ทนายความ คืออะไร

lookmoo1981 profile image lookmoo1981

ต้องการหาทนาย หาทนายว่าความใน เพื่อดูแลคดีของท่าน หรือมีข้อสอบถามปรึกษาทนายเกี่ยวกับคดีความต่างๆ ที่ทำให้คุณเป็นกังวล เราทีมทนายที่สุดยอด พร้อมให้คำปรึกษาและรับทำคดี เช่น ต้องการหาทนายความ คดีที่ดิน คดีอย่าร้าง การรับบุตรบุญธรรม คดีความต่างๆ  เรามีทีมงานที่พร้อมให้บริการปรึกษา รับว่าความ คดีที่ดิน มรดก และคดีต่างๆ ด้วยทีมทนาย

      บริการปรึกษากฎหมายทนายความ

 

 

ทนายความ คืออะไร

1. สภาพแวดล้อมในการทำงาน
สถานที่ทำงาน
งานของทนายความมีทั้งงานในสำนักงาน ที่ต้องตรวจสอบและเตรียมเอกสาร โดยสถานที่จะเหมือนกับสำนักงานทั่วไป คือมีโต๊ะประจำของแต่ละบุคคล ซึ่งสำนักงานทนายความแต่ละที่จะมีจำนวนคนไม่มากนัก นอกเหนือจากนั้นยังมีงานที่ต้องออกไปติดต่อประสานงานนอกสำนักงาน เช่น ศาล สถานีตำรวจ และสถานที่อื่นๆ เพื่อปฏิบัติภาระกิจทนายความตามที่ได้รับมอบหมาย ส่วนใหญ่ทำงานสัปดาห์ละ 40 ชั่วโมง แต่การทำงานล่วงเวลาเป็นเรื่องปกติในอาชีพนี้ อาจจะต้องมาทำงานในวันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุด อยู่เสมอ

สภาพการทำงาน
การปฏิบัติงานอาชีพนี้ ได้แก่ ผู้ทำงานเกี่ยวกับกฎหมาย ให้คำปรึกษาและให้บริการทางกฎหมายอื่นๆ รวมถึงการปฏิบัติงานทั่วๆไปเกี่ยวกับกฎหมาย เช่น การจัดทำเอกสารเกี่ยวกับกฎหมาย การว่าความคดีอาญา และคดีแพ่ง ให้คำแนะนำแก่ลูกความเกี่ยวกับปัญหาบุคคล และธุรกิจในแง่ของกฎหมาย และทำแทนลูกความในเรื่องต่างๆ ดำเนินการฟ้องผู้ต้องหาต่อศาลในนามของเจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง ซึ่งงานส่วนใหญ่จะเกี่ยวของกับผลประโยชน์ของลูกความจึงมีความกดดันและต้องทำให้ลูกความได้รับผลประโยชน์ให้ได้มากที่สุด

ประเภทของลูกค้า
อาชีพทนายความ ถือเป็นอาชีพที่สำคัญอีกอาชีพหนึ่ง ซึ่งจะมาเกี่ยวข้องกับธุรกิจ และบุคคล เพราะอาชีพนี้จะมีความชำนาญทางกฎหมาย ความต้องการของอาชีพนี้มีสูงขึ้นเรื่อยๆโดยดูได้จากคดีที่เกิดขึ้นที่กรมตำรวจ ล้วนแต่ต้องใช้ทนายความเข้ามาช่วยในคดีทั้งสิ้นในช่วงภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ทนายความมีคดีว่าความมากขึ้นเนื่องจากจะมีคดีฟ้องร้องในเรื่องการค้างชำระหนี้มากขึ้น แต่รายได้จากการว่าความจะไม่ค่อยมากนักเนื่องจากฝ่ายจำเลยไม่สามารถชำระค่าเสียหายได้ จะเห็นได้ว่าไม่ว่าจะอยู่ในภาวะเศรษฐกิจอย่างไร ความต้องการแรงงานในอาชีพมีอยู่ตลอด ทั้งนี้ก็ต้องขึ้นอยู่กับความชำนาญความเก่ง และชื่อเสียงของทนายความแต่ละคนด้วย นอกจากนี้ทนายความอิสระบางคนอาจจะรับทำงานสืบสวนให้บุคคลที่ต้องการให้สืบสวนหรือติดตามสิ่งของ หรือบุคคลที่ต้องการค้นหา เพราะฉะนั้นลูกค้ามีความหลากหลายมาก การจ้างทนายไม่จำเป็นต้องเป็นคนที่มีฐานะร่ำรวยเสมอไป แต่จะเป็นคนที่ประสบปัญหาต่างๆเกี่ยวกับกฎหมาย และต้องการได้รับคำปรึกษาจากเรา ซึ่งก็จะได้พบเจอกับลูกค้าในทุกระดับ

