ความหมายและที่มาโครงการโคกหนองนา

lookmoo1981 profile image lookmoo1981

ความหมายและที่มาโครงการโคกหนองนา

แนวคิดการจัดการน้ำ "โคก หนอง นา โมเดล" นี้ เป็นการทำเกษตรในพื้นที่ขนาดจำกัด หรือขนาดเล็ก เป็นการกักเก็บน้ำไว้ทั้งบนดิน (ด้วยหนอง คลองไส้ไก่ และคันนา) และใต้ดิน (ด้วยป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง) ตามแนวพระราชดำริของในหลวง ร.9 โดยเฉพาะในพื้นที่จำกัด อย่างน้อยเพียง 3 ไร่ หรือ แล้วแต่ขนาดของที่ดินตามสภาพความเหมาะสมก็ได้ เมื่อปี 2561 มีแบบมาตรฐาน โคก หนอง นา โมเดล จำนวนประมาณ 40 แบบให้กรมพัฒนาที่ดินไว้แจกจ่ายประชาชน ทั้ง 40 แบบ เป็นโมเดลต้นแบบสำหรับที่ดินขนาดแบบ 3 ไร่ 5 ไร่ หรือ 10-15 ไร่ ที่เป็นโมเดลพื้นที่ขนาดเล็ก

ตัวอย่างของผลสัมฤทธิ์คือ การทำนาขั้นบันได บ้านห้วยกระทิง อ.แม่ระมาด จ.ตาก (มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ)

มีองค์ประกอบดังนี้

(1) โคก
- ดินที่ขุดทำหนองน้ำนั้นให้นำมาทำโคก บนโคกปลูก “ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง” ตามแนวทางพระราชดำริ
- ปลูกพืช ผัก สวนครัว เลี้ยงหมู เลี้ยงไก่ เลี้ยงปลา ทำให้พออยู่ พอกิน พอใช้ พอร่มเย็น เป็นเศรษฐกิจพอเพียงขั้นพื้นฐาน ก่อนเข้าสู่ขั้นก้าวหน้า คือ ทำบุญ ทำทาน เก็บรักษา ค้าขาย และเชื่อมโยงเป็นเครือข่าย
- ปลูกที่อยู่อาศัยให้สอดคล้องกับสภาพภูมิประเทศ และภูมิอากาศ

(2) หนอง
- ขุดหนองเพื่อกักเก็บน้ำไว้ใช้ยามหน้าแล้งหรือจำเป็น และเป็นที่รับน้ำยามน้ำท่วม (หลุมขนมครก)
- ขุด “คลองไส้ไก่” หรือคลองระบายน้ำรอบพื้นที่ตามภูมิปัญญาชาวบ้าน โดยขุดให้คดเคี้ยวไปตามพื้นที่เพื่อให้น้ำกระจายเต็มพื้นที่เพิ่มความชุ่มชื้น ลดพลังงานในการรดน้ำต้นไม้
- ทำ ฝายทดน้ำ เพื่อเก็บน้ำเข้าไว้ในพื้นที่ให้มากที่สุด โดยเฉพาะเมื่อพื้นที่โดยรอบไม่มีการกักเก็บน้ำ น้ำจะหลากลงมายังหนองน้ำ และคลองไส้ไก่ ให้ทำฝายทดน้ำเก็บไว้ใช้ยามหน้าแล้ง
- พัฒนาแหล่งน้ำในพื้นที่ ทั้งการขุดลอก หนอง คูคลอง เพื่อกักเก็บน้ำไว้ใช้ยามหน้าแล้ง และเพิ่มการระบายน้ำยามน้ำหลาก

(3) นา
- พื้นที่นานั้นให้ปลูกข้าวอินทรีย์พื้นบ้าน โดยเริ่มจากการฟื้นฟูดิน ด้วยการทำเกษตรอินทรีย์ยั่งยืน คืนชีวิตเล็กๆ หรือจุลินทรีย์กลับคืนแผ่นดินใช้การควบคุมปริมาณน้ำในนาเพื่อคุมหญ้า ทำให้ปลอดสารเคมีได้ ปลอดภัยทั้งคนปลูก คนกิน
- ยกคันนาให้มีความสูงและกว้าง เพื่อใช้เป็นที่รับน้ำยามน้ำท่วม ปลูกพืชอาหารตามคันนา โดยความร่วมมือของมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง จึงได้มีการออกแบบพื้นที่กสิกรรมโดยอาศัย “โคก หนอง นา โมเดล” เป็นแนวคิดหลักในการจัดการพื้นที่ ในบริเวณพื้นที่ลุ่มน้ำป่าสัก แหล่งน้ำขนาดใหญ่ที่สำคัญที่สุดของเมืองไทย

ติดต่อสอบถาม


Meaning and origin of Khok Nong Na Project

The concept of water management "Kok Nong Na Model" is agriculture in a limited or small area, which is to store water both on the ground (with swamps, canals, Sai Kai and khanna) and underground (with 3 forests, 4 benefits) along the lines. royal initiatives of King Rama IX, especially in limited areas At least only 3 rai or depending on the size of the land as appropriate. In 2018, there were about 40 standard Khok, Nong Na models for the Department of Land Development to distribute to the public. All 40 are prototype models for land sizes of 3 rai, 5 rai, or 10-15 rai that is a small area model

An example of an achievement is step farming Ban Huai Krathing, Mae Ramat District, Tak Province (Natural Farming Foundation)

There are the following components

(1) hump

- The soil that was dug for the swamp was to be used to make a hump. On the hump, planted "3 forests, 4 benefits" according to the royal initiative.

- Cultivation of crops, vegetables, kitchen garden, raising pigs, raising chickens, raising fish, making them sufficiency economy Before entering the advanced stage, i.e. making merit, alms, keeping, trading, and networking

- Plant housing in accordance with the terrain and climate.

(2) Nong

- Dig a swamp to store water for use in the dry season or as needed and is the place to receive water when flooding (Khanom Krok hole)

- Dig a “Sai Kai Canal” or a drainage canal around the area according to local wisdom By digging and meandering along the area to spread water to fill the area to add moisture. Reduce energy for watering plants

- Make an irrigation dam to collect as much water in the area as possible especially when the surrounding area has no water retention. The water will flow down into the swamp. and the chicken canal Make an irrigation dam to store it for use in the dry season.

- Develop water resources in the area including dredging swamps and canals to store water for use in the dry season and increase drainage when flooding

(3) field

- The field is to grow local organic rice. starting with soil rehabilitation with sustainable organic farming little life back or microorganisms return to the land, use the control of the amount of water in the fields to control the grass make it chemical free Safe for both growers and eaters

- Raise the rice field to height and width. to be used as a source of water when flooding Growing food crops along the fields by the cooperation of the Natural Farming Foundation and the Faculty of Architecture King Mongkut's University of Technology Ladkrabang Therefore, the farming area has been designed by using the “Kok Nong Na Model” as the main concept of area management. in the area of ​​the Pa Sak River Basin The most important large water source in Thailand.

ติดต่อสอบถาม

Khok Nong Na 项目的意义和起源

“Kok Nong Na 模式”的水管理概念是在有限或小范围内进行农业,即在地面(有沼泽、运河、赛凯和可汗)和地下(有 3 个森林,4 个好处)储存水沿线。拉玛九世国王的王室倡议,特别是在有限的地区 至少只有 3 rai 或视土地大小而定。2018 年约有 40 个标准 Khok, Nong Na 模型供土地发展部分发给公众。所有 40 个都是土地大小的原型模型3 rai、5 rai 或 10-15 rai 是小面积模型

一个成就的例子是 步耕 Ban Huai Krathing, Mae Ramat District, Tak Province (Natural Farming Foundation)

有以下组件

(1) 驼峰

- 为沼泽挖的土是用来做一个驼峰的,根据王室的倡议,在驼峰上种植了“三林四益”。

- 种植农作物、蔬菜、菜园、养猪、养鸡、养鱼,使之自足经济 进入高级阶段前,即布施、布施、保持、交易、网络

- 根据地形和气候种植房屋。

(2) 弄

- 挖一个沼泽来储存水,以便在旱季或需要时使用 并且是一个在洪水时会接水的地方(Khanom Krok 洞)

- 根据当地智慧在该地区周围挖掘“Sai Kai Canal”或排水渠 通过沿着该区域挖掘和蜿蜒以撒水以填充该区域以增加水分。减少浇灌植物的能源

- 建造灌溉水坝以在该地区收集尽可能多的水 尤其是当周围区域没有水潴留时。水会流到沼泽里。和鸡运河 建造一个灌溉水坝,将其储存起来以备旱季使用。

- 开发该地区的水资源 包括疏浚沼泽和运河以储存旱季用水 并在洪水泛滥时增加排水

(3) 领域

- 该领域是种植当地有机水稻。从土壤修复开始 可持续有机农业 小生命回来 或微生物回归土地,利用田间控制水量来控制草 使其不含化学物质 对种植者和食用者都是安全的

  • 将稻田提高到高度和宽度。在洪水泛滥时用作水源 沿着田地种植粮食作物 通过自然农业基金会和建筑学院的合作 蒙库特国王科技大学拉德卡邦 因此,农业区的设计以“Kok Nong Na 模式”作为区域管理的主要概念。在帕萨克河流域地区 泰国最重要的大水源。

ติดต่อสอบถาม

ความคิดเห็น

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน

2 เดือนที่ผ่านมา
2 เดือนที่ผ่านมา