ทำความรู้จักโครงสร้างภายนอกบ้าน

lookmoo1981 profile image lookmoo1981
ช่างโครงหลังคาเมทัลชีท ประตูรั้วเมทัลชีท ติดตั้งรั้วเมทัลชีท ทําโครงหลังคา ทําดาดฟ้าโครงเหล็ก หลังคาโครงเหล็ก รั้วเมทัลชีทลายไม้  โดยทีมงาน มืออาชีพ กันเอง ราคาถูก
รับทำหลังคาเมทัลชีทราคาถูก
ช่างโรงงานหลังคาเหล็ก

               ติดต่อสอบถามข้อมูล

ทำความรู้จักโครงสร้างภายนอกบ้าน
การต่อเติมพื้นที่ด้านนอกบ้านส่วนใหญ่แล้ว สิ่งที่เราควรคำนึงถึงก็คือโครงสร้างพื้นและเสาเข็มค่ะ โดยปกติแล้วบ้านจัดสรรมักจะทำการเทพื้นบริเวณที่จอดรถและลานซักล้างด้านหลังบ้านมาให้ ส่วนใหญ่เป็นการเทคอนกรีตเสริมเหล็กแบบบนดิน (Slab On Ground) หรือ บนคาน (Slab on Beam) ที่ลงเสาเข็มมาให้ด้วย ซึ่งแต่ละแบบก็จะมีข้อดี–ข้อเสียแตกต่างกันไป

พื้นคอนกรีตวางบนดิน (Slab On Ground)
Slab On Ground เป็นพื้นคอนกรีตหล่อบนพื้นดินหรือทรายบดอัด ไม่มีคานรองรับ มักใช้สำหรับพื้นชั้นล่าง ส่วนใหญ่มักใช้ทำพื้นของที่จอดรถ การถ่ายน้ำหนักของพื้นประเภทนี้จะถ่ายลงสู่พื้นดินโดยตรงโดยกระกระจายแรง ดังนั้นการบดอัดดินหรือทรายให้แน่นเป็นสิ่งสำคัญมาก หากไม่ทำให้ดินแน่นก่อนคอนกรีตอาจแตกจากการทรุดตัวได้ พื้นคอนกรีตวางบนดินนี้ ต้องอยู่อย่างอิสระจากโครงสร้างส่วนอื่น ๆ เพราะมีอัตราการทรุดตัวตามดินที่สูงค่ะ หากจำเป็นต้องมีส่วนที่ติดกันควรจะแยกรอยต่อ โดยการคั่นด้วยแผ่นโฟม หรือออกแบบลดระดับพื้นบริเวณขอบพื้นโดยรอบ หรือจะวางหินกรวดตกแต่งอย่างที่บ้านจัดสรรนิยมทำให้เพื่อปกปิดรอยต่อก็ได้เช่นกันค่ะ

โดยโครงสร้างส่วนใหญ่ของลานจอดรถนั้นเป็นระบบคอนกรีตเสริมเหล็ก (ค.ส.ล.) เป็นการเพิ่มความสามารถของคอนกรีตให้รับแรงได้มากขึ้นโดยใช้เหล็กเข้ามาช่วยนั่นเองค่ะ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กจะสามารถรับน้ำหนักได้ 200 – 400 กิโลกรัมต่อตารางเมตร สำหรับลานจอดรถขนาดมาตรฐาน 1 คันนั้น จะมีขนาด 2.40 x 5.00 เมตร หรือประมาณ 12 ตารางเมตร รถเก๋ง 1 คัน จะมีน้ำหนักประมาณ 1,000 – 1,500 กิโลกรัม ต่อคัน , รถกระบะ 1 คัน น้ำหนักประมาณ 1,500 – 1,600 กิโลกรัม ต่อคัน ซึ่งเพียงพอต่อการใช้พื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กวางบนดิน

พื้นคอนกรีตวางบนคาน (Slab On Beam)
เป็นพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กที่ถ่ายน้ำหนักลงสู่คานโดยตรง นิยมใช้ในบ้านและอาคารทั่วไป ลักษณะการถ่ายน้ำหนักของพื้นประเภทนี้มี 2 แบบนะคะ คือ

– พื้นทางเดียว (One Way Slab)

– พื้นสองทาง (Two Way Slab)

พื้นคอนกรีตวางบนคานอาจเป็นได้ทั้งพื้นคอนกรีตหล่อในที่หรือพื้นคอนกรีตสำเร็จรูปก็ได้ค่ะ แต่สำหรับพื้นส่วนเปียกอย่างเช่น ห้องน้ำ พื้นระเบียงนอกบ้าน ซึ่งเสี่ยงต่อการรั่วซึม ควรใช้เป็นพื้นคอนกรีตหล่อในที่จะสามารถทนต่อความชื่นได้มากกว่าพื้นสำเร็จรูปค่ะ

โครงสร้างเสาเข็ม ( Pile )
ต่อมาสิ่งที่สำคัญสำหรับการต่อเติมบ้านก็คือเสาเข็ม โดยเสาเข็มเป็นโครงสร้างที่เสริมการรับน้ำหนักและป้องกันการทรุดตัว โดยมีหลักการคือช่วยเพิ่มแรงต้านน้ำหนักของตัวบ้านหรือพื้นที่ส่วนต่อเติม ไม่ให้ทรุดตัวลง ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับรูปแบบและความลึกของเสาเข็มด้วยค่ะ ถ้าเสาเข็มนั้นสั้นไม่ถึงชั้นดินแข็งจะมีเพียงแรงเสียดทานระหว่างพื้นผิวเสาเข็มกับดิน (Skin Friction) แต่ถ้าเสาเข็มนั้นลึกถึงชั้นดินแข็งก็จะมีแรงต้านที่ปลายเสาเข็ม (End Bearing) เพิ่มขึ้นค่ะ และอีกอย่างที่ควรคำนึงถึงนั่นก็คือความแข็งของชั้นดินในแต่ละพื้นที่ ถ้าบ้านใครมีที่ดินอยู่ใกล้กับน้ำ หรือดินพึ่งถมมาไม่นาน(ไม่เกิน 2 ปี) ดินจะไม่แน่นมากทำให้มีโอกาสทรุดตัวมากกว่า จึงจำเป็นต้องใช้เสาเข็มที่ลึกขึ้นค่ะ ดังนั้นเบื้องต้นเราจึงควรรู้ว่าบ้านของเราใช้เสาเข็มอะไร ถ้าเราซื้อบ้านจากโครงการแนะนำว่าให้ถามก่อนซื้อหรือตัดสินใจต่อเติม ถ้าเป็นบ้านที่สร้างเองก็ควรถามวิศวกรหรือผู้ออกแบบเอาไว้ เราจะได้มีข้อมูลสำหรับการต่อเติมในอนาคต

เสาเข็มเดิมของภายในบ้านทั่วไปที่นิยมใช้ แบ่งออกได้ 3 ประเภทใหญ่ๆ ได้ดังนี้

เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง (prestressed concrete pile)

เสาเข็มคอนกรีตอัดแรงเป็นที่นิยมมากที่สุดในอาคารพักอาศัย เป็นเสาคอนกรีตที่ทำจากปูนซีเมนต์ชนิดแข็งตัวเร็วและโครงเหล็กภายในทำจากลวดเหล็กอัดแรงกำลังสูงค่ะ ใช้วิธีการตอกลงไปในดิน ซึ่งเป็นวิธีที่ไม่ยุ่งยากและราคาไม่แพง “แต่เวลาตอกจะเกิดแรงสั่นสะเทือน” แบ่งย่อยออกตามลักษณะรูปทรงหลากหลาย เช่น

เสาเข็มรูปตัวไอ (มักใช้เป็นโครงสร้างรับน้ำหนักตัวบ้าน)
เสาเข็มสี่เหลี่ยมตัน
เสาเข็มหกเหลี่ยมหรือแปดเหลี่ยมชนิดกลวง
เสาเข็มรูปตัวที
เสาเข็มเจาะ (bored pile)

เสาเข็มเจาะนั้นต้องใช้เครื่องมือเจาะลงบนที่ดินบนพื้นที่ใช้งานเลย จากนั้นจึงใส่เหล็กและเทคอนกรีตลงไปเพื่อหล่อเป็นเสาเข็ม จะมีกรรมวิธีก่อสร้างที่ยุ่งยาก และใช้เวลามากกว่า เหมาะกับงานที่ต้องการรับน้ำหนักสูง “แต่จะไม่เกิดแรงสั่นสะเทือนเวลาติดตั้ง” และมีข้อจำกัดเรื่องขนาดกับความลึกน้อยกว่า รับน้ำหนักได้มากกว่า ส่วนราคานั้นจะแพงและมีขั้นตอนการติดตั้งยากกว่า

เสาเข็มเจาะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ

เสาเข็มเจาะขนาดเล็ก( small diameter bored pile ) เส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ในช่วง 35-60 เซนติเมตร ความลึกอยู่ในช่วงประมาณ 18-23 เมตร กรรมวิธีที่ใช้ในการเจาะมักจะเป็นแบบแห้ง ( dry process )โดยใช้เครื่องมือขุดเจาะธรรมดา วิธีการไม่ยุ่งยากซับซ้อน
เสาเข็มเจาะขนาดใหญ่( large diameter bored pile ) เส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 60 เซนติเมตรขึ้นไป ความลึกอยู่ในช่วงประมาณ 25-65 เมตร กรรมวิธีที่ในการเจาะมักจะเป็นระบบเปียก ( wet process ) ซึ่งจะมีความยุ่งยาก และหน้างานเลอะเทอะมากกว่าค่ะ
เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยงอัดแรง (prestressed concrete spun pile)

โดยทั่วไปแล้วจะเรียกกันว่าเสาเข็มสปัน ผลิตโดยการใช้ กรรมวิธีปั่นคอนกรีตในแบบหล่อซึ่งหมุนด้วยความเร็วสูงทำให้เนื้อคอนกรีตมีความหนาแน่นสูงกว่าคอนกรีตที่หล่อโดยวิธีธรรมดา มีลักษณะเป็นเสากลม ตรงกลางกลวง ฝังโครงลวดเหล็กอัดแรง การตอกเสาชนิดนี้สามารถทำได้หลายแบบ ทั้งวิธีการตอกด้วยปั้นจั่นแบบธรรมดาและแบบกด เนื่องจากตรงกลางกลวงช่วยลดแรงสั่นสะเทือนเวลาตอกได้ค่ะ ช่วยให้ไม่สะเทือนกระทบต่อโครงสร้างเดิมเท่าเสาเข็มอัดแรงธรรมดา

หากเป็นการต่อเติมบ้านทั้งส่วนลานจอดรถเองหรือครัวด้านหลังบ้านนั้นแน่นอนว่าการใช้เสาเข็มลึกถึงชั้นดินแข็งจะทำให้โครงสร้างนั้นแข็งแรงกว่า แต่ในทางปฏิบัติจริงๆแล้วการใช้เสาเข็มลึกจะต้องมีพื้นที่และเครื่องมือที่ยุ่งยากมากกว่า เสียค่าใช้จ่ายแพงกว่า จึงต้องพิจารณาตามความเหมาะสมของแต่ละบ้านค่ะ โดยส่วนใหญ่แล้วในพื้นที่กรุงเทพฯ ส่วนต่อเติมมักใช้เข็มความยาวประมาณ 3 – 6 เมตร (แต่ชั้นดินแข็งของกรุงเทพฯจะอยู่ลึกประมาณ 17 – 23 เมตร) อาจจะมีการทรุดตัวได้ในอนาคตแต่ก็จะน้อยกว่าพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กวางบนดินแน่นอนค่ะ

ต่อเติมหน้าบ้านเชียงราย
ต่อเติมหน้าบ้านเชียงใหม่
ต่อเติมหน้าบ้านน่าน
ต่อเติมหน้าบ้านพะเยา
ต่อเติมหน้าบ้านแพร่
ต่อเติมหน้าบ้านแม่ฮ่องสอน
ต่อเติมหน้าบ้านลำปาง
ต่อเติมหน้าบ้านลำพูน
ต่อเติมหน้าบ้านอุตรดิตถ์
ต่อเติมหน้าบ้านกาฬสินธุ์
ต่อเติมหน้าบ้านขอนแก่น
ต่อเติมหน้าบ้านชัยภูมิ
ต่อเติมหน้าบ้านนครพนม
ต่อเติมหน้าบ้านนครราชสีมา
ต่อเติมหน้าบ้านบึงกาฬ
ต่อเติมหน้าบ้านบุรีรัมย์
ต่อเติมหน้าบ้านมหาสารคาม
ต่อเติมหน้าบ้านมุกดาหาร
ต่อเติมหน้าบ้านยโสธร
ต่อเติมหน้าบ้านร้อยเอ็ด
ต่อเติมหน้าบ้านเลย
ต่อเติมหน้าบ้านสกลนคร
ต่อเติมหน้าบ้านสุรินทร์
ต่อเติมหน้าบ้านศรีสะเกษ
ต่อเติมหน้าบ้านหนองคาย
ต่อเติมหน้าบ้านหนองบัวลำภู
ต่อเติมหน้าบ้านอุดรธานี
ต่อเติมหน้าบ้านอุบลราชธานี
ต่อเติมหน้าบ้านอำนาจเจริญ
ต่อเติมหน้าบ้านกำแพงเพชร
ต่อเติมหน้าบ้านชัยนาท
ต่อเติมหน้าบ้านนครนายก
ต่อเติมหน้าบ้านนครปฐม
ต่อเติมหน้าบ้านนครสวรรค์
ต่อเติมหน้าบ้านนนทบุรี
ต่อเติมหน้าบ้านปทุมธานี
ต่อเติมหน้าบ้านพระนครศรีอยุธยา
ต่อเติมหน้าบ้านพิจิตร
ต่อเติมหน้าบ้านพิษณุโลก
ต่อเติมหน้าบ้านเพชรบูรณ์
ต่อเติมหน้าบ้านลพบุรี
ต่อเติมหน้าบ้านสมุทรปราการ
ต่อเติมหน้าบ้านสมุทรสงคราม
ต่อเติมหน้าบ้านสมุทรสาคร
ต่อเติมหน้าบ้านสิงห์บุรี
ต่อเติมหน้าบ้านสุโขทัย
ต่อเติมหน้าบ้านสุพรรณบุรี
ต่อเติมหน้าบ้านสระบุรี
ต่อเติมหน้าบ้านอ่างทอง
ต่อเติมหน้าบ้านอุทัยธานี
ต่อเติมหน้าบ้านจันทบุรี
ต่อเติมหน้าบ้านฉะเชิงเทรา
ต่อเติมหน้าบ้านชลบุรี
ต่อเติมหน้าบ้านตราด
ต่อเติมหน้าบ้านปราจีนบุรี
ต่อเติมหน้าบ้านระยอง
ต่อเติมหน้าบ้านสระแก้ว
ต่อเติมหน้าบ้านกาญจนบุรี
ต่อเติมหน้าบ้านตาก
ต่อเติมหน้าบ้านประจวบคีรีขันธ์
ต่อเติมหน้าบ้านเพชรบุรี
ต่อเติมหน้าบ้านราชบุรี
ต่อเติมหน้าบ้านกระบี่
ต่อเติมหน้าบ้านชุมพร
ต่อเติมหน้าบ้านตรัง
ต่อเติมหน้าบ้านนครศรีธรรมราช
ต่อเติมหน้าบ้านนราธิวาส
ต่อเติมหน้าบ้านปัตตานี
ต่อเติมหน้าบ้านพังงา
ต่อเติมหน้าบ้านพัทลุง
ต่อเติมหน้าบ้านภูเก็ต
ต่อเติมหน้าบ้านระนอง
ต่อเติมหน้าบ้านสตูล
ต่อเติมหน้าบ้านสงขลา
ต่อเติมหน้าบ้านสุราษฎร์ธานี
ต่อเติมหน้าบ้านยะลา
ต่อเติมหน้าบ้านกรุงเทพมหานคร

ความคิดเห็น

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน