เน้นๆ ข้อสอบ แนวข้อสอบ เจ้าพนักงานสรรพากรปฏิบัติงาน เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน กรมสรรพากร ล่าสุด

thaionline1 profile image thaionline1

เน้นๆ ติวเข้ม ข้อสอบ คู่มือสอบ แนวข้อสอบ เจ้าพนักงานสรรพากรปฏิบัติงาน เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน กรมสรรพากร ทุกตำแหน่ง งานราชการ ใหม่ล่าสุด

ข้อสอบ คู่มือสอบ แนวข้อสอบ เจ้าพนักงานสรรพากรปฏิบัติงาน เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน กรมสรรพากร ทุกตำแหน่ง งานราชการ ข่าวล่าสุด 
http://www.thaionline1.com/read.php?tid=13435 

ถาม – ตอบ 
ภาษีอากร‏ 
***************** 

1. สิทธิของผู้เสียภาษี ได้แก่ 
ตอบ 1 การผ่อนชำระภาษี 
2 การยื่นอุทธรณ์คัดค้านการประเมินภาษี 
3 ขอทุเลาการชำระภาษีอากรโดยจัดให้มีหลักประกันการชำระหนี้ภาษีอากรค้าง 
4 ของดหรือลดเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีอากร 
5 ขอคัดเอกสารหรือขอสำเนาเอกสาร 
2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมีหน้าที่ตามกฎหมายโดยสรุปดังนี้ 
ตอบ 1. ยื่นแบบฯ และเสียภาษีอากรที่เกี่ยวข้องให้ถูกต้องและครบถ้วน 
2. ขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร และจดทะเบียนภาษีตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี และหากมีการเปลี่ยนแปลงในสาระสำคัญ จะต้องแจ้งแก้ไขเปลี่ยนแปลงให้ถูกต้อง 
3. จัดทำเอกสารหลักฐาน และบัญชีใดๆ ตามที่กฎหมายกำหนด ได้แก่ ใบรับ ใบส่งของ ใบกำกับภาษี บัญชีรายได้ รายจ่าย งบการเงิน บัญชีพิเศษ ฯลฯ แล้วแต่กรณี 
4. ให้ความร่วมมือกับเจ้าพนักงาน เมื่อได้รับหนังสือเชิญพบ หรือหนังสือขอให้ยื่นเอกสาร หรือหลักฐานใดๆ เพื่อประกอบในการเสียภาษีอากร ตลอดจนปฏิบัติตามหมายเรียกของเจ้าพนักงาน 
5. ชำระภาษีตามการประเมินของเจ้าพนักงานประเมิน ภายในกำหนดเวลา หากมิได้ชำระภาษีหรือชำระไว้ไม่ครบถ้วน เจ้าพนักงานมีสิทธิยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษีอากร เพื่อนำไปชำระหนี้ภาษีได้โดยไม่ต้องฟ้องศาล 
6. การไม่ปฏิบัติตามกฎหมายภาษีอากร นอกจากต้องรับผิดทางแพ่งแล้ว ยังต้องรับผิดทางอาญาอีกด้วย 
3. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คือ 
ตอบ ภาษีที่จัดเก็บจากบุคคลทั่วไป หรือจากหน่วยภาษีที่มีลักษณะพิเศษ ตามที่กฎหมายกำหนดและมีรายได้เกิดขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยปกติจัดเก็บเป็นรายปี รายได้ที่เกิดขึ้นในปีใดๆ ผู้มีรายได้มีหน้าที่ต้องนำไปแสดงรายการตนเองตามแบบแสดงรายการภาษีที่กำหนดภายในเดือนมกราคมถึงมีนาคมของปีถัดไป สำหรับผู้มีเงินได้บางกรณีกฎหมายยังกำหนดให้ยื่นแบบฯ เสียภาษีตอนครึ่งปี สำหรับรายได้ ที่เกิดขึ้นจริงในช่วงครึ่งปีแรก เพื่อเป็นการบรรเทาภาระภาษีที่ต้องชำระและเงินได้บางกรณี กฎหมายกำหนดให้ ผู้จ่ายทำหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายจากเงินได้ที่จ่ายบางส่วน เพื่อให้มีการทยอยชำระภาษีขณะที่มีเงินได้เกิดขึ้นอีกด้วย 
4. ใครมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 
ตอบ ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ได้แก่ ผู้ที่มีเงินได้เกิดขึ้นระหว่างปีที่ผ่านมาโดยมีสถานะ อย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี้ 
1) บุคคลธรรมดา 
2) ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล 
3) ผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี 
4) กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง 
5) วิสาหกิจชุมชน ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน เฉพาะที่เป็นห้างหุ้นส่วนสามัญ 
หรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล 
5. เมื่อมีเงินได้เกิดขึ้นแล้ว ผู้มีหน้าที่เสียภาษีจะต้องทำอะไรบ้าง 
ตอบ 1. ขอมีเลข และบัตรประจำตัวผู้เสียภาษี ภายใน 60 วัน นับแต่วันที่มีเงินได้เกิดขึ้น กรณีเป็นผู้มีเงินได้ ที่ไม่มีเลขประจำตัวประชาชน ได้แก่ เป็นคนต่างด้าว หรือกองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง 
เว้นแต่ ผู้มีเงินได้ ที่มีเลขประจำตัวประชาชน สามารถใช้ เลขประจำตัวประชาชน แทนเลขประจำตัว ผู้เสียภาษีอากรได้ โดยไม่ต้องขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรอีก 
2. ผู้มีเงินได้ที่มีภูมิลำเนา อยู่ในกรุงเทพมหานคร อาจยื่นคำร้อง ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่ กรุงเทพมหานคร ทั้ง 30 แห่ง หรือ สำนักสรรพากรพื้นที่ สาขา(อำเภอ)ทุกแห่งสำหรับในต่างจังหวัด ยื่นคำขอได้ที่สำนักงานสรรพากร พื้นที่ (จังหวัด) และสำนักงานสรรพากร พื้นที่สาขา (อำเภอ) ทุกแห่ง แล้วแต่กรณี 
3. ยื่นแบบแสดงรายการ ปกติปีละ 1 ครั้ง เงินได้ ของปีใด ก็ยื่นแบบฯ ภายใน วันที่ 31 มีนาคม ของปีถัดไป เว้นแต่ เงินได้ บางลักษณะ เช่น การให้เช่า ทรัพย์สิน เงินได้จาก วิชาชีพอิสระ เงินได้จาก การรับเหมา เงินได ้จากธุรกิจ การพาณิชย์ เป็นต้น จะต้อง ยื่นแบบฯ ตอนกลางปี สำหรับเงินได้ ที่เกิดขึ้นใน 6 เดือนแรก ภายใน เดือนกันยายน ของทุกปี 
6. เงินได้อะไรบ้างที่ต้องเสียภาษี 
ตอบ ตามกฎหมาย เงินได้ที่ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เรียกว่า "เงินได้พึงประเมิน" หมายถึง เงินได้ของบุคคลใดๆ หรือหน่วยภาษีใดข้างต้นที่เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม ของปีใดๆ หรือเงินได้ ที่เกิดขึ้นในปีภาษี ได้แก่ 
1. เงิน 
2. ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน ที่ได้รับจริง 
3. ประโยชน์ซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน 
4. เงินค่าภาษีอากรที่ผู้จ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทนให้ 
5. เครดิตภาษีตามที่กฎหมายกำหนด 
7. เงินได้อันเป็นเหตุให้ต้องนำไปรวมคำนวณภาษีมาจากแหล่งใดบ้าง 
ตอบ แหล่งที่มาของเงินได้ ซึ่งแบ่งเป็นเงินได้จากแหล่งในประเทศและนอกประเทศ เงินได้จากแหล่งต่างๆ นี้จะต้องนำไปรวมคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหรือไม่ ให้พิจารณา ดังนี้ 
1. เงินได้เกิดจากแหล่งในประเทศ หมายถึง เงินได้ที่เกิดขึ้น หรือเป็นผลสืบเนื่องจากมี 
1.1 หน้าที่งานที่ทำในประเทศไทย หรือ 
1.2 กิจการที่ทำในประเทศไทย หรือ 
1.3 กิจการของนายจ้างในประเทศไทย หรือ 
1.4 ทรัพย์สินที่อยู่ในประเทศไทย (ดอกเบี้ย เงินปันผล ค่าเช่า ฯลฯ 
* เงื่อนไข ผู้มีเงินได้เกิดจากแหล่งในประเทศนี้มีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้ตามที่ประมวลรัษฏากร กำหนดไว้เสมอเว้นแต่จะมีข้อยกเว้นตามกฎหมาย ทั้งนี้ ไม่ว่าเงินได้พึงประเมินในปีภาษีที่ล่วงมาแล้วนั้น จะจ่ายในหรือนอกประเทศ และไม่ว่าผู้มีเงินได้นั้นจะเป็นผู้อยู่ในประเทศไทยหรือไม่ก็ตาม) 
2. เงินได้เกิดจากแหล่งนอกประเทศไทย หมายถึง เงินได้ที่เกิดขึ้นหรือเป็นผลสืบเนื่องจากมี 
2.1 หน้าที่งานที่ทำในต่างประเทศ หรือ 
2.2 กิจการที่ทำในต่างประเทศ หรือ 
2.3 ทรัพย์สินที่อยู่ในต่างประเทศ 
* เงื่อนไข ผู้มีเงินได้เกิดจากแหล่งนอกประเทศในปีภาษีที่ล่วงมาแล้วจะต้องเสียภาษีเงินได้ ในประเทศไทยก็ต่อเมื่อเข้าองค์ประกอบทั้ง 2 ประการ ดังต่อไปนี้ 
(1) ผู้มีเงินได้เป็น ผู้อยู่ในประเทศไทย ในปีภาษีนั้นชั่วระยะเวลาหนึ่งหรือหลายระยะเวลา รวมทั้งหมดถึง 180 วัน และ 
(2) ผู้มีเงินได้ นำเงินได้นั้นเข้ามาในประเทศไทยในปีภาษีนั้นด้วย 
ในการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาบางกรณี ถ้าเกี่ยวข้องกับบุคคลของบางประเทศที่มี อนุสัญญาภาษีซ้อน* หรือความตกลงเพื่อป้องกันการเก็บภาษีซ้ำซ้อนกับประเทศไทยจำเป็นต้องพิจารณาถึงความ ตกลงหรืออนุสัญญาว่าด้วยการเว้นการเก็บภาษีซ้อนระหว่างประเทศไทยได้ทำความตกลงไว้ด้วย 
8. การชำระภาษีด้วยวิธีใดบ้าง 
ตอบ 1. ชำระด้วยเงินสด 
2. ชำระด้วยบัตรอิเล็กทรอนิกส์ ได้เฉพาะที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาในเขตกรุงเทพมหานคร (โดยผู้ถือบัตรอิเล็กทรอนิกส์เป็นผู้ชำระค่าธรรมเนียม) 
2.1 บัตรเครดิต ธนาคารกรุงไทย (KTC) ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB) ธนาคารกสิกรไทย (KBANK) 
2.2 บัตร TAX SMART CARD ของธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารกรุงไทย 
3. ชำระด้วยเช็คหรือดราฟต์ 
3.1 เช็คที่ชำระต้องเป็นเช็ค 4 ประเภท ได้แก่ 
(1) เช็คธนาคารแห่งประเทศไทย (เช็คประเภท ก.) 
(2) เช็คที่มีธนาคารค้ำประกัน (เช็คประเภท ข.) 
(3) เช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย (เช็คประเภท ค.) 
(4) เช็คที่ผู้มีหน้าที่ชำระเงินภาษีอากรเป็นผู้เซ็นสั่งจ่าย และใช้ชำระโดยตรง (เช็คประเภท ง.) 
การใช้เช็คประเภท ง. ให้ปฏิบัติดังนี้ 
(ก) กรณีใช้ชำระภาษีในกรุงเทพมหานคร และในจังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดสมุทรปราการจังหวัดสมุทรสาคร (เฉพาะอำเภอเมืองสมุทรสาคร และอำเภอกระทุ่มแบน) จังหวัดนครปฐม (เฉพาะอำเภอสามพราน) และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (เฉพาะอำเภอบางปะอิน) ต้องเป็นเช็คของธนาคาร หรือสาขาธนาคาร ซึ่งตั้งอยู่ใน ท้องที่ใดท้องที่หนึ่งข้างต้นเท่านั้น 
(ข) กรณีใช้ชำระภาษีในจังหวัด (อำเภอ) อื่นนอกจาก (ก) ให้ใช้ได้เฉพาะกรณีที่เปิดบัญชีเงินฝากไว้กับธนาคารหรือ สาขาธนาคารซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดท้องที่อันเป็นภูมิลำเนาเท่านั้น 
3.2 การสั่งจ่ายเช็คหรือดราฟต์ ให้ขีดคร่อม และสั่งจ่ายดังนี้ 
(1) ในกรุงเทพมหานคร ให้สั่งจ่าย “กรมสรรพากร” กับขีดฆ่าคำว่า “ผู้ถือ” ออก 
(2) ในต่างจังหวัด 
(ก) กรณียื่นแบบ ภ.ง.ด.90 หรือ ภ.ง.ด.91 และชำระภาษีที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา หรือธนาคารด้วยเช็คประเภท ง. ให้สั่งจ่ายแก่ “กรมสรรพากร” ถ้าเป็นเช็คประเภท ก. ข. ค. ให้ติดต่อสำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา 
(ข) กรณียื่นแบบ ภ.ง.ด.90 หรือ ภ.ง.ด.91 และชำระภาษีที่ธนาคาร 
- กรณียื่นแบบฯ ที่ ธนาคารกรุงไทย ให้สั่งจ่าย “กรมสรรพากร” และขีดฆ่าคำว่า “ผู้ถือ” ออก 
- กรณียื่นแบบฯ ที่ ธนาคารอื่น ๆ นอกเหