลของการค้นหาที่มีคำในกลุ่มนั้นครบถ้วน และตรงตามลำดับที่พิมพ์ทุกประการ เช่น “Free Shareware

 

              5. การขึ้นต้นของตัวอักษร กรณีที่คุณพิมพ์ตัวอักษรพิมพ์เล็กทั้งหมด Search Engine จะเข้าใจว่าเราต้องการให้มันค้นหาคำดังกล่าวแบบไม่ต้องสนใจว่าตัวอักษรที่ตรวจพบได้ จะมีขนาดเล็กหรือใหญ่ ดังนั้นหากคุณต้องการอยากที่จะให้มันค้นหาคำตรงตามแบบที่เขียนไว้ ก็ให้ใช้ตัวอักษรแบบพิมพ์ใหญ่แทน

 

                 6. ใช้ตัวเชื่อมทางโลจิก (Logic) หรือตรรกศาสตร์เข้ามาช่วยค้นหา มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 3 ตัวคือ

 

*   AND สั่งให้ค้นหาเว็บไซต์ที่มีคำสองคำนี้อยู่ด้วยมาแสดงเท่านั้น โดยไม่จำเป็นจะต้องอยู่ชิดติดกัน หากใส่เครื่องหมายคำพูดลงไปด้วย ความหมายก็จะเปลี่ยนแปลงไปในอีกรูปแบบหนึ่ง กลายเป็นการสั่งให้ค้นหาคำทั้งสองนี้ที่อยู่ในลักษณะชิดติดกันแทน เช่น titanic AND movie กับ “titanic  AND movie

 

*   OR สั่งให้ค้นหาเว็บไซต์ที่มีคำทั้งสองคำหรือคำใดคำหนี่งจากที่กำหนดมาแสดง

          

*   NOT ใช้สำหรับตัดคำที่ไม่ต้องการออกไปจากการค้นหา เช่น อาหาร AND เป็ดปักกิ่ง NOT หูฉลาม หมายความว่า ให้ Search Engine ทำการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับอาหารและเป็ดปักกิ่งแต่ไม่เอาหูฉลาม

 

              7. ใช้เครื่องหมายบวกลบช่วยตัดคำ

*     บวก (+) ใช่นำหน้าคำที่ต้องการจริงๆ

*     ลบ (-) ใช้นำหน้าคำที่ไม่ต้องการ

*     วงเล็บ () ใช้เครื่องหมายวงเล็บช่วยในการคัดแยกกลุ่มคำ เช่น (computer +ram) -rom

 

8. ใช้เครื่องหมายไวด์การ์ด (Widcard) ช่วยในการค้นหาคำที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน เช่น com* กรณีเช่นนี้ จะเป็นการบอกให้ Search Engine ทราบว่าเราต้องการต้นหาคำที่มีคำว่า com นำหน้า ส่วนตัวท้ายจะเป็นอะไรก็ได้ ยกตัวอย่าง coma, computer, combat และ company เป็นต้น

 

รายชื่อของ Search Engine ที่น่าสนใจ

                Search Engine ไทย (ใช้คำไทยค้นหาได้เลย)

- http://search.sanook.com/

- http://www.google.co.th/

Search Engine ของเมืองนอก

- http://www.search.com/

- http://www.hotbot.com

Tips ในการตั้งคำถามสำหรับการค้นหาข้อมูล

                เมื่อเราต้องการค้นหาข้อมูลบางอย่างใน Internet นั้นเราจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องบอกความต้องการที่จะค้นหาข้อมูลให้ถูกต้อง ไม่เช่นนั้นแล้วผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นหาจะได้ตรงกับความต้องการของเรา เช่น การค้นหาคำว่า “restaurants in Italy” กับ “Italy restaurants” ผลลัพธ์ที่ได้จะห่างไกลกันมาก ดังนั้นในการค้นหาข้อมูลต่างๆในInternet นั้นจะต้องกำหนดคำถามที่ชัดเจนและตรงกับสิ่งที่เราต้องการจะค้นหามากที่สุด ซึ่งข้อแนะนำในการตั้งคำถามมีดังนี้

*   อย่าพยายามตั้งคำถามโดยมีคำนำหน้านาม (articles) นำหน้าคำที่ต้องการค้นหา เช่น การใช้ an หรือ The นำหน้า

*   ตั้งคำถามให้ตรงกับความต้องการของเรามากที่สุด โดยพิจารณาว่าสิ่งที่เราต้องการนั้นเป็นข้อมูลโดยตรงหรือข้อมูลอ้างอิง

*   ถ้าผลลัพธ์ที่ได้จากคำถามครั้งแรกไม่ตรงกับความต้องการให้ทดลองเปลี่ยนคำถามเล็กน้อย เช่น อาจเปลี่ยนการผสมคำต่างๆ เพื่อให้ได้คำถามใหม่ จากนั้นจึงทำการค้นหาอีกครั้งหนึ่ง

ที่มา:   หัวข้อเทคนิคการค้นหาข้อมูล จากหนังสือ Amazing internet (หน้า 249 - 251) ชื่อผู้แต่ง ธรรมรัตน์ ศานติวรนันท์

หัวข้อ Tips ในการตั้งคำถามสำหรับการค้นหาข้อมูล  จากหนังสือ Getting into Internet Handbook. (หน้า 95) ชื่อผู้แต่ง ธีรพล กาญจนอำพล และ ภิญโญ ตั้ง

            

guest profile guest

เทคนิคการค้นหาข้อมูล

เทคนิคการค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ต เป็นวิธีการที่รวดเร็ว และประหยัด แต่มีข้อเสียอยู่นิดหนึ่ง คือเสียค่าใช้จ่ายมาก ยิ่งถ้าผู้ใช้ไม่รู้เทคนิคในการค้นหาข้อมูลที่ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ผู้ใช้ต้องเสียเวลาในการการค้นหาข้อมูลนั้นเป็นเวลานาน  ดังนั้นดิฉันจึงมีเทคนิคการค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ต ในเว็บไซต์ที่มีผู้เข้าใช้ค้นหาข้อมูลกันมากในปัจจุบัน  ไม่ว่าจะเป็นนักเรียน  นักศึกษา  หรือบุคคลทั่วไปก็จะให้เว็บไซต์เหล่านี้ในการค้นหาข้อมูล เว็บไซต์ที่ว่านี้คือเว็บไซต์  Yahoo   และ  Google

เทคนิคการค้นหาข้อมูลในเว็บ  Yahoo

Yahoo ถือว่าเป็นบริการค้นหาข้อมูลที่ได้รับความนิยมมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เนื่องจาก Yahoo แบ่งการทำงานออกเป็น 2 ลักษณะ คือ เป็นทั้ง Directories และ Search engine

โดยที่การค้นหาข้อมูลแบบ Directories นั้น มีวิธีการค้นหาที่แตกต่างจากแบบ Search engine ตรงที่ ข้อมูลจะถูกจัดเก็บ ในลักษณะ ที่เป็นหมวดหมู่ หรือแยกตามประเภท ที่กระทำโดยคน ไม่ใช่โดย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งวิธีการค้นหาข้อมูลแบบนี้ จะทำได้โดยการเข้าไปดูทีละ categories และเข้าไป ใน sub-categories ซึ่งเริ่มจากหัวข้อที่เป็นเรื่องทั่วไปหรือกว้าง ๆ ก่อน แล้วจึงเข้าสู่หัวข้อ ที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่ง ถึงหัวข้อที่เราต้องการ ข้อดีของการจัดโครงสร้างแบบนี้ คือ จะทำให้คุณ มีโอกาสเลือก ในสิ่งที่ต้องการได้ในขณะที่เข้าไปในหัวข้อย่อยนั้น ๆ

แต่สำหรับการค้นหาข้อมูลแบบ Search engine นั้นเป็นการค้นหาข้อมูลจาก Keyword ที่คุณพิมพ์ลงไป โดยที่คุณจะไม่มีโอกาสรู้เลยว่า มีข้อมูลอะไรบรรจุไว้ในนั้นบ้าง จนกว่าคุณจะพิมพ์คำ ที่ต้องการค้นหาลงไป ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ในครั้งแรก อาจจะต้องลองเปลี่ยนคำที่เป็น Keyword หลายครั้ง หรืออาจจะต้อง กลั่นกรองคำที่ค้นหาเพื่อให้ผลลัพธ์แคบลง และอาจจะต้องพยายามใหม่อีกหลายครั้ง ดังนั้น จะเห็นได้ว่า ผลลัพธ์ที่แสดงขึ้นมาจากการค้นหาข้อมูลแบบ Search engine จึงเป็นผลลัพธ์ที่ มีจาก Keywords ที่คุณพิมพ์ลงไปนั่นเอง

เทคนิคการค้นหาข้อมูลแบบ Directories

Yahoo ได้จัดแบ่งลักษณะโครงสร้างแบบ Directories หรือการจัดหมวดหมู่ ออกเป็นหัวข้อใหญ่ ๆ 14 หัวข้อ คือ

1.Arts and Humanities

2.Business and Economy

3.Computers and Internet

4.Education

5.Entertainment

6.Government

7.Health

8.News and Media

9.Recreation and Sports

10.Reference

11.Regional

12.Science

13.Social Science

14.Society and Culture

เทคนิคการค้นหาข้อมูลแบบ Search engine

เทคนิคการค้นหาข้อมูลแบบ Search engine มีวิธีการดังต่อไปนี้

1.    พิมพ์คำ หรือวลีที่คุณต้องการค้นหาลงไปในช่องว่างเลยโดยพิมพ์เป็นต้วอักษรตัวเล็กแล้ว คลิ้กที่ปุ่ม Search ผลลัพธ์ก็จะปรากฎขึ้นมา

2.    คุณสามารถใช้ wildcard เพื่อช่วยในการค้นหาข้อมูลได้ด้วยโดยการใช้เครื่องหมายดอกจัน (*) ตัวอย่างเช่น ต้องการหาคำทั้งหมดที่ขึ้นต้นคำว่า refresh ให้พิมพ์ว่า refresh* ลงในช่องว่าง Yahoo จะทำการค้นหาคำต่าง ๆ ที่ขึ้นด้วย refresh เช่น refreshing , refreshment , และ refresher

3.    ในกรณีที่ต้องการค้นหาวลี(คำที่อยู่ติดกันตั้งแต่ 2 คำขึ้นไป) ให้ใช้เครื่องหมาย [……….] ล้อมรอบ เช่น [office 97] ไม่เช่นนั้น Yahoo จะแสดงผลลัพธ์ของทุกเว็บไซต์ที่มีคำว่า office กับคำว่า 97 ซึ่งไม่ได้เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เราต้องการ

4.
ใช้บูลีนซึ่งประกอบด้วย AND, OR, NOT ช่วยในการค้นหา ตัวอย่างเช่น pattaya AND phuket จะค้นหาเฉพาะเว็บไซต์ที่มีคำทั้งสองคำนี้อยู่ ส่วน pattaya OR phuket จะทำการค้นหาเว็บไซต์ที่มีคำใดคำหนึ่ง หรือทั้งสองคำนี้อยู่สำหรับ pattaya NOT phuket จะทำการค้นหาเฉพาะเว็บไซต์ที่มีคำว่า pattaya โดยไม่มีคำว่า phuket อยู่ด้วย

5.
ใช้เครื่องหมายบวก (+) และเครื่องหมายลบ (-) โดยที่เราจะใช้เครื่องหมายบวก เมื่อเราต้องการ ให้คำ ๆ นั้นอยู่ด้วยในผลลัพธ์ทั้งหมด เช่น scuba diving + phuket และเราจะใช้เครื่องหมายลบ นำหน้าคำที่ไม่ต้องการให้อยู่ในผลลัพธ์ เช่น scuba diving - phuket

6.
ในกรณีที่ต้องการค้นหาเฉพาะ title ให้พิมพ์ t: นำหน้าคำหรือวลี เช่น t: elvis prestley

7.
ถ้าต้องการค้นหาเฉพาะ URL ให้พิมพ์ u: นำหน้าคำหรือวลี เช่น u: toyota

สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ปรากฎใน Yahoo

1.             แว่นกันแดด หมายถึง เว็บไซต์นั้นดีมาก ขอแนะนำให้เข้าไปดู

2.             Xtral หมายถึง มีข่าวล่าสุดเกี่ยวกับหัวข้อนั้น

3.             @ หมายถึง ข้อมูลใน category นั้น ได้ถูกจัดให้อยู่ใน category อื่นด้วย เช่น เบ็ดตะปลา นอกจากจะอยู่ในหัวข้อ Business and Economy ด้วย

เทคนิคการค้นหาข้อมูลในเว็บ  Google

    เทคนิคการค้นหาข้อมูล   Google.com อย่างมืออาชีพ (อ้างอิงจากเวป Google ภาษาอังกฤษ)

1. Google จะใช้ and (และ) อยู่ในประโยคเสมอ เช่น ค้นหา harvest moon back to nature. Google จะค้นหาแบบ harvest AND moon AND back... (พูดง่ายๆคือค้นหาแบบแยกคำ)

2. การใช้ OR (หรือ) คือการให้ Google หาข้อมูลมากขึ้นจาก คำA และ คำB (พูดง่ายๆ คือนำผลที่ได้ มารวมกันรวมกัน) วิธีใช้ พิมพ์ OR ด้วยตัวใหญ่ระหว่างคำที่ต้องการ เช่น vacation london OR paris คือหาทั้งใน London และ Paris

3. Google จะละคำทั่วๆไป (เช่น the, to, of) และตัวอักษรเดี่ยว เพราะจะทำให้ค้นหาช้าลง แต่ถ้าคำ พวกนั้นสามารถช่วยให้หาข้อมูลง่ายขึ้น ก็ต้องใช้เครื่องหมาย + ช่วยโดยนำไปอยู่หน้าคำนั้น (ต้องเว้นวรรคก่อนด้วย) เช่น back +to nature final fantasy +x

4. Google สามารถกันขอบเขตการค้นหาให้เล็กลงด้วยการใช้ Advanced Search หรือ การค้นหา แบบพิเศษ ใน Google ภาษาไทย

5. Google สามารถตัดคำพ้องรูปได้โดยใช้เครื่องหมาย - ช่วยโดยการนำไปอยู่คำที่จะตัด เช่น คำว่า bass มี 2 ความหมายคือ เกี่ยวกับปลา และดนดรีเราจะตัดที่มีความหมายเกี่ยว กับดนตรีออกโดยพิมพ์ bass -music หมายความว่า bass ที่ไม่มีคำว่า music นอกจากนี้มันยังสามารถตัดอย่างอื่นได้อีก เช่น "front mission 3" -filetype:pdf หมายความว่า เรื่องเกี่ยวกับ front mission 3 แต่ไม่แสดงไฟล์ PDF

6. การค้นหาแบบทั้งวลี (คือการค้นหาทั้งกลุ่มคำ) ให้ใช้เครื่องหมาย " " เช่น "Breath of fire IV"

7. Google สามารถแปลเวปภาษา Italian, French, Spanish, German, และ Portuguese เป็น ภาษาอังกฤษได้ (โดยคลิ้กที่คำว่า "Translate this page" ด้านข้างชื่อเวป)

8. Google สามารถหาไฟล์ในรูปแบบอื่นๆที่ไม่ใช่ HTML ได้ ประเภทไฟล์ที่รองรับคือ
Adobe Portable Document Format (pdf) Microsoft PowerPoint (ppt)
Adobe PostScript (ps) Microsoft Word (doc)
Lotus 1-2-3 (wk1, wk2, wk3, wk4, wk5, wki, wks, wku) Microsoft Works (wks, wps, wdb)
Lotus WordPro (lwp) Microsoft Write (wri)
MacWrite (mw) Rich Text Format (rtf)
Microsoft Excel (xls) Text (ans, txt)
วิธีใช้ filetype:นามสกุลของไฟล์ เช่น "Chrono Cross" filetype:pdf หมายความว่าเอกสารของ Chrono Cross ที่เป็น PDF และมันยังมีความสามารถดูไฟล์เหล่านั้นในรูปแบบของ HTML ได้ (โดยคลิ้ก View as HTML หรือ รูปแบบ HTML ใน Google ไทย)

9. Google สามารถเก็บ Cached ของเวปที่จะเข้าชมไว้ได้ (โดยคลิ้กที่ Cached หรือ ถูกเก็บไว้ ใน Google ภาษาไทย) ประโยชน์ของมันคือช่วยให้เราสามารถเข้าเวปบางเวปที่อาจโดนลบไปแล้ว โดย ข้อมูลที่ได้เป็นข้อมูลก่อนถูกลบ (ใหม่สุดที่มันจะมีได้)

10.Google สามารถค้นหาหน้าที่คล้ายกัน (โดยคลิ้ก Similar pages หรือ หน้าที่คล้ายกัน ใน Google ภาษาไทย) โดยจะค้นหาข้อมูลที่คล้ายๆ กันให้เรา เช่น ถ้าเรากำลังหาข้อมูลการวิจัย ความสามารถนี้จะ ช่วยให้หาข้อมูลได้มากมายในเวลาที่รวดเร็วโดยไม่ต้องเป็นห่วงเรื่อง keyword

11.Google สามารถค้นหา link ทั้งหมดที่เชื่อมไปยังเวปนั้นได้ วิธีใช้ link:ชื่อ URL เช่น ink:www.google.com และคุณไม่สามารถใช้ความสามารถนี้ร่วมกับการหาแบบอื่นๆ ได้

12.Google สามารถค้นหาเวปที่จำเพาะเจาะจงได้ โดยพิมพ์ คำที่คุณต้องการเจาะจง site:ชื่อ URL เช่น ถ้าคุณต้องการหาเวปเกี่ยวกับการเข้า (admission) มหาวิทยาลัย Stanford ให้พิมพ์ admission site:www.stanford.edu

13.ถ้าคุณมีเวลาน้อย (และคิดว่าโชคดี) Google มีบริการการค้นหาด่วน (ชื่อบริการ I'm Feeling Lucky) โดยที่ Google จะนำเวปที่อยู่ลำดับแรกของการค้นหา ส่งให้คุณเลย (link ไปเวปนั้นให้เสร็จ) เช่น คุณต้องการค้นหาเวปมหาวิทยาลัย Stanford อย่างด่วนให้พิมพ์ Stanford แล้วกด I'm Feeling Lucky หรือ โชคเข้าข้างเราแน่ ใน Google ไทย

14.Google สามารถหาแผนที่ของสหรัฐอเมริกาได้โดยพิมพ์ ที่อยู่ ชื่อถนน พร้อมด้วยชื่อรัฐ เช่น 165 University Ave Palo Alto CA Google จะจัดการส่งแผนที่คุณภาพสูงมาให้คุณ

15.Google สามารถหาเบอร์โทร (เฉพาะอเมริกา) หรือพิมพ์เบอร์โทรแล้วหาบริษัทได้โดยพิมพ์
first name (or first initial), last name, city (state is optional) phone number, including area code
first name (or first initial), last name, state last name, city, state
first name (or first initial), last name, area code last name, zip code
first name (or first initial), last name, zip code
แล้วแต่ว่าคุณจะใช้แบบไหน

16.Google สามารถค้นหา Catalog สินค้าได้ (เข้าไปที่ http://catalogs.google.com)/

17.Google สามารถเก็บข้อมูลลักษณะการใช้ที่คุณต้องการได้โดยเข้าไปที่ Preferences หรือ ตัวเลือก ใน Google ไทย

ที่มา นิติยสาร inlernet to d@a  ปีที่ 3ฉบับที่ 36   มิถุนายน  2551
  www.sdl.academic.chula.ac.th
  www.elib-online.com                                     

 

guest profile guest

เทคนิคการค้นหาข้อมูล

เทคนิคการค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ต เป็นวิธีการที่รวดเร็ว และประหยัด แต่มีข้อเสียอยู่นิดหนึ่ง คือเสียค่าใช้จ่ายมาก ยิ่งถ้าผู้ใช้ไม่รู้เทคนิคในการค้นหาข้อมูลที่ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ผู้ใช้ต้องเสียเวลาในการการค้นหาข้อมูลนั้นเป็นเวลานาน  ดังนั้นดิฉันจึงมีเทคนิคการค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ต ในเว็บไซต์ที่มีผู้เข้าใช้ค้นหาข้อมูลกันมากในปัจจุบัน  ไม่ว่าจะเป็นนักเรียน  นักศึกษา  หรือบุคคลทั่วไปก็จะให้เว็บไซต์เหล่านี้ในการค้นหาข้อมูล เว็บไซต์ที่ว่านี้คือเว็บไซต์  Yahoo   และ  Google

เทคนิคการค้นหาข้อมูลในเว็บ  Yahoo

Yahoo ถือว่าเป็นบริการค้นหาข้อมูลที่ได้รับความนิยมมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เนื่องจาก Yahoo แบ่งการทำงานออกเป็น 2 ลักษณะ คือ เป็นทั้ง Directories และ Search engine

โดยที่การค้นหาข้อมูลแบบ Directories นั้น มีวิธีการค้นหาที่แตกต่างจากแบบ Search engine ตรงที่ ข้อมูลจะถูกจัดเก็บ ในลักษณะ ที่เป็นหมวดหมู่ หรือแยกตามประเภท ที่กระทำโดยคน ไม่ใช่โดย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งวิธีการค้นหาข้อมูลแบบนี้ จะทำได้โดยการเข้าไปดูทีละ categories และเข้าไป ใน sub-categories ซึ่งเริ่มจากหัวข้อที่เป็นเรื่องทั่วไปหรือกว้าง ๆ ก่อน แล้วจึงเข้าสู่หัวข้อ ที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่ง ถึงหัวข้อที่เราต้องการ ข้อดีของการจัดโครงสร้างแบบนี้ คือ จะทำให้คุณ มีโอกาสเลือก ในสิ่งที่ต้องการได้ในขณะที่เข้าไปในหัวข้อย่อยนั้น ๆ

แต่สำหรับการค้นหาข้อมูลแบบ Search engine นั้นเป็นการค้นหาข้อมูลจาก Keyword ที่คุณพิมพ์ลงไป โดยที่คุณจะไม่มีโอกาสรู้เลยว่า มีข้อมูลอะไรบรรจุไว้ในนั้นบ้าง จนกว่าคุณจะพิมพ์คำ ที่ต้องการค้นหาลงไป ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ในครั้งแรก อาจจะต้องลองเปลี่ยนคำที่เป็น Keyword หลายครั้ง หรืออาจจะต้อง กลั่นกรองคำที่ค้นหาเพื่อให้ผลลัพธ์แคบลง และอาจจะต้องพยายามใหม่อีกหลายครั้ง ดังนั้น จะเห็นได้ว่า ผลลัพธ์ที่แสดงขึ้นมาจากการค้นหาข้อมูลแบบ Search engine จึงเป็นผลลัพธ์ที่ มีจาก Keywords ที่คุณพิมพ์ลงไปนั่นเอง

เทคนิคการค้นหาข้อมูลแบบ Directories

Yahoo ได้จัดแบ่งลักษณะโครงสร้างแบบ Directories หรือการจัดหมวดหมู่ ออกเป็นหัวข้อใหญ่ ๆ 14 หัวข้อ คือ

1.Arts and Humanities

2.Business and Economy

3.Computers and Internet

4.Education

5.Entertainment

6.Government

7.Health

8.News and Media

9.Recreation and Sports

10.Reference

11.Regional

12.Science

13.Social Science

14.Society and Culture

เทคนิคการค้นหาข้อมูลแบบ Search engine

เทคนิคการค้นหาข้อมูลแบบ Search engine มีวิธีการดังต่อไปนี้

1.    พิมพ์คำ หรือวลีที่คุณต้องการค้นหาลงไปในช่องว่างเลยโดยพิมพ์เป็นต้วอักษรตัวเล็กแล้ว คลิ้กที่ปุ่ม Search ผลลัพธ์ก็จะปรากฎขึ้นมา

2.    คุณสามารถใช้ wildcard เพื่อช่วยในการค้นหาข้อมูลได้ด้วยโดยการใช้เครื่องหมายดอกจัน (*) ตัวอย่างเช่น ต้องการหาคำทั้งหมดที่ขึ้นต้นคำว่า refresh ให้พิมพ์ว่า refresh* ลงในช่องว่าง Yahoo จะทำการค้นหาคำต่าง ๆ ที่ขึ้นด้วย refresh เช่น refreshing , refreshment , และ refresher

3.    ในกรณีที่ต้องการค้นหาวลี(คำที่อยู่ติดกันตั้งแต่ 2 คำขึ้นไป) ให้ใช้เครื่องหมาย [……….] ล้อมรอบ เช่น [office 97] ไม่เช่นนั้น Yahoo จะแสดงผลลัพธ์ของทุกเว็บไซต์ที่มีคำว่า office กับคำว่า 97 ซึ่งไม่ได้เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เราต้องการ

4. ใช้บูลีนซึ่งประกอบด้วย AND, OR, NOT ช่วยในการค้นหา ตัวอย่างเช่น pattaya AND phuket จะค้นหาเฉพาะเว็บไซต์ที่มีคำทั้งสองคำนี้อยู่ ส่วน pattaya OR phuket จะทำการค้นหาเว็บไซต์ที่มีคำใดคำหนึ่ง หรือทั้งสองคำนี้อยู่สำหรับ pattaya NOT phuket จะทำการค้นหาเฉพาะเว็บไซต์ที่มีคำว่า pattaya โดยไม่มีคำว่า phuket อยู่ด้วย

5. ใช้เครื่องหมายบวก (+) และเครื่องหมายลบ (-) โดยที่เราจะใช้เครื่องหมายบวก เมื่อเราต้องการ ให้คำ ๆ นั้นอยู่ด้วยในผลลัพธ์ทั้งหมด เช่น scuba diving + phuket และเราจะใช้เครื่องหมายลบ นำหน้าคำที่ไม่ต้องการให้อยู่ในผลลัพธ์ เช่น scuba diving - phuket

6. ในกรณีที่ต้องการค้นหาเฉพาะ title ให้พิมพ์ t: นำหน้าคำหรือวลี เช่น t: elvis prestley

7. ถ้าต้องการค้นหาเฉพาะ URL ให้พิมพ์ u: นำหน้าคำหรือวลี เช่น u: toyota

สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ปรากฎใน Yahoo

1.             แว่นกันแดด หมายถึง เว็บไซต์นั้นดีมาก ขอแนะนำให้เข้าไปดู

2.             Xtral หมายถึง มีข่าวล่าสุดเกี่ยวกับหัวข้อนั้น

3.             @ หมายถึง ข้อมูลใน category นั้น ได้ถูกจัดให้อยู่ใน category อื่นด้วย เช่น เบ็ดตะปลา นอกจากจะอยู่ในหัวข้อ Business and Economy ด้วย

เทคนิคการค้นหาข้อมูลในเว็บ  Google

    เทคนิคการค้นหาข้อมูล   Google.com อย่างมืออาชีพ (อ้างอิงจากเวป Google ภาษาอังกฤษ)

1. Google จะใช้ and (และ) อยู่ในประโยคเสมอ เช่น ค้นหา harvest moon back to nature. Google จะค้นหาแบบ harvest AND moon AND back... (พูดง่ายๆคือค้นหาแบบแยกคำ)

2. การใช้ OR (หรือ) คือการให้ Google หาข้อมูลมากขึ้นจาก คำA และ คำB (พูดง่ายๆ คือนำผลที่ได้ มารวมกันรวมกัน) วิธีใช้ พิมพ์ OR ด้วยตัวใหญ่ระหว่างคำที่ต้องการ เช่น vacation london OR paris คือหาทั้งใน London และ Paris


3. Google จะละคำทั่วๆไป (เช่น the, to, of) และตัวอักษรเดี่ยว เพราะจะทำให้ค้นหาช้าลง แต่ถ้าคำ พวกนั้นสามารถช่วยให้หาข้อมูลง่ายขึ้น ก็ต้องใช้เครื่องหมาย + ช่วยโดยนำไปอยู่หน้าคำนั้น (ต้องเว้นวรรคก่อนด้วย) เช่น back +to nature final fantasy +x

4. Google สามารถกันขอบเขตการค้นหาให้เล็กลงด้วยการใช้ Advanced Search หรือ การค้นหา แบบพิเศษ ใน Google ภาษาไทย

5. Google สามารถตัดคำพ้องรูปได้โดยใช้เครื่องหมาย - ช่วยโดยการนำไปอยู่คำที่จะตัด เช่น คำว่า bass มี 2 ความหมายคือ เกี่ยวกับปลา และดนดรีเราจะตัดที่มีความหมายเกี่ยว กับดนตรีออกโดยพิมพ์ bass -music หมายความว่า bass ที่ไม่มีคำว่า music นอกจากนี้มันยังสามารถตัดอย่างอื่นได้อีก เช่น "front mission 3" -filetype:pdf หมายความว่า เรื่องเกี่ยวกับ front mission 3 แต่ไม่แสดงไฟล์ PDF

6. การค้นหาแบบทั้งวลี (คือการค้นหาทั้งกลุ่มคำ) ให้ใช้เครื่องหมาย " " เช่น "Breath of fire IV"

7. Google สามารถแปลเวปภาษา Italian, French, Spanish, German, และ Portuguese เป็น ภาษาอังกฤษได้ (โดยคลิ้กที่คำว่า "Translate this page" ด้านข้างชื่อเวป)

8. Google สามารถหาไฟล์ในรูปแบบอื่นๆที่ไม่ใช่ HTML ได้ ประเภทไฟล์ที่รองรับคือ
Adobe Portable Document Format (pdf) Microsoft PowerPoint (ppt)
Adobe PostScript (ps) Microsoft Word (doc)
Lotus 1-2-3 (wk1, wk2, wk3, wk4, wk5, wki, wks, wku) Microsoft Works (wks, wps, wdb)
Lotus WordPro (lwp) Microsoft Write (wri)
MacWrite (mw) Rich Text Format (rtf)
Microsoft Excel (xls) Text (ans, txt)
วิธีใช้ filetype:นามสกุลของไฟล์ เช่น "Chrono Cross" filetype:pdf หมายความว่าเอกสารของ Chrono Cross ที่เป็น PDF และมันยังมีความสามารถดูไฟล์เหล่านั้นในรูปแบบของ HTML ได้ (โดยคลิ้ก View as HTML หรือ รูปแบบ HTML ใน Google ไทย)

9. Google สามารถเก็บ Cached ของเวปที่จะเข้าชมไว้ได้ (โดยคลิ้กที่ Cached หรือ ถูกเก็บไว้ ใน Google ภาษาไทย) ประโยชน์ของมันคือช่วยให้เราสามารถเข้าเวปบางเวปที่อาจโดนลบไปแล้ว โดย ข้อมูลที่ได้เป็นข้อมูลก่อนถูกลบ (ใหม่สุดที่มันจะมีได้)

10.Google สามารถค้นหาหน้าที่คล้ายกัน (โดยคลิ้ก Similar pages หรือ หน้าที่คล้ายกัน ใน Google ภาษาไทย) โดยจะค้นหาข้อมูลที่คล้ายๆ กันให้เรา เช่น ถ้าเรากำลังหาข้อมูลการวิจัย ความสามารถนี้จะ ช่วยให้หาข้อมูลได้มากมายในเวลาที่รวดเร็วโดยไม่ต้องเป็นห่วงเรื่อง keyword

11.Google สามารถค้นหา link ทั้งหมดที่เชื่อมไปยังเวปนั้นได้ วิธีใช้ link:ชื่อ URL เช่น ink:www.google.com และคุณไม่สามารถใช้ความสามารถนี้ร่วมกับการหาแบบอื่นๆ ได้

12.Google สามารถค้นหาเวปที่จำเพาะเจาะจงได้ โดยพิมพ์ คำที่คุณต้องการเจาะจง site:ชื่อ URL เช่น ถ้าคุณต้องการหาเวปเกี่ยวกับการเข้า (admission) มหาวิทยาลัย Stanford ให้พิมพ์ admission site:www.stanford.edu

13.ถ้าคุณมีเวลาน้อย (และคิดว่าโชคดี) Google มีบริการการค้นหาด่วน (ชื่อบริการ I'm Feeling Lucky) โดยที่ Google จะนำเวปที่อยู่ลำดับแรกของการค้นหา ส่งให้คุณเลย (link ไปเวปนั้นให้เสร็จ) เช่น คุณต้องการค้นหาเวปมหาวิทยาลัย Stanford อย่างด่วนให้พิมพ์ Stanford แล้วกด I'm Feeling Lucky หรือ โชคเข้าข้างเราแน่ ใน Google ไทย

14.Google สามารถหาแผนที่ของสหรัฐอเมริกาได้โดยพิมพ์ ที่อยู่ ชื่อถนน พร้อมด้วยชื่อรัฐ เช่น 165 University Ave Palo Alto CA Google จะจัดการส่งแผนที่คุณภาพสูงมาให้คุณ

15.Google สามารถหาเบอร์โทร (เฉพาะอเมริกา) หรือพิมพ์เบอร์โทรแล้วหาบริษัทได้โดยพิมพ์
first name (or first initial), last name, city (state is optional) phone number, including area code
first name (or first initial), last name, state last name, city, state
first name (or first initial), last name, area code last name, zip code
first name (or first initial), last name, zip code
แล้วแต่ว่าคุณจะใช้แบบไหน

16.Google สามารถค้นหา Catalog สินค้าได้ (เข้าไปที่ http://catalogs.google.com)/

17.Google สามารถเก็บข้อมูลลักษณะการใช้ที่คุณต้องการได้โดยเข้าไปที่ Preferences หรือ ตัวเลือก ใน Google ไทย

หรือจะอีกเทคนิคหนึ่งเป็นคำสั่งต่างๆ ที่ใช้ร่วมในการ Search หาข้อมูล ใน Google

1. อาจให้คำเดียวหรือหลายๆคำก็ได้ เช่น distance learning thailand (โปรแกรมจะทำการค้นทุกคำและเชื่อมด้วย and โดยอัตโนมัติ)หากใช้คำค้นเกิน 32 คำ google จะไม่ค้นคำที่เกินให้

2.
ในการสืบค้นโดยใช้คำค้นพร้อมๆกันหลายๆคำ หรืออาจใช้ในรูปประโยค หรือใช้กลุ่มคำที่มีการเว้นช่องว่างเช่น ชื่อและชื่อสกุลให้บังคับคำค้นเป็นวลี ด้วยการใส่เครื่องหมายคำพูด " " คร่อมคำดังกล่าวเพื่อการค้นที่เฉพาะเจาะจง เพราะหากไม่ทำดังนั้น google จะค้นเป็นคำที่แยกกัน ผลลัพธ์ที่ได้อาจจะไม่ตรงตามที่เราต้องการ

3.
การใช้คำภาษาอังกฤษ ไม่ต้องคำนึงถึงรูปแบบตัวอักษร จะพิมพ์อักษรใหญ่หรือเล็กก็ได้ มีความหมายเท่ากัน แต่แนะนำให้ใช้  ตัวพิมพ์เล็กทั้งหมด google จะไม่ค้นคำประเภท commond word    เช่นa,an,what,why,when หรือตัวอักษรเดี่ยว หากต้องการค้นคำดังกล่าวให้ใส่เครื่องหมาย " "

4.
การใช้ตรรกะบูล ในการสืบค้น ต้องใช้ภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ AND OR NOT จึงจะได้ผลลัพธ์ เช่น ก๊าซชีวภาพ OR มูลสัตว์

5.
การใช้เครื่องหมาย เพื่อบังคับการค้น
เครื่องหมาย ++ ใช้เมื่อต้องการรวมคำที่เป็น stop words  เครื่องหมายนี้ผมใช้บ่อย ตัวอย่างเช่น ?intitle:index.of? mp3 gangsta zone++daddy yankee ก็คือ หาเพลง gangsta zone ของ daddyankee จะช่วยให้หาง่ายขึ้น

 เครื่องหมาย - ใช้เมื่อไม่ต้องการค้นคำใด ให้ใส่นำหน้าคำนั้น ใช้กับคำพ้องรูปคือ คำเขียนเหมือนกันแต่มีความหมายหลายความหมาย เช่น
แอปเปิ้ล- คอมพิวเตอร์

เครื่องหมาย ~ (tilde) ใช้ค้นคำพ้อง ใช้คำค้นภาษาอังกฤษเช่น tharavadee ~ facts

เครื่องหมาย * ใช้ค้นคำหรือประโยคที่ผู้ใช้ไม่แน่ใจเรื่องการใช้คำ หรือการสพกดนั้น โดยค้นในเครื่องหมาย " "  เช่น "ไข้หวัด*"

ที่มา     นิติยสาร inlernet  to d@a  ปีที่ 3ฉบับที่ 36   มิถุนายน  2551
                    www.sdl.academic.chula.ac.th
www.elib-online.com
            
                                         http://board.upmaxclub.com                                   


guest profile guest

  เทคนิคในการสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต

          เมื่อเราต้องการค้นหาข้อมูลบางอย่างในอินเทอร์เน็ตนั้น เราจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องบอกหรือระบุความต้องการที่จะค้นหาข้อมูลได้ถูกต้อง  ไม่เช่นนั้นแล้วผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นหาอาจจะมีมากมาย หรือไม่ตรงกับความต้องการของเรา ดังนั้น ในการค้นหาข้อมูลต่าง ในอินเทอร์เน็ตนั้นจะต้องกำหนดคำถามที่ชัดเจน  ตลอดจนใช้เทคนิคต่าง     เข้ามาช่วย เพื่อให้ผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นหาตรงกับความต้องการมากที่สุด เทคนิคและวิธีการที่ช่วยให้การค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตประสบความสำเร็จ ได้แก่  

          1. ตั้งประเด็นให้แคบลง เนื่องจากจำนวนข้อมูลที่มีมากมายในอินเทอร์เน็ตทำให้การค้นหาได้ ผลลัพธ์เป็นจำนวนมาก ดังนั้น เราควรเริ่มทำการค้นหาทั่ว ไปก่อน เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการต่อจากนั้นจึงค่อยระบุหรือใส่ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการลงไป เพื่อตั้งประเด็นให้ครอบคลุมมากขึ้น ซึ่งจะทำให้เราได้ข้อมูลที่ตรงความต้องการมากที่สุด

          2. ใช้สิ่งที่เรียกว่าออปชั่น (Option ) เป็นตัวช่วยในการค้นหาข้อมูล ซึ่งเว็บไซต์ที่เป็นSearch Engines ส่วนใหญ่จะมีให้อยู่แล้ว

          3. อย่าค้นหาคำที่เราต้องการเท่านั้น ควรจะค้นหาคำที่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันด้วย

          4. หลีกเลี่ยงการค้นหาคำที่เป็นคำเดี่ยว หรือมีตัวเลขปนอยู่ เช่น NT หรือ 3D แต่ถ้าต้องการค้นหาจริง จะต้องใส่เครื่องหมายคำพูดลงไปด้วย ( “ ” )

          5. พวกกลุ่มคำ หรือวลี ก็ต้องใส่เครื่องหมายคำพูดลงไปเช่นเดียวกัน

          6. หลีกเลี่ยงคำจำพวก Natural Language ( ภาษาพูด )

          7. ควรใช้สิ่งที่เรียกว่า Advanced Search หรือ Power Search เข้ามาช่วย เพราะจะ ทำให้ได้ผลลัพธ์ที่ตรงกับความต้องการของเรามากกว่าการค้นหาแบบธรรมดา การสืบค้นแบบขั้นสูง(Advanced search) เป็นการสืบค้นโดยใช้คำสำคัญเป็นคำค้นทำให้การสืบค้นสารสนเทศมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว คือ

               7.1 ระบุคำค้นให้ตรงกับสารสนเทศที่ต้องการให้มากที่สุด

               7.2 การค้นหาสารสนเทศ บางครั้งคำค้นอาจมีรูปคำแตกต่างกัน แต่มี

รากศัพท์เดียวกัน เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ครบถ้วนจึงใช้การตัดปลายคำเพื่อรวบรวมคำที่มีการสะกดใกล้เคียงกันเหมือนกัน หรือคำพหูพจน์และเอกพจน์ โดยใช้สัญลักษณ์แทนการสืบค้นเช่น  *   ,   ?   ,   $    เป็นต้น   เช่น  Prevent * หมายถึง ให้สืบค้นคำที่มีคำว่า prevent นำหน้าส่วนตัวหลังจะเป็นอะไรก็ได้

          ตัวอย่าง

                    Prevent prevents prevented preventing prevention …….

                7.3  การใช้ตรรกะแบบบูลีน ( Boolean logic ) คือ การใช้ตัวเชื่อม  AND, OR,NOT,  NEAR,  AND NOT   เชื่อมคำหรือวลี  เพื่อให้สามารถสืบค้นสารสนเทศได้ตามความต้องการของผู้ใช้มากขึ้น เช่น

                   AND ใช้เชื่อมคำค้นเมื่อต้องการให้สืบค้นรายการที่มีคำทั้งสองคำ ผลการค้นจะได้สารสนเทศจำนวนน้อยลง

                   OR ใช้เชื่อมคำค้น ระหว่างคำที่พ้องความหมายกัน หรือความหมายใกล้เคียงกัน ผลการค้นจะได้สารสนเทศจำนวนมากขึ้น

                   NOT ใช้เชื่อมคำค้นเมื่อต้องการให้สืบค้นรายการที่มีเฉพาะคำแรกไม่มีคำที่สอง ผลการค้นจะได้สารสนเทศเฉพาะเรื่องแรก ไม่มีเรื่องที่สอง (เสาวคนธ์ คงสุข, 2544 :  215 – 216)

                   NEAR  หมายถึง มีคำนั้นอยู่ใกล้คำที่ต้องการค้น ห่างจากกันไม่เกิน  10  คำในประโยคเดียวกัน

เทคนิคการหาข้อมูลใน Google

Search Engine เป็นเครื่องมือที่ทรงคุณค่า แต่ในทางกลับกันก็สร้างโทษมหันต์ จากสถิติเท่าที่ผมได้ยินมาพบว่าเว็บไซต์ที่ค้นหาจาก Google มีเว็บไซต์ที่มีประโยชน์ไม่ถึง 20% ที่เหลือเป็นเว็บที่ไม่มีประโยชน์เท่านั้นยังไม่พอยังเป็นโทษด้วย เช่นเว็บเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจาร หรือเนื้อหาไม่เหมาะสมคาดว่ามีมากกว่า 20-40% ของเว็บทั้งหมด

ข้อควรจำเกี่ยวกับเว็บไซต์ Google

จงท่องไว้ว่า Google เป็นเว็บที่อันตรายมีหลายประเทศที่มีการบล็อกเว็บไซต์นี้
รายการที่อยู่ใน 10 ลำดับแรกถ้าไม่ใช่สุดฮิตจริงๆ ก็มีเป้าหมายในการตลาด
รายการที่อยู่หลังๆส่วนใหญ่จะมีเปอร์เซนต์ที่ซ่อนข้อมูลที่มีค่า และเว็บสุดแย่
รูปภาพทั้งหมดที่ปรากฎใน Google ให้คิดว่ามีลิขสิทธิ์นำไปใช้เพื่อสาธารณะไม่ควร ระวังติดคุก ยกเว้น แต่เจ้าของเว็บจะยินยอมให้ใช้
เราสามารถเลือกค้นหา ซึ่งเป็นจุดเด่นเว็บนี้ หารูป หรือเข้าในสารระบบ กลุ่มข่าวได้ด้วย


ดังนั้นเพื่อให้เราเข้าใจ และใช้เครื่องมือที่มีทั้งคุณและโทษนี้จึงมีคำแนะนำวิธีการใช้ดังนี้

ไม่ควรใช้เครื่อง Notebook หรือเครื่องประจำตัว
ถ้าจำเป็นต้องใช้แนะนำให้ติดตั้งเครื่องมือป้องกันเต็มพิกัด
Update Patch
ใหม่สุด
มี Personal firewall
มี Antivirus ที่อัพเดต Signature ใหม่สุดๆ
AntiSpyware
มี IDS/IPS ประจำเครื่องยิ่งดี
ปิดบริการบนเครื่องที่ไม่จำเป็น โดยเฉพาะการใช้ NetBIOS สำหรับเครื่อง Windows และ NFS ในเครื่อง Unix
เมื่อ Browser ทำการขึ้นข้อความใดๆให้เราเลือก No ไว้ก่อน ถ้าอ่านแล้วงงๆ
เมื่อเข้าลิงค์จากรายการที่ค้นหาแล้ว ต้องลงทะเบียนชื่อแนะนำให้ใช้ข้อมูลที่ได้รับผลกระทบน้อยที่สุด เช่นเบอร์โทรศัพท์, Free E-mail เนื่องจากผลของเว็บที่ค้นหาเหล่านี้ส่วนใหญ่เกิน 20% ที่พบมีวัตถุประสงค์ร้าย
ชื่อที่ต้องสงสัยในรายการที่ค้นหาพบ เช่นเป็นหมายเลข IP address หรือไม่มีแหล่งข้อมูลยืนยันว่าปลอดภัย ให้ใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ


วิธีการสืบค้นข้อมูลบน Google

การระบุชื่อองค์กรที่ต้องการค้นหาโดยตรงเช่น Itcompanion เป็นต้น
การค้นหา e-mail ขององค์กรด้วยส่วนใหญ่ Spammer จะใช้กับเพื่อค้นหา E-mail เช่น @itcompanion.co.th
การระบุ E-mail เพื่อค้นหาประวัติของบุคคลนั้นกับการใช้เว็บ
ถ้าต้องการข้อมูลพิเศษให้ดูวิธีการค้นหาตารางด้านล่าง
คำที่ช่วยในการหาข้อมูล

คีย์ที่ใช้
สิ่งที่จะได้

คำที่ต้องการค้นหา
แน่นอนไม่ต้องบอกก็รู้อยู่แล้ว

Top ten, Top hits +
คำที่ต้องการ
จะได้เครื่องมือ สถิติ หรือข้อมูลที่อยู่ในกระแส รวมถึงแหล่งข้อมูล

Free download +
ชื่อซอฟต์แวร์
จะได้ซอฟต์แวร์ที่ต้องการ หลายครั้งจะแถม Spyware ด้วยระวัง

ระบบปฏิบัติการ + สิ่งที่ต้องการค้นหา
จะได้เครื่องมือต่างๆที่ใช้กับระบบปฏิบัติการที่เราเลือก

Thai +
หัวข้อที่ต้องการ
เราจะได้ข้อมูลเกี่ยวกับไทยๆ

ใช้คำใน Top Web site
เช่นเราไปที่ www.download.com และไปดูเครื่องมือ หรือสิ่งที่ต้องการแล้วนำมาค้นหา

ชื่อบุคคล
เราจะพบเกียรติประวัติ ความดัง และข้อมูลส่วนตัวของบุคคลนั้นๆ เช่น ชื่อ Hacker ที่โปรดปราน หรือ Winnie the pooh เป็นต้น

ระบุ Signature ต่างของ Antivirus
เช่น SDAT5000 เป็นการหา Signature ของ Mcafee เป็นต้น

Trend, Statistic, Penetration +
คำที่ต้องการ
เป็นการหาข้อมูลเพื่อดูการแนวโน้ม หรือเอกสารในการอ้างอิง หรือบรรยาย

Security +
คำที่ต้องการ
ดูข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัย

Software, Tools+
คำที่ต้องการ
เป็นการค้นหาเครื่องมือ

Competition+
คำที่ต้องการ
ดูเว็บเกี่ยวกับคู่แข่ง

Ranking+
คำที่ต้องการ
ดูข้อมูลของซอฟต์แวร์นี้

Event
ดูเกี่ยวกับเหตุการณ์ในหัวข้อที่ค้นหา

ที่มา : http://aprilmay.blog.mthai.com/2009/06/29/public-6

       http://aboutgoogletools.blogspot.com/2007/04/google.html

 

guest profile guest

เทคนิคการค้นหาให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

1. บีบประเด็นให้แคบลง   หัวข้อเรื่องที่ต้องการค้นหาต้องพยายามบีบประเด็นให้แคบลง เช่น ต้องการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะหาโดยใช้คำว่า คอมพิวเตอร์ หรือ Computer นี้ค้นหา เพื่อลองดูเนื้อหากว้างๆ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ว่ามีเรื่องใดบ้าง จากนั้นก็บีบหัวข้อเรื่องลง โดยอาจจะเลือกจากหัวข้อที่เว็บไซต์นั้นจัดทำ หรืออาจจะพิมพ์ข้อความเพื่อค้นหาอีกครั้ง

2. การใช้คำที่ใกล้เคียง   ควรค้นหาคำที่มีความหมายใกล้เคียงกับคำที่กำลังค้นหาด้วย เช่น ต้องการค้นเรื่องเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Computer คำที่เกี่ยวข้องที่สามารถใช้ค้นหาได้ คือ technology, IT เป็นต้น

3. การใช้คำหลัก (Keyword)   หมายถึง คำหรือข้อความที่เราจะนึกถึงเว็บไซต์นั้นเมื่อเอ่ยถึง เช่น สสวท. จะนึกถึงเว็บไซต์ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี http://www.ipst.ac.th  หรือ schoolnet จะนึกถึงเว็บไซต์เครือข่ายโรงเรียนไทย http://www.school.net.th

4. หลีกเลี่ยงการใช้ตัวเลข  พยายามเลี่ยงการใช้คำค้นหาที่เป็นคำเดี่ยวๆ หรือเป็นคำที่มีตัวเลขปน แต่ถ้าเลี่ยงไม่ได้ ก็อย่าลืมใส่เครื่องหมายคำพูด (" ") ลงไปด้วย เช่น "windows ๙๘"

5. ใช้เครื่องหมายบวกและลบช่วย  ใช้เครื่องหมาย + และ - เพื่อช่วยในการค้นหา โดย + เพื่อใช้กับคำที่ต้องการใช้ในการค้นหา และ - เพื่อใช้กับคำที่ไม่ต้องการใช้ในการค้นหา

เครื่องหมาย "+"  หมายถึง การระบุให้ผลลัพธ์ของการค้นหาต้องมีคำนั้นปรากฏอยู่ในหน้าWeb Page ข้อควรระวังคือ เราจะต้องใช้เครื่องหมายบวกติดกับคำหลักนั้นเสมอ ห้ามมีช่องว่างระหว่างเครื่องหมายบวกกับคำหลัก เช่น +เศรษฐกิจ +การเมือง หมายถึง หน้าWeb Pageที่พบจะต้องปรากฏคำว่า "เศรษฐกิจ" และ "การเมือง" อยู่ในหน้าเดียวกันทั้งสองคำ หรือ +เศรษฐกิจ การเมือง สังเกตเห็นว่าที่คำว่า "การเมือง" ไม่ปรากฏเครื่องหมายบวก "+" อยู่ข้างหน้า เหมือนตัวอย่างบน หมายถึง การค้นหาหน้าเอกสารWeb Pageที่จะต้องปรากฏ คำว่า "เศรษฐกิจ" โดยในหน้าเอกสารนั้นอาจจะปรากฏหรือไม่ปรากฏคำว่า "การเมือง" ก็ได้

เครื่องหมายลบ "-" หมายถึง เป็นการระบุให้ผลลัพธ์ของการค้นหาต้องไม่ปรากฏคำนั้น อยู่ในหน้าWeb Page เช่น โรงแรม รีสอร์ท  หมายถึง หน้าWeb Page นั้นต้องมีคำว่า โรงแรม แต่ต้องไม่ปรากฎคำว่า รีสอร์ท อยู่  โดยการใช้งานต้องอยู่ในรูปของ A -B หรือ +A -B โดย A และ B เป็นคำหลักที่ต้องการค้นหา  ตัวอย่าง +มะม่วง -มะม่วงอกร่อง -มะม่วงน้ำดอกไม้ หมายถึง หน้า  Web Page พบจะต้องปรากฎคำว่า "มะม่วง" แต่ต้องไม่ปรากฏคำว่า "มะม่วงอกร่อง" และ "มะม่วงน้ำดอกไม้" อยู่ในหน้าเดียวกัน

6. หลีกเลี่ยงภาษาพูด  Natural Language หรือเรียกง่ายๆ ว่าคำหรือข้อความที่เป็นภาษาพูด หรือเป็นประโยค ควรสรุปเป็นเพียงกลุ่มคำหรือวลี ที่มีความหมายรวมทั้งหมดไว้

Advanced Search ช่วยในการบีบประเด็นหัวข้อ ให้แคบลง ซึ่งจะทำให้ได้รายชื่อเว็บไซต์ ที่ตรงกับความต้องการของมากขึ้น  Help หรือ Site Map ช่วยในการอธิบาย Option หรือการใช้งาน/แผนผังปลีกย่อยของแต่ละเว็บไซต์

ที่มา : http://teacher.skw.ac.th/salunyar/40102/unit_02/p_208.htm

guest profile guest

เทคนิคการค้นหาข้อมูล (Search Engine)

       ลองมานึกดูว่า เว็บไซต์ต่างๆ ทั่วโลกมีมากมายเพียงใด หนึ่งล้านเว็บ พันล้านเว็บ หรือล้านล้านเว็บ คงเป็น  การยากที่จะทราบได้ว่ามีเว็บอะไรบ้าง จำนวนเท่าใด และยิ่งยากไปกว่านั้นคือจะค้นหาเว็บที่เราต้องการได้อย่างไร และนั่นคือที่มาของ Search Engine เครื่องมือดีๆ ที่ช่วยในการค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต

      Search Engine เป็นเครื่องมือหรือโปรแกรมในการค้นหาเว็บต่างๆ โดยมีการเก็บ รายชื่อเว็บไซต์ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ของเว็บไซต์และนำมาจัดเก็บไว้ใน server เพื่อให้สามารถค้นหาและแสดงผลได้สะดวก และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ บาง search engine อาจไม่ได้มีการเก็บข้อมูลใน server ของตัวเอง แต่อาจอาศัยข้อมูลจากเจ้าของ server นั้นๆ

     ตัวอย่าง Search Engine ที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ เช่น sanook.com, siamguru.com, google.com, yahoo.com, msn.com, altavista.com, search.com เป็นต้น


 การค้นหาข้อมูลมีกี่วิธี ?   มี 2 วิธี 
 

1.
การค้นหาในรูปแบบ Index Directory
 
                                
          วิธีการค้นหาข้อมูลแบบ Index นี้ข้อมูลจะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยมากกว่าการค้นหาข้อมูลด้วย วิธี Search Engine 
โดยมันจะถูกคัดแยกข้อมูลออกมาเป็นหมวดหมู่ และจัดแบ่งแยก Site ต่างๆออก เป็นประเภท สำหรับวิธีใช้งาน คุณสามารถที่ 
จะ Click เลือกข้อมูลที่ต้องการจะดูได้เลยใน Web Browser จากนั้นที่หน้าจอก็จะแสดงรายละเอียดของหัวข้อปลีกย่อยลึกลง 
มาอีกระดับหนึ่ง ปรากฏขึ้นมาให้เราเลือกอีก ส่วนจะแสดงออกมาให้เลือกเยอะแค่ไหนอันนี้ก็ขึ้นอยู่กับขนาดของฐานข้อมูลใน 
Index ว่าในแต่ละประเภท จัดรวบรวมเก็บเอาไว้มากน้อยเพียงใด เมื่อคุณเข้าไปถึงประเภทย่อยที่คุณสนใจแล้ว ที่เว็บเพจจะ 
แสดงรายชื่อของเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ ประเภทของข้อมูลนั้นๆออกมา หากคุณคิดว่าเอกสารใดสนใจหรือต้องการอยากที่จะดู 
สามารถ Click ลงไปยัง Link เพื่อขอเชื่อต่อทางไซต์ก็จะนำเอาผลของข้อมูลดังกล่าวออกมาแสดงผลทันที นอกเหนือไปจากนี้ 
ไซต์ที่แสดงออกมานั้นทางผู้ให้บริการยังได้เรียบเรียงโดยนำเอา Site ที่มีความเกี่ยว ข้องมากที่สุดเอามาไว้ตอนบนสุดของ 
รายชื่อที่แสดง 
 

 

 
2. การค้นหาในรูปแบบ Search Engine  
 
                                                               
          วิธีการอีกอย่างที่นิยมใช้การค้นหาข้อมูลคือการใช้ Search Engine ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่กว่า 70% จะใช้วิธีการค้นหาแบบนี้ 
หลักการทำงานของ Search Engine จะแตกต่างจากการใช้ Index ลักษณะของมันจะเป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่มหาศาลที่ 
กระจัดกระจายอยู่ทั่วไปบน Internet ไม่มีการแสดงข้อมูลออกมาเป็นลำดับขั้นของความสำคัญ การใช้งานจะเหมือนการสืบค้น 
ฐานข้อมูล อื่นๆคือ คุณจะต้องพิมพ์คำสำคัญ (Keyword) ซึ่งเป็นการอธิบายถึงข้อมูลที่คุณต้องการจะเข้าไป ค้นหานั้นๆเข้าไป 
จากนั้น Search Engine ก็จะแสดงข้อมูลและ Site ต่างๆที่เกี่ยวข้องออกมา 
 
หลักการค้นหาข้อมูลของ Search Engine 

       สำหรับหลักในการค้นหาข้อมูลของ Search Engine แต่ละตัวจะมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับว่าทางศูนย์บริการ
ต้องการจะเก็บข้อมูลแบบไหน แต่โดยส่วนใหญ่แล้วจะมีกลไกใน การค้นหาที่ใกล้เคียงกัน หากจะแตกต่างก็คงจะเป็นเรื่อง 
ประสิทธิภาพเสียมากกว่า ว่าจะมีข้อมูล เก็บรวบรวมไว้อยู่ในฐานข้อมูลมากน้อยขนาดไหน และพอจะนำเอาออกมาบริการให้กับ 
ผู้ใช้ ได้ตรงตามความต้องการหรือเปล่า ซึ่งลักษณะของปัจจัยที่ใช้ค้นหาโดยหลักๆจะมีดังนี้ 
 
      1. การค้นหาจากชื่อของตำแหน่ง URL ใน เว็บไซต์ต่างๆ 

      2. การค้นหาจากคำที่มีอยู่ใน Title (ส่วนที่ Browser ใช้แสดงชื่อของเว็บเพจอยู่ทางด้าน ซ้ายบนของหน้าต่างที่แสดง 

      3. การค้นหาจากคำสำคัญหรือคำสั่ง keyword (อยู่ใน tag คำสั่งใน html ที่มีชื่อว่า meta) 

      4. การค้นหาจากส่วนที่ใช้อธิบายหรือบอกลักษณะ site 
 
การค้นหาข้อมูลด้วย Search Engine 
 
      1. เปิดเว็บไซด์ที่ให้บริการ 
      2. ใส่คำ (keyword) ที่คุณต้องการจะค้นหาลงไปในช่องยาวๆ (text box) ที่มีสร้างเอาไว้ให้ 
      3. คลิ๊กที่ปุ่ม ค้นหา (กรณีเลือก Search Engine ที่อื่นอาจจะไม่ได้ใช้คำนี้ก็ได้ แล้วแต่ที่คุณเลือก 

                  
          โปรแกรมจะเริ่มค้นหาคำนั้นๆให้ ตอนนี้คุณก็รอสักพักนึงก่อน จากนั้นรายชื่อของเว็บเพจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลที่ระบุจะ 
ถูกแสดงออกมาในรูปแบบของลิ้งค์พร้อมคำอธิบายประกอบนิดหน่อย ให้เราอ่านเพื่อใช้ในการตัดสินใจว่ามันเกี่ยวข้องกับ 
ข้อมูลที่เราต้องการหรือเปล่า ส่วนใหญ่ข้อมูลที่พบมีมากจนเกินกว่าที่จะแสดงให้เห็นหมดในหน้าเดียว มันจะมีตัวแบ่งหน้า 
ให้เราทางด้าน ล่างสำหรับเลือกไปดูรายละเอียดส่วนอื่นๆที่เหลือในหน้าถัดๆไป แต่โดยมากแล้วข้อมูลที่ใกล้เคียง กับคำที่เรา 
ต้องการมากที่สุดจะอยู่ในช่วงต้นๆ ของรายการแรกที่ Search Engine นั้นๆตรวจพบ 
                                    
 
          นอกจากการค้นหาข้อมูลแล้ว Search Engine บางที่ ยังสามารถค้นหา รูปภาพ ได้อีกด้วยครับ 
การค้นหาด้วยวิธี Search Engine นั้นมักจะได้ผลลัพธ์ออกมากว้างๆชี้เฉพาะเจาะจงได้ยาก บางครั้งข้อมูลที่ ค้นหามา 
ได้อาจมีถึงเป็นร้อยเป็นพัน Site แล้วมีใครบ้างหละที่อยากจะมานั้งค้นหาและอ่านดูที่จะเพจ ซึ่งคง ต้องเสียเวลาเป็นวันๆแน่ 
ซึ่งก็ไม่รับรองด้วยว่าคุณจะได้ข้อมูลที่คุณต้องการหรือไม่ ดังนั้นจิงมีหลักในการค้น หา เพื่อให้ได้ข้อมูลใกล้เคียงความเป็นจริง 
มากที่สุด 
 
ค้นหาคำในหน้าเว็บเพจด้วย Browser 
 
         การค้นหาคำในหน้าเว็บเพจนั้นจะใช้สำหรับกรณีที่คุณเข้าไปค้นหาข้อมูลที่เว็บเพจใด เว็บเพจหนึ่ง แล้วภายในมีข้อความ 
ปรากฏอยู่เต็มไปหมด จะนั่งไล่ดูทีละบรรทัดคงไม่สะดวก ในลักษณะนี้เราใช้ใช้ browser ช่วยค้นหาให้ คือ 
 
      1. ขึ้นแรกให้คุณนำ mouse ไป click ที่ menu Edit 
      2. แล้วเลือกบรรทัดคำสั่ง Find (on  This Page) หรือกดปุ่ม Ctrl + F ที่ keyboard ก็ได้ 
      3. จากนั้นใส่คำที่ต้องการค้นหาลงไปแล้วก็กดปุ่ม Find Next 
          โปรแกรมก็จะวิ่งหาคำดังกล่าว หากพบมันก็จะกระโดดไปแสดงคำนั้นๆ 
          ซึ่งคุณสามารถกดปุ่ม Find Next เพื่อค้นหาต่อได้ อีกจนกว่าคุณจะพบข้อมูลที่ต้องการ 
 
 
                                      
 
ข้อแตกต่างระหว่าง Index และ Search Engine
 
           คำตอบก็ คือวิธีในการค้นหาข้อมูลแบบ Index เค้าจะใช้คนเป็นผู้จัดรวบรวมและทำระบบฐานข้อมูลขึ้นมา
ส่วนแบบ Search Engine นั้นระบบฐานข้อมูลของมันจะได้รับการจัดสร้างโดยใช้ Software ที่มีหน้าที่เกี่ยวกับงานทางด้านนี้ 
โดยเฉพาะมาเป็นตัวควบคุมและจัดการ ซึ่งเจ้า Software ตัวนี้จะมี ชื่อเรียกว่า Spiders การทำงานข้องมันจะใช้วิธีการเดิน 
ลัดเลาะไปตามเครือข่ายต่างๆที่เชื่อมโยงถึงกันอยู่เต็มไปหมดใน Internet เพื่อค้นหา Website ที่เกิดขึ้นมาใหม่ๆ รวมทั้งยัง 
สามารถตรวจสอบหาความเปลี่ยนแปลงของ ข้อมูลใน Site เดิมที่มีอยู่ ว่าที่ใดถูกอัพเดตแล้วบ้าง จากนั้นมันก็จะนำเอาข้อมูล 
ทั้งหมดที่สำรวจเข้ามา ได้เก็บใส่เข้าไปในฐานข้อมูลของตนอัตโนมัติ ยกตัวอย่างของผู้ให้บริการประเภทนี้เช่น Excite , google
เป็นต้น 

 

ประโยชน์ที่ได้รับจาก Search Engine

  • ค้นหาเว็บที่ต้องการได้สะดวก รวดเร็ว
  • สามารถค้นหาแบบเจาะลึกได้ ไม่ว่าจะเป็น รูปภาพ, ข่าว, MP3 และอื่นๆ อีกมากมาย
  • สามารถค้นหาจากเว็บไซต์เฉพาะทาง ที่มีการจัดทำไว้ เช่น เว็บไซต์เกี่ยวกับข้อมูลและซอร์ฟแวร์ เป็นต้น
  • มีความหลากหลายในการค้นหาข้อมูล
  • รองรับการค้นหา ภาษาไทย

นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาในรูปแบบของ Search Bar ที่ทำให้ผู้ใช้งานไม่จำเป็นต้องเข้าผ่านเว็บไซต์ Search Engine เหล่านั้นโดยตรงแล้ว ตัวอย่าง Search Bar ที่ขอแนะนำ เช่น Google Search Bar, Yahoo Search Bar เป็นต้น

 

 

 

http://www.kemapat.ac.th/searchengine.htm

guest profile guest

การสืบค้นข้อมูล Google

        ข้อมูลข่าวสารทุกวันนี้  แพร่หลายในโลกของอินเตอร์เน็ต  ยิ่งทุกวันนี้ก็เพิ่มมากขึ้นๆ  แต่บางครั้ง  การหาข้อมูลที่ต้องการกลับพบอุปสรรค์มากมาย  อาจเป็นเพราะในโลกอินเตอร์เน็ตนี้มันดูกว้างใหญ่เกินไป  การใช้ตัวช่วยในการค้นหา  หรือ Search Engine นับเป็นตัวช่วยที่ดีทำให้เราสะดวกและประหยัดเวลาในการค้นหาข้อมูลที่ต้องการ
ถ้าหากเอ่ยถึง Search Engine แล้ว คงน้อยคนที่ไม่รู้จัก Google (กูเกิ้ล) คือเครื่องมือหนึ่งที่ช่วยเราค้นหาข้อมูลต่างๆมากมายในโลกอินเตอร์เน็ตมาไว้ตรงหน้า แต่บางครั้งการใช้งานดูเหมือนจะยากเช่นกัน Search Engine ของ Google นั้น นับได้ว่ามีความนิยมจากผู้ใช้งานทั่วโลกที่เข้าใช้บริการ เนื่องจากมีข้อดีหลายอย่างด้วยกัน และยังสามารถสนับสนุนภาษาท้องถิ่นนั้นๆ ทำให้มีการแพร่หลายไปอย่างรวดเร็ว รวมถึงข้อมูลที่ได้มาจากการค้นหานั้นก็นับได้ว่าตรงใจมากทีเดียว
การค้นหาที่ดี เพื่อที่จะได้ผลลัพธ์ที่เราต้องการมากที่สุด คือการรู้จักใช้คำค้นหาที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลที่เราต้องการ หรือคีย์เวิร์ด การเน้นคำ การเชื่อมโยง และความหมายของคำที่ใช้ในการค้นหานั้นสำคัญมาก ที่จะช่วยสื่อให้ฐานข้อมูลของ Google เข้าใจในสิ่งที่เราทำการค้นหา
อาทิเช่น เราต้องการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับ "คอมพิวเตอร์แห่งชาติ" เราก็ใช้คำนี้ลงไป ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้มากมายพอสมควร แต่ถ้าหากเราต้องการแน้นไปอีกว่า "คอมพิวเตอร์แห่งชาติ" เป็นของที่ใด มีวิธีการเติมคำเพิ่มเติมไป เช่น "คอมพิวเตอร์แห่งชาติเนคเทค" เราก็ได้ผลลัพธ์นั้นเช่นกัน แต่อาจทำให้แคบลงและไม่ใช่ที่เราต้องการ

          แต่เราลองมาเพิ่มอีกนิด  โดยยังคงคำค้นไว้เช่นเดิมแต่เราจะเว้นวรรคไว้ก่อนหน้าคำ "เนคเทค" 1 วรรค  เช่น "คอมพิวเตอร์แห่งชาติ เนคเทค"  แล้วลองกดปุ่มค้นหา  จะเห็นได้ว่าการเว้นวรรคนั้นให้การค้นหาที่ไม่เหมือนกัน  ซึ่งแสดงถึงความละเอียดของ Google ที่จะช่วยอำนวยความสะดวกให้เราใช้คำใช้วรรคตอนในการค้นหาได้อีกด้วย
ทีนี้เราจะมาดูกันว่า นอกจากการใช้คำค้นแบบธรรมดาแล้ว เรายังใช้เทคนิคในการค้นหาเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ดีใน Google อย่างไร??
การใช้เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ "+" และ "-"
ยกตัวอย่างเช่น "เนคเทค -คอมพิวเตอร์แห่งชาติ"  จะเห็นว่าเราได้ใช้เครื่องหมายลบ "-" หน้าคำว่าคอมพิวเตอร์  ซึ่งกรณีนี้หมายถึง การระบุคำค้นโดยให้ตัดคำที่มีคือคำว่า "คอมพิวเตอร์แห่งชาติ" ออกไปนั่นเอง  การแสดงผลลัพธ์จะอยู่ในรูปแบบอื่นที่เกี่ยวเนื่องเฉพาะคำ "เนคเทค"  และส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้อง 

หรืออีกกรณี "เนคเทค -คอมพิวเตอร์ +ไวรัส" เราได้เพิ่มคำค้นหา และเครื่องหมาย "+" ไว้หน้าคำว่า "ไวรัส" ก็จะเป็นการค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวกับเนทเทคและไวรัส แต่ถ้าหากเราเอาเครื่องหมาย "-" ออกจากหน้าคำ "คอมพิวเตอร์" เป็น "เนคเทค คอมพิวเตอร์ +ไวรัส" เราก็ได้ผลลัพธ์อีกแบบหนึ่ง
ดังนั้นจะเห็นได้ว่า การใช้งานเครื่องหมาย "+" และ "-" ก็ช่วยให้เราได้ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และตัดส่วนที่เราไม่ต้องการออกไปได้เช่นกัน
นอกจากนี้เรายังใช้คำต่อไปนี้ช่วยในการค้นหา และเครื่องหมายต่างๆได้เช่นกัน เช่น
คำว่า และ
คำว่า หรือ
คำว่า and
คำว่า or
เครื่องหมายนขลิขิตหรือวงเล็บ ( )
อัญประกาศ " "
จุลภาคหรือจุดลูกน้ำ ,
จุดคู่ :
อัฒภาคหรือจุดครึ่ง ;
เครื่องหมายบวก +
เครื่องหมายลบ -
เครื่องหมายคำถามหรือปรัศนี ?
ต่อไปเราจะมาดูถึงการเน้นการค้นหาแบบพิเศษ อาทิการค้นหาเนื้อหาภายในเว็บไซต์ที่เราต้องการ การค้นหาภายในเว็บไซต์นั้น เราสามารถใช้การค้นหาโดยมีการนำเครื่องหมายจุดคู่ ( : ) เข้ามาเกี่ยวข้อง และคำว่า "site" มารวมอยู่
ในที่นี้ของยกตัวอย่าง เช่น เราต้องการค้นหาคำว่า "windows" ในเว็บไซต์ http://www.justuser.net/  หรือในเว็บไซต์ http://www.com-th.net/  เราก็สามารถทำได้ดังนี้
windows site:justuser.net หรือ windows site:com-th.net
ผลลัพธ์ที่เราจะได้ ก็จะเกี่ยวข้องกับคำว่า windows ซึ่งมีอยู่ภายในเว็บไซต์ที่เราระบุไว้หลังคำว่า site: จะเห็นได้ว่าเราใช้การค้นหาคำเฉพาำะ site และจุดคู่ : นี้ ช่วยให้เราทำการค้นหาเนื้อหาภายในหน้าเว็บไซต์ที่ต้องการ
การค้นหาโดยการใช้เครื่องหมายวรรคตอน อันนี้ก็เป็นสิ่งจำเป็นการค้นหา ซึ่งช่วยให้เราได้รับข้อมูลที่ดี ต่อไปนี้ขอยกตัวอย่างเกี่ยวกับการหาข้อมูลซึ่งนักท่องอินเตอร์เน็ตนิยม และเหล่ามือโปรแกรมจะชอบกัน เช่นการค้นหาซอฟทแวร์และแหล่งดาวน์โหลด การที่ดีนั้น ควรใช้การระบุคำที่สั้นๆและตรงเนื้อหามากที่สุด การใช้เครื่องหมายวรรคตอนต่างๆในที่นี้ สามารถทำการค้นหาประเภทนี้ได้เป็นอย่างดี
ในทีนี้ขอยกตัวอย่างการค้นหาโปรแกรม ACDSee เช่นระบุไปว่า ACDsee +:*.exe ;.rar ;.zip เป็นต้น  และเรายังสามารถใช้คำสำคัญและเน้นในการระบุนั้น  โดยใช้เครื่องหมายอัญประกาศ (" ") ดังตัวอย่างต่อไปนี้  "ACDsee v6" +:*.exe ;.rar ;.zip"  ก็จะเป็นการแน้นว่าทักผลการค้นหาต้องมีคำว่า "ACDsee v6" นั่นเอง
ส่วนเครื่องหมายที่มีการระบุไป เช่น ดอกจัน ตรงนี้จะเป็นการบ่งบอกถึงความหมายส่วนขยายของไฟล์โปรแกรมนั้นเอง เช่น *.exe *.rar *.doc *.zip เป็นต้น
ยังไงก็ลองทดสอบและทดลองดู และประยุกต์คำสั่งต่างๆเข้าไปกันดูนะครับ จะช่วยให้เราสามารถใช้งานอินเตอร์เน็ตได้คุ้มค่า และประหยัดเวลาในการค้นหาข้อมูลไปได้มากทีเดียว
นอกจากนี้ Google Special Searches ยังเน้นการค้นหาในรูปแบบของระบบปฏิบัติการ  หรือ OS สำหรับผู้ใช้งานนั้นได้อีกด้วย  ทำให้การค้นหาที่เฉพาะเจาะจงสำหรับระบบปฏิบัติการหรือ OS นั้นๆสะดวกยิ่งขึ้น  เช่น Linux, BSD, Microsoft, Mac เป็นต้นครับ
นอกจากการใช้ Google ค้นหาข้อมูลทั่วไปแล้ว ยังสามารถค้นรูปภาพ ข่าว และรวมทั้งเข้าถึงสารบบเว็บที่ทาง Google จัดเตรียมไว้ให้ นอกจากนี้เรายังสามารถปรับแต่ง Google ต่างๆ เช่น การค้นหาขั้นสูง และ ปรับแต่งตัวเลือก  เพื่อให้ได้ตรงใจเรามากที่สุด

ที่มา : http://sites.google.com/site/nidaudon1551/Home/srr-sara-1/-2/kar-subkhn
guest profile guest

**เพิ่มที่มาค่ะ
Google จะใช้ and (และ) อยู่ในประโยคเสมอ เช่น ค้นหา harvest moon back to nature. Google จะค้นหาแบบ harvest AND moon AND back… (พูดง่ายๆคือค้นหาแบบแยกคำ)

  1. การใช้ OR (หรือ) คือการให้ Google หาข้อมูลมากขึ้นจาก คำA และ คำB (พูดง่ายๆ คือนำผลที่ได้ มารวมกันรวมกัน) วิธีใช้ พิมพ์ OR ด้วยตัวใหญ่ระหว่างคำที่ต้องการ เช่น vacation london OR paris คือหาทั้งใน London และ Paris
  2. Google จะละคำทั่วๆไป (เช่น the, to, of) และตัวอักษรเดี่ยว เพราะจะทำให้ค้นหาช้าลง แต่ถ้าคำ พวกนั้นสามารถช่วยให้หาข้อมูลง่ายขึ้น ก็ต้องใช้เครื่องหมาย + ช่วยโดยนำไปอยู่หน้าคำนั้น (ต้องเว้นวรรคก่อนด้วย) เช่น back +to nature final fantasy +x
  3. Google สามารถกันขอบเขตการค้นหาให้เล็กลงด้วยการใช้ Advanced Search หรือ การค้นหา แบบพิเศษ ใน Google ภาษาไทย
  4. Google สามารถตัดคำพ้องรูปได้โดยใช้เครื่องหมาย - ช่วยโดยการนำไปอยู่คำที่จะตัด เช่น คำว่า bass มี 2 ความหมายคือ เกี่ยวกับปลา และดนดรีเราจะตัดที่มีความหมายเกี่ยว กับดนตรีออกโดยพิมพ์ bass -music หมายความว่า bass ที่ไม่มีคำว่า music นอกจากนี้มันยังสามารถตัดอย่างอื่นได้อีก เช่น “front mission 3″ -filetype:pdf หมายความว่า เรื่องเกี่ยวกับ front mission 3 แต่ไม่แสดงไฟล์ PDF
  5. การค้นหาแบบทั้งวลี (คือการค้นหาทั้งกลุ่มคำ) ให้ใช้เครื่องหมาย ” ” เช่น “Breath of fire IV”
  6. Google สามารถแปลเวปภาษา Italian, French, Spanish, German, และ Portuguese เป็น ภาษาอังกฤษได้ (โดยคลิ้กที่คำว่า “Translate this page” ด้านข้างชื่อเวป)
  7. Google สามารถหาไฟล์ในรูปแบบอื่นๆที่ไม่ใช่ HTML ได้ ประเภทไฟล์ที่รองรับคือ
  8. Google สามารถเก็บ Cached ของเวปที่จะเข้าชมไว้ได้ (โดยคลิ้กที่ Cached หรือ ถูกเก็บไว้ ใน Google ภาษาไทย) ประโยชน์ของมันคือช่วยให้เราสามารถเข้าเวปบางเวปที่อาจโดนลบไปแล้ว โดย ข้อมูลที่ได้เป็นข้อมูลก่อนถูกลบ (ใหม่สุดที่มันจะมีได้)
  9. Google สามารถค้นหาหน้าที่คล้ายกัน (โดยคลิ้ก Similar pages หรือ หน้าที่คล้ายกัน ใน Google ภาษาไทย) โดยจะค้นหาข้อมูลที่คล้ายๆ กันให้เรา เช่น ถ้าเรากำลังหาข้อมูลการวิจัย ความสามารถนี้จะ ช่วยให้หาข้อมูลได้มากมายในเวลาที่รวดเร็วโดยไม่ต้องเป็นห่วงเรื่อง keyword
  10. Google สามารถค้นหา link ทั้งหมดที่เชื่อมไปยังเวปนั้นได้ วิธีใช้ link:ชื่อ URL เช่น ink:www.google.com และคุณไม่สามารถใช้ความสามารถนี้ร่วมกับการหาแบบอื่นๆ ได้
  11. Google สามารถค้นหาเวปที่จำเพาะเจาะจงได้ โดยพิมพ์ คำที่คุณต้องการเจาะจง site:ชื่อ URL เช่น ถ้าคุณต้องการหาเวปเกี่ยวกับการเข้า (admission) มหาวิทยาลัย Stanford ให้พิมพ์ admission site:www.stanford.edu
  12. ถ้าคุณมีเวลาน้อย (และคิดว่าโชคดี) Google มีบริการการค้นหาด่วน (ชื่อบริการ I’m Feeling Lucky) โดยที่ Google จะนำเวปที่อยู่ลำดับแรกของการค้นหา ส่งให้คุณเลย (link ไปเวปนั้นให้เสร็จ) เช่น คุณต้องการค้นหาเวปมหาวิทยาลัย Stanford อย่างด่วนให้พิมพ์ Stanford แล้วกด I’m Feeling Lucky หรือ โชคเข้าข้างเราแน่ ใน Google ไทย
  13. Google สามารถหาแผนที่ของสหรัฐอเมริกาได้โดยพิมพ์ ที่อยู่ ชื่อถนน พร้อมด้วยชื่อรัฐ เช่น 165 University Ave Palo Alto CA Google จะจัดการส่งแผนที่คุณภาพสูงมาให้คุณ
  14. Google สามารถหาเบอร์โทร (เฉพาะอเมริกา) หรือพิมพ์เบอร์โทรแล้วหาบริษัทได้โดยพิมพ์first name (or first initial), last name, city (state is optional) phone number, including area codefirst name (or first initial), last name, state last name, city, statefirst name (or first initial), last name, area code last name, zip codefirst name (or first initial), last name, zip code

แล้วแต่ว่าคุณจะใช้แบบไหน

  1. Google สามารถค้นหา Catalog สินค้าได้ (เข้าไปที่ http://catalogs.google.com)/
  2. นอกจากนี้มันยังสามารถคำนวนเลขได้ด้วยนะครับ ลองใส่โจทย์เลขลงไปในช่อง Search ดูสิ เช่น 52869-8956 หรือ 562475+8422 แล้วกด enter ดู จริงๆ มันยังแปลงค่า เช่น จากไมล์เป็นกิโลเมตร หรือจากเซนติเมตรเป็นนิ้วได้ แค่ใส่ลงไป เช่น ใส่ว่า 130 miles to kilometer ก็จะได้ผลออกมาเป็นกิโลเมตร เป็นต้น
  3. นอกจากนี้ยังแปลงค่าเงินได้อีกด้วย ใส่ลงไปในช่องค้นหาว่า 50 USD to baht ก็จะได้อัตราแลกเปลี่ยนเงินจากดอลลาร์เป็นบาท หรือจะเป็นค่าอื่น ก็แค่เปลี่ยนสกุลเงิน แล้วตามท้ายว่า To baht ก็จะได้อัตราแลกเปลี่ยนแล้วครับ ไปลองดูเลย เวิร์กมาก
    เป็นไงครับ เทคนิกการใช้ก็มีมากมายที่พอรู้แล้ว เราก็จะค้นหาข้อมูล หรือใช้ประโยชน์จาก Google ได้มากขึ้น

**ที่มา http://www.suansanook.com/howto/?p=84

guest profile guest

การค้นหาโดยใช้ Search Engine
โดย Search Engine ที่มีผู้ที่ชื่นชอบมากที่สุดคือ www.google.com เนื่องจากได้ผลลัพธ์ตรงกับความต้องการมากที่สุด มีขั้นตอน ดังนี้
1.กรอกแอดเดรส
www.google.com เพื่อเข้าสู่เว็บไซต์
2.กรอกคำที่เราต้องการค้นหา เช่น เราต้องการทราบถึงสายพันธุ์ของปลาทอง เราก็จะกรอกไปว่า สายพันธุ์ปลาทอง
3. จะได้ผลลัพธ์กลับมาเป็นรายชื่อเว็บไซต์และเว็บเพจที่มีข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับคำที่ค้นหาแล้วจึงคลิกเพื่อเปิดเว็บเพจที่ต้องการ

Search Engine ที่น่าสนใจ นอกจาก
www.google.com แล้ว ยังมีเว็บไซต์อื่นๆอีก ดังนี้

www.altavista.com

สามารถค้นหาแล้วได้ผลลัพธ์มากมาย แล้วยังสามารถแปลภาษาได้อีกด้วย

www.excite.com

ค้นหาโดยตีความหมายจากวลีที่กรอกลงไปก่อน จึงได้ผลลัพธ์ที่ตรงกับความต้องการ

www.hotbot.com

มีฐานข้อมูลขนาดใหญ่ มีการเก็บเว็บเพจไว้เกือบทั้งโลก จึงไม่ต้องกลัวว่าถ้าเว็บไซต์

 

ปิดไปแล้วจะหาไม่เจอ เพราะสามารถเปิดได้โดยคลิกที่ See Result from this site only

www.aj.com

มีจุดเด่นตรงที่เราสามารถใช้ประโยคคำถามธรรมดาค้นหาได้

การกรอกคำใน Search Engine จึงจะได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
1. กรอกคีย์เวิร์ดด้วยคำที่เจาะจง เช่น ต้องการค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวกับร้านอาหารในประเทศไทย แต่กรอกไปว่า Thai Restaurant จะได้ผลลัพธ์มากมาย เพราะร้านอาหารไทยมีทั่วโลก ดังนั้นเราจะต้องกรอกไปว่า Thai Restaurant in Thailand จะได้ผลลัพธ์ที่ตรงจุดกว่า
2. สำหรับกรณีที่ต้องการให้มีคำใดคำหนึ่งอยู่ในผลลัพธ์เสมอ จะต้องใส่เครื่องหมาย (+) หน้าคำนั้น เช่น ต้องการค้นหาเรื่องแมวไทย เรามักจะใช้คีย์เวิร์ดว่า siamese Cat เราควรจะใช้ siamese + Cat ซึ่งจะได้ผลลัพธ์ที่มีคำว่า Cat เสมอ
3. สำหรับกรณีที่ไม่ต้องการให้ปรากฏคำใดในผลลัพธ์ ให้ใส่เครื่องหมาย (-) หน้าคำนั้น เช่น ถ้าไม่ต้องการให้มีคำว่า Dog อยู่ในการค้นหา เราจะใช้ siamese Cat - Dog
4. สำหรับกรณีที่กรอกชื่อที่มีเครื่องหมายเว้นวรรค สามารถทำให้เป็นคำเดียวได้โดยใส่เครื่องหมายอัญประกาศ ("  ") ครอบคำนั้น

จากหนังสือ ก้าวสู่โลกอินเตอร์เน็ต ฉบับสมบูรณ์ ของ กรภัทร สุทธิดารา

guest profile guest

เทคนิคค้นหาข้อมลู

            ในโลกไซเบอร์สเปซมีข้อมูลมากมายมหาศาล การที่จะค้นหาข้อมูลจำนวนมากมายอย่างนี้เราไม่อาจจะคลิกเพื่อค้นหาข้อมูลพบได้ง่ายๆ จำเป็นจะต้องอาศัยการค้นหาข้อมูลด้วยเครื่องมือค้นหาที่เรียกว่า Search Engine เข้ามาช่วยเพื่อความสะดวกและรวดเร็ว เว็บไซต์ที่ให้บริการค้นหาข้อมูลมีมากมายหลายที่ทั้งของคนไทยและต่างประเทศ

ความหมาย/ประเภทของ Search Engine

            การค้นหาข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีอยู่เบ็นจำนวนมาก ถ้าเราเปิดไปทีละหน้าจออาจจะต้องเสียเวลาในการค้นหา และอาจหาข้อมูลที่เราต้องการไม่พบ การที่เราจะค้นหาข้อมูลให้พบอย่างรวดเร็วจะต้องใช้เว็บไซต์สำหรับการค้นหาข้อมูลที่เรียกว่า Seaech Engine Site ซึ่งจะทำหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้อน คำหรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่กำหนด คลิกปุ่มค้นหา (หรือกดปุ่ม Enter) เท่านั้น รอสักครู่ข้อมูลอย่างย่อๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้เราเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ทันที

 

 

            Search Engine แต่ละแห่งมีวิธีการและการจัดเก็บฐานข้อมูลที่แตกต่างกันไปตามประเภทของ Search Engine ที่แต่ละเว็บไซต์นำมาใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ดังนั้นการที่คุณจะเข้าไปหาข้อมูลหรือเว็บไซต์ โดยวิธีการ Search นั้น อย่างน้อยคุณจะต้องทราบว่า เว็บไซต์ที่คุณเข้าไปใช้บริการ ใช้วิธีการหรือ ประเภทของ Search Engine อะไร เนื่องจากแต่ละประเภทมีความละเอียดในการจัดเก็บข้อมูลต่างกันไป ที่นี้เราลองมาดูซิว่า Search Engine ประเภทใดที่เหมาะกับการค้นหาข้อมูลของคุณ

 

 

  1. Keyword Index   เป็นการค้นหาข้อมูล โดยการค้นจากข้อความในเว็บเพจที่ได้ผ่านการสำรวจมาแล้ว จะอ่านข้อความ ข้อมูล อย่างน้อยๆ ก็ประมาณ 200-300 ตัวอักษรแรกของเว็บเพจนั้นๆ โดยการอ่านนี้จะหมายรวมไปถึงอ่านข้อความที่อยู่ในโครงสร้างภาษา HTML ซึ่งอยู่ในรูปแบบของข้อความที่อยู่ในคำสั่ง alt ซึ่งเป็นคำสั่งภายใน TAG คำสังของรูปภาพ แต่จะไม่นำคำสั่งของ TAG อื่นๆ ในภาษา HTML และคำสั่งในภาษา JAVA มาใช้ในการค้นหา วิธีการค้นหาของ Search Engine ประเภทนี้จะให้ความสำคัญกับการเรียงลำดับข้อมูลก่อน-หลัง และความถี่ในการนำเสนอข้อมูลนั้น การค้นหาข้อมูล โดยวิธีการเช่นนี้จะมีความรวดเร็วมาก แต่มีความละเอียดในการจัดแยกหมวดหมู่ของข้อมูลค่อนข้างน้อย เนื่องจากไม่ได้คำนึงถึงรายละเอียดของเนื้อหาเท่าที่ควร แต่หากว่าคุณต้องการแนวทางด้านกว้างของข้อมูล และความรวดเร็วในการค้นหา วิธีการนี้ก็ใช้ได้ผลดี
  1. Subject Directories   การจำแนกหมวดหมู่ข้อมูล Search Engine ประเภทนี้ จะจัดแบ่งโดยการวิเคราะห์เนื้อหา รายละเอียด ของแต่ละเว็บเพจ ว่ามีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร โดยการจัดแบ่งแบบนี้จะใช้แรงงานคนในการพิจารณาเว็บเพจ ซึ่งทำให้การจัดหมวดหมู่ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของคนจัดหมวดหมู่แต่ละคนว่าจะจัดเก็บข้อมูลนั้นๆ อยู่ในเครือข่ายข้อมูลอะไร ดังนั้นฐานข้อมูลของ Search Engine ประเภทนี้จะถูกจัดแบ่งตามเนื้อหาก่อน แล้วจึงนำมาเป็นฐานข้อมูลในการค้นหาต่อไป การค้นหาค่อนข้างจะตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และมีความถูกต้องในการค้นหาสูง เป็นต้นว่า หากเราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์ หรือเว็บเพจที่นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Search Engine ก็จะประมวลผลรายชื่อเว็บไซต์ หรือเว็บเพจที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ล้วนๆ มาให้คุณ
  1. Metasearch Engines   จุดเด่นของการค้นหาด้วยวิธีการนี้ คือ สามารถเชื่อมโยงไปยัง Search Engine ประเภทอื่นๆ และยังมีความหลากหลายของข้อมูล แต่การค้นหาด้วยวิธีนี้มีจุดด้อย คือ วิธีการนี้จะไม่ให้ความสำคัญกับขนาดเล็กใหญ่ของตัวอักษร และมักจะผ่านเลยคำประเภท Natural Language (ภาษาพูด) ดังนั้น หากคุณจะใช้ Search Engine แบบนี้ละก็ ขอให้ตระหนักถึงข้อบกพร่องเหล่านี้ด้วย

            ดังนั้น การเลือกใช้เครื่องมือในการค้นหาจะต้องเข้าใจว่า ข้อมูลที่ต้องการค้นหานั้นมีลักษณะอย่างไร มีขอบข่ายกว้างขวางหรือแคบขนาดไหน แล้วจึงเลือกใช้เว็บไซต์ค้นหาที่ให้บริการตรงกับความต้องการของเรา

 

            ารค้นหาข้อมูลด้วยเว็บไซต์ค้นหานั้น เพื่อให้ขอบข่ายของการค้นหาแคบเข้า สามารถค้นหาได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น จะต้องใช้เว็บไซต์การค้นหาเข้าช่วย เช่น

ส่วนบนของฟอร์ม


Search WWW Search easyhome.in.th

ส่วนล่างของฟอร์ม

            Google เป็นเว็บไซต์ฐานข้อมูลที่ใหญ่มากแห่งหนึ่งของโลก ในอดีตเป็นบริษัทที่ดำเนินการด้านฐานข้มูลเพื่อให้บริการแก่เว็บไซต์ค้นหาอื่นๆ ปัจจุบันได้เปิดเว็บไซต์ค้นหาเอง ด้วยฐานข้มูลมากกว่าสามพันล้านเว็บไซต์และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทุกวัน ที่เหนือกว่าผู้ให้บริการรายอื่นๆ คือ เป็นเว็บไซต์ค้นหาที่สนับสนุนภาษาต่างๆ มากกว่า 80 ภาษาทั่วโลก (รวมทั้งภาษาไทย) และมีเครื่องเซิร์ฟเวอร์ให้บริการในส่วนต่างๆ ของโลกมากถึง 36 ประเทศ (รวมทั้งในประเทศไทย อีกแล้ว)

 

 

 

 

            เมื่อเราเปิดบราวเซอร์และพิมพ์ URL : www.google.com ลงไป ด้วยระบบตรวจสอบภาษาของเว็บไซต์ Google เมื่อพบว่าเราใช้บราวเซอร์บนวินโดว์ภาษาไทยระบบจะสวิทช์เป้าหมายมายัง www.google.co.th โดยอัตโนมัติดังภาพข้างบน
บริการค้นหาของ Google แยกฐานข้อมูลออกเป็น 4 หมวด (ในแต่ละหมวดมีการค้นหาแบบพิเศษเพิ่มเติมด้วย) คือ

  1. เว็บ : เป็นการค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ต่างๆ ทั่วโลก
  1. รูปภาพ : เป็นการค้นหารูปภาพหลากหลายฟอร์แมตจากเว็บไซต์ต่างๆ ทั่วโลก
  1. กลุ่มข่าว : เป็นการค้นหาเรื่องราวที่น่าสนใจจากกลุ่มข่าวต่างๆ
  1. สารบบเว็บ : การค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ที่แยกออกเป็นหมวดหมู่

การค้นหาเว็บแบบเจาะลึก

 

 

 

 

 

 

 

 

 

            การค้นหาแบบเจาะลึกเกี่ยวกับเว็บ สามารถระบุรายละเอียดต่างๆ ได้ เพื่อให้สามารถจำกัดวงในการค้นหาให้แคบเข้า เช่น การกำหนดคำหลักที่ต้องการ คำที่คล้ายคลึงและคำที่ไม่ต้องการให้ปรากฏอยู่ด้วย กำหนดเฉพาะภาษา ชนิดของไฟล์ (เอกสารเว็บ(html) เอกสารเวิร์ด (word)) ช่วงระยะเวลาที่เอกสารนั้นสร้างขึ้น จากโดเมนเว็บไซต์ชื่ออะไร เป็นต้น

การค้นหาภาพระดับสูง

 

 

 

 

 

 

           การค้นหาภาพเพื่อให้สามารถค้นหาได้รวดเร็วควรใช้การค้นหาระดับสูง เพราะสามารถระบุชื่อหรือบางส่วนของชื่อ ชนิดรูปภาพเป็นไฟล์ฟอร์แมตใด (JPG, GIF, PNG) ชนิดของสี (Black/White, Grayscale, Color) ชื่อของโดเมนที่คาดว่าน่าจะมีภาพนั้นๆ

 

 

            ารค้นหาข้อมูลด้วยเว็บไซต์ค้นหานั้น เพื่อให้ขอบข่ายของการค้นหาแคบเข้า สามารถค้นหาได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น จะต้องใช้เว็บไซต์การค้นหาเข้าช่วย นอกจาก Google, Yahoo, Siamguru แล้วยังมีเว็บไซต์ค้นหาอื่นๆ อีก เช่น

Sanook.com เว็บไซต์ค้นหาของไทยอีกราย

 

 

 

            เป็นเว็บไซต์ยอดนิยมในหมู่วัยรุ่นไทย ซึ่งมีบริการหลากหลาย หนึ่งในบริการเหล่านั้นคือ บริการค้นหาเว็บและจัดหมวดหมู่เว็บไซต์ไทย ซึ่งมีหลากหลายกลุ่ม ค้นหาได้ง่ายและฉับไวเช่นเดียวกัน ด้วยฐานข้อมูลเว็บไซต์ภาษาไทยของตนเอง มีบริการแนะนำเว็บไซต์ที่น่าสนใจใหม่ๆ บรรดาเว็บมาสเตอร์ชาวไทยหรือเจ้าของเว็บไซต์ภาษาไทยสามารถเข้าไปเพิ่มรายชื่อเว็บไซต์ไทยได้ด้วยตนเองอีกด้วย
นอกจากการค้นหาแบบธรรมดาแล้วยังมีการค้นหาแบบมีเงื่อนไข เจาะจงรายละเอียดได้ด้วย เช่น จากชื่อโฮมเพจ จากคำหลัก (keyword) จากคำอธิบาย (description) และจาก URL

 

 

 

 

 

 

 

 

 

            จากตัวอย่างข้างบนค้นหาคำว่า krumontree จะปรากฏผลการค้นหาว่ามี 1 URL ในหมวดหมู่การศึกษา/E-Learning และแสดงรายละเอียดต่างให้ทราบ

Lycos.com

 

 

 

            Lycos เป็นผู้บริการค้นหาอีกรายของต่างประเทศ ที่มีผู้นิยมใช้เช่นเดียวกัน ให้บริการอีเมล์ฟรี และบริการจัดอันดับเว็บไซต์ทางธุรกิจอีกด้วย

MSN.com (Microsoft Network)

 

 

 

            MSN อาจจะไม่คุ้นหูเท่าไหร่ แต่ถ้าบอก Hotmail.com คงจะร้องอ๋อกันแน่ ไมโครซอฟท์ตั้งใจใช้เป็นเว็บไซต์ท่าสำหรับเชื่อมโยงไปยังทุกกลุ่มธุรกิจของบริษัท มีบริการค้นหาข้อมูลที่หลากหลาย บริการโปรแกรมสนทนาออนไลน์คู่แข่งของ ICQ คือ Windows Messenger บริการอีเมล์ฟรีที่เมื่อขอใช้จะได้อีเมล์แอดเดรสเป็น yourname@hotmail.com นอกจากนั้นยังมีบริการเสนอข่าวสาร ข้อมูลธุรกิจการเงินและสินค้าของบริษัทไมโครซอฟท์
การค้นหาจะพบข้อมูลที่ต้องการหรือไม่ขึ้นอยู่กับการวางเงื่อนไขในการค้นหา ฐานข้อมูลของผู้ให้บริการ ต้องทดลองกันเองว่าผู้ให้บริการรายใดมีข้อมูลตรงกับที่เราต้องการมากที่สุด

ที่มา http://www.yupparaj.ac.th/CAI/search/search_01-1.html

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน

cl_km Icon เทคนิคการค้นหาข้อมูล 51 อ่าน 6,510 13 ปีที่ผ่านมา
13 ปีที่ผ่านมา
13 ปีที่ผ่านมา
cl_km Icon การให้บริการอินเตอร์เน็ต 47 อ่าน 9,248 13 ปีที่ผ่านมา
13 ปีที่ผ่านมา
cl_km Icon ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต 44 อ่าน 5,593 13 ปีที่ผ่านมา
13 ปีที่ผ่านมา