อาชีพนี้ต้องทำงานร่วมกับอาชีพ/ตำแหน่งงานใดบ้าง
อาชีพทนายความนั้นต้องทำงานร่วมกับอาชีพที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของกระบวนการยุติธรรมอันประกอบด้วย ศาล อัยการ ตำรวจ ทหาร ราชทัณฑ์ ผู้พิพากษา ข้าราชกาลฝ่ายกฏหมาย นิติกรตามบริษัท เจ้าหน้าสินเชื่อ เจ้าหน้าเร่งรัดหนี้ นักสืบ ซึ่งทุกอาชีพที่กล่าวมานี้คืออาชีพที่มีความเกี่ยวข้องกับกระบวนการทางกฏหมายทั้งสิ้น แต่จะแล้วแต่รูปแบบของงานว่าเป็นคดีความแบบใด และต้องติดต่อประสานงานกับอาชีพใดเพื่อให้คดีความนั้นบรรลุผลสำเร็จไปได้ด้วยดี

2. คุณลักษณะของงาน
เป้าหมายของงาน/โจทย์ใหญ่ของงาน/ความท้าทายของงาน
เป้าหมายของงานในอาชีพทนาย คือการทำตามความต้องการของลูกความ และบรรลุเป้าที่ตั้งไว้ของคดีนั้นๆ ความท้าทายอยู่ที่ความแตกต่างและความยากง่ายของแต่ละคดี ซึ่งมีความกดดันแต่ต่างกัน แต่ทุกๆงานไม่ว่าจะเล็กหรือใหญ่เราก็ต้องรับผิดชอบอย่างเต็มที่ บางคดีต้องใช้เวลาในการสืบค้นข้อมูลนานหลายปีก็ต้องมีความรับผิดชอบที่จะตามคดีนั้นๆอย่างเสมอเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการทำงาน

Work process
- ปฏิบัติงานทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย เช่น ให้คำปรึกษาทางกฎหมาย จัดทำเอกสารเกี่ยวกับกฎหมาย
- ทำหน้าที่เป็นตัวแทนในเรื่องที่เกี่ยวกับกฎหมาย และดำเนินการแทนคู่ความทั้งทางอาญา และแพ่ง
- ตรวจสอบเรื่องราวต่างๆ และค้นตัวบทกฎหมายที่จะนำมาใช้โดยการศึกษาประมวล กฎหมาย พระราช กฤษฎีกา เทศบัญญัติ คำพิพากษาของศาลสูงที่มีมาแล้ว และกฎข้อ-บังคับที่ตราขึ้นไว้
- ให้คำแนะนำแก่ลูกความถึงสิทธิ และหน้าที่ตามกฎหมาย
- ทำการแทนลูกความในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวกับกฎหมาย จัดทำเอกสารเกี่ยวกับกฎหมาย และค้นหาบรรพต่างๆ ในประมวลกฎหมาย
- ว่าความ และดำเนินกระบวนการพิจารณาใดๆ ในศาลแทนคู่ความทั้งในคดีแพ่ง และคดีอาญา มีบทบาทในการสร้าง และรักษาความเป็นธรรมให้กับสังคม
- มีบทบาทในการคุ้มครอง ดูแลรักษาผลประโยชน์ของบุคคล และองค์กรธุรกิจเอกชนต่าง ๆ
- มีบทบาทในการให้คำปรึกษาแนะนำ ในการดำเนินการต่างๆ ให้ถูกต้องตามระเบียบ และกฎหมาย
- มีบทบาทเป็นคนกลางเพื่อไกล่เกลี่ยความขัดแย้งแห่งผลประโยชน์ด้วย
- อาจเชี่ยวชาญในงานกฎหมายสาขาใดสาขาหนึ่งโดยเฉพาะ
- อาจเป็นทนายความ หรือที่ปรึกษากฎหมายประจำองค์กร บรรษัท ห้างหุ้นส่วน บริษัท นิติบุคคล คณะบุคคล หรือเอกชน
Career path/ความก้าวหน้าของสายอาชีพ
อาชีพทนายความ นอกจากจะประกอบอาชีพเป็นทนายความแล้วยังสามารถเป็นผู้ดูแลผลประโยชน์ของหน่วยงาน เป็นที่ปรึกษาทางกฎหมายของหน่วยงาน เป็นพนักงานอัยการ และก้าวไปสู่การเป็นผู้พิพากษาได้ และนอกจากนี้อาชีพทนายความเป็นอาชีพที่มีความชำนาญทางกฎหมายเป็นพิเศษ จึงเป็นอาชีพหนึ่งที่สามารถนำความรู้ไปปรับใช้กับอาชีพอื่นได้มากมาย เช่น นักการเมือง ทหารตำรวจ เจ้าหน้าที่เร่งรัดหนี้สิน เจ้าหน้าที่การเงิน หรือครู อาจารย์ ทนายความที่มีความสามารถ และมีความรู้ทางกฎหมายระหว่างประเทศอย่างดี อาจได้รับการว่าจ้างให้เป็นทนายความ ว่าความในต่างประเทศ หรืออาจเป็นตัวแทนของรัฐบาลในการเจรจาทางด้านกฎหมาย หรือสิทธิประโยชน์ของประเทศได้อีกด้วย

- บุคลิก นิสัยของคนที่เหมาะจะทำอาชีพนี้
- ต้องมีใจรักในอาชีพ เพราะเป็นงานที่ต้องมีความเสียสละเพื่อผู้อื่น
- มีการใฝ่หาความรู้รอบตัวอยู่เสมอ
- มีวาทศิลป์ในการพูด
- ต้องเป็นคนซื่อตรง
- มีความสนใจในด้านกฏหมาย กระบวนการยุติธรรม
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียบกพร่องในศิลธรรมอันดี
- ไม่เป็นผู้ได้กระทำการใด ซึ่งแสดงให้เห็นว่าไม่น่าไว้วางใจในความซื่อสัตย์สุจริต
- ชอบท่องจำ เพราะกฏหมายมีมาตรต่างๆมากมายที่ต้องนำไปใช้ในการทำคดีความ
- ต้องซื่อตรงต่อลูกความ ผู้ร่วมงานอำนวยการความยุติธรรม ชุมชน ผู้ร่วมสำนักงาน และตนเอง

3. คุณค่าและผลตอบแทน
ผลตอบแทน
อาชีพทนายความเป็นอาชีพที่มีคนนิยมทำกันมาก เพราะเป็นอาชีพที่สามารถทำรายได้ดี และเป็นอาชีพที่มีเกียรติ โดยผู้ที่เป็นทนายความสามารถทำงานมีเงินเดือนประจำ โดยมีค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนตั้งแต่ 15,000 – 30,000 บาทขึ้นไป ขึ้นอยู่กับความสามารถประสบการณ์ และประเภทของหน่วยงานที่ทำงาน และจะสามารถได้รับเงินเดือนที่เพิ่มขึ้นเมื่อได้รับใบอนุญาติการเป็นทนายความ หรือประกอบอาชีพทนายความอิสระรับว่าความทั่วไป โดยอาจได้รับค่าตอบแทนจากการว่าความ ร้อยละ 10 – 20 ของทุนทรัพย์ในคดีนั้นๆ หรืออาจจะได้รับค่าตอบแทนตามแต่จะตกลงกับลูกความ ซึ่งอาจจะได้รับค่าว่าความ 20,000-100,000 บาทขึ้นไปแล้วแต่งานที่รับ และขนาดของทุน-ทรัพย์ในแต่ละคดี

คุณค่าของอาชีพนี้ต่อคนรอบข้างและสังคม
ในสังคมปัจจุบันมีเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของกฏหมายอยู่ตลอดเวลา เมื่อฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่สามารถปรับความเข้าใจกันได้ ก็ต้องมีคนกลางเข้ามาเพื่อให้เรื่องราวนั้นๆคลี่คลายไปได้ด้วยดีโดยมีหลักเกณฑ์เดียวกันคือเรื่องของกฏหมายและความยุติธรรม โดยเรื่องต่างๆเหล่านั้นอาจะเป็นเรื่องเล็กๆน้อยๆ ไปจนถึงเรื่องใหญ่ของสังคม การทำงานของทนายความไม่ต่างจากหมอ คือมีหน้าที่ช่วยเหลือคนในสังคมที่กำลังตกอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ไม่มีความรู้ ความสามารถ จึงต้องมีทนายมาช่วยให้บุคคลนั้นๆ ได้รับความยุติธรรมมากที่สุดจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้น

4. ทักษะ ความรู้ ความสามารถ
มีความสนใจในด้านกฎหมาย กระบวนการยุติ-ธรรม และต้องชอบที่จะท่องจำ เพราะวิชานิติศาสตร์เป็นการเรียนที่ต้องท่องจำมาก เช่น กฎระเบียบ มาตราต่างๆ เป็นต้น
ผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่า ต้องสอบเข้ารับการคัดเลือก หรือเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาคณะนิติศาสตร์ หลักสูตร 4 ปี สำเร็จการศึกษาได้รับปริญญาตรีทางนิติศาสตร์ หรือประกาศนียบัตรในวิชานิติศาสตร์ ซึ่งเทียบได้ไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี จากสถาบันการศึกษาซึ่ง สภาทนายความเห็นว่าสถาบันนั้นมีมาตรฐานการศึกษาที่ผู้ได้รับปริญญาตรี หรือประกาศนียบัตรควรเป็นทนายความได้ และเป็นสมาชิกแห่งเนติบัณฑิตยสภา
เมื่อสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่าต้องเข้ารับการอบรมจากสภาทนายความ โดยอบรมภาคทฤษฎีหลักสูตร 6 เดือน และอบรมภาคปฏิบัติ หลักสูตร 6 เดือน จึงสมัครเข้าสอบขอ ใบอนุญาตว่าความผ่านการทดสอบจะได้รับใบอนุญาตว่าความทั่วราชอาณาจักรจากสภาทนายความ
มีความรู้ความสามารถในการเรียนรู้ประมวลกฏหมายทั้งหมด รู้ว่าเราต้องใช้กฏหมายไหนมารองรับการกระทำของลูกความ หรือโต้แย้งกับฝั่งตรงข้าม มีสติและการรับมือกับสถาณการณ์เฉพาะหน้าได้เป็นอย่างดี

5. เครื่องมือที่ใช้ในอาชีพนั้น
หนังสือประมวลกฏหมาย เป็นสิ่งที่ทนายความมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องอ่านและศึกษาให้ละเอียดเพราะเป็นสิ่งที่ใช้ประกอบการทำงาน ในหนังสือนั้นจะประกอบด้วยกฏหมายที่แบ่งเป็นมาตราต่างๆ ที่เราจำเป็นต้องจำให้แม่นเพราะเมื่อเราอยู่ชั้นศาลแล้วจะต้องยกกฏหมายเหล่านั้นมาต่อสู้คดีความ ทนายความบางคนสามารถจำได้ทุกย่อหน้าและเว้นวรรค เพื่อไม่ให้มีช่องว่างทางกฏหมายที่จะทำให้ฝ่ายตรงข้ามสามารถนำโอกาสนี้มาเอาเปรียบเราได้

ปรึกษาทนายความคลองสาน
ปรึกษาทนายความคลองสามวา
ปรึกษาทนายความคลองเตย
ปรึกษาทนายความคันนายาว
ปรึกษาทนายความจอมทอง
ปรึกษาทนายความดอนเมือง
ปรึกษาทนายความดินแดง
ปรึกษาทนายความดุสิต
ปรึกษาทนายความตลิ่งชัน
ปรึกษาทนายความทวีวัฒนา
ปรึกษาทนายความทุ่งครุ
ปรึกษาทนายความธนบุรี
ปรึกษาทนายความบางกอกน้อย
ปรึกษาทนายความบางกอกใหญ่
ปรึกษาทนายความบางกะปิ
ปรึกษาทนายความบางคอแหลม
ปรึกษาทนายความบางซื่อ
ปรึกษาทนายความบางนา
ปรึกษาทนายความบางพลัด
ปรึกษาทนายความบางรัก
ปรึกษาทนายความบางเขน
ปรึกษาทนายความบางแค
ปรึกษาทนายความบึงกุ่ม
ปรึกษาทนายความปทุมวัน
ปรึกษาทนายความประเวศ
ปรึกษาทนายความป้อมปราบศัตรูพ่าย
ปรึกษาทนายความพญาไท
ปรึกษาทนายความพระนคร
ปรึกษาทนายความพระโขนง
ปรึกษาทนายความภาษีเจริญ
ปรึกษาทนายความมีนบุรี
ปรึกษาทนายความยานนาวา
ปรึกษาทนายความราชเทวี
ปรึกษาทนายความราษฎร์บูรณะ
ปรึกษาทนายความลาดกระบัง
ปรึกษาทนายความลาดพร้าว
ปรึกษาทนายความวังทองหลาง
ปรึกษาทนายความวัฒนา
ปรึกษาทนายความสวนหลวง
ปรึกษาทนายความสะพานสูง
ปรึกษาทนายความสัมพันธวงศ์
ปรึกษาทนายความสาทร
ปรึกษาทนายความสายไหม
ปรึกษาทนายความหนองจอก
ปรึกษาทนายความหนองแขม
ปรึกษาทนายความหลักสี่
ปรึกษาทนายความห้วยขวาง
ปรึกษาทนายความเมืองนครปฐม
ปรึกษาทนายความกำแพงแสน
ปรึกษาทนายความดอนตูม
ปรึกษาทนายความนครชัยศรี
ปรึกษาทนายความบางเลน
ปรึกษาทนายความพุทธมณฑล
ปรึกษาทนายความสามพราน
ปรึกษาทนายความเมืองนนทบุรี
ปรึกษาทนายความบางกรวย
ปรึกษาทนายความบางบัวทอง
ปรึกษาทนายความบางใหญ่
ปรึกษาทนายความปากเกร็ด
ปรึกษาทนายความไทรน้อย
ปรึกษาทนายความเมืองปทุมธานี
ปรึกษาทนายความคลองหลวง
ปรึกษาทนายความธัญบุรี
ปรึกษาทนายความลาดหลุมแก้ว
ปรึกษาทนายความลำลูกกา
ปรึกษาทนายความสามโคก
ปรึกษาทนายความหนองเสือ
ปรึกษาทนายความเมืองสมุทรปราการ
ปรึกษาทนายความบางพลี
ปรึกษาทนายความบางเสาธง
ปรึกษาทนายความพระประแดง
ปรึกษาทนายความพระสมุทรเจดีย์
ปรึกษาทนายความเมืองระยอง
ปรึกษาทนายความนิคมพัฒนา
ปรึกษาทนายความเขาชะเมา
ปรึกษาทนายความบ้านฉาง
ปรึกษาทนายความปลวกแดง
ปรึกษาทนายความวังจันทร์
ปรึกษาทนายความแกลง
ปรึกษาทนายความเมืองชลบุรี
ปรึกษาทนายความเกาะจันทร์
ปรึกษาทนายความบางละมุง
ปรึกษาทนายความบ่อทอง
ปรึกษาทนายความบ้านบึง
ปรึกษาทนายความพนัสนิคม
ปรึกษาทนายความพานทอง
ปรึกษาทนายความศรีราชา
ปรึกษาทนายความหนองใหญ่
ปรึกษาทนายความเกาะสีชัง
ปรึกษาทนายความเมืองสมุทรสาคร
ปรึกษาทนายความกระทุ่มแบน
ปรึกษาทนายความบ้านแพ้ว
ปรึกษาทนายความมหาชัย
ปรึกษาทนายความเมืองสมุทร
ปรึกษาทนายความอัมพวา
ปรึกษาทนายความบางคนที
ปรึกษาทนายความเมืองราชบุรี
ปรึกษาทนายความบ้านคา
ปรึกษาทนายความจอมบึง
ปรึกษาทนายความดำเนินสะดวก
ปรึกษาทนายความบางแพ
ปรึกษาทนายความบ้านโป่ง
ปรึกษาทนายความปากท่อ
ปรึกษาทนายความวัดเพลง
ปรึกษาทนายความสวนผึ้ง
ปรึกษาทนายความโพธาราม
ปรึกษาทนายความเมืองฉะเชิงเทรา
ปรึกษาทนายความคลองเขื่อน
ปรึกษาทนายความท่าตะเกียบ
ปรึกษาทนายความบางคล้า
ปรึกษาทนายความบางน้ำเปรี้ยว
ปรึกษาทนายความบางปะกง
ปรึกษาทนายความบ้านโพธิ์
ปรึกษาทนายความพนมสารคาม
ปรึกษาทนายความราชสาส์น
ปรึกษาทนายความสนามชัยเขต
ปรึกษาทนายความแปลงยาว
ปรึกษาทนายความเมืองนครนายก
ปรึกษาทนายความปากพลี
ปรึกษาทนายความบ้านนา
ปรึกษาทนายความองครักษ์

ความคิดเห็น

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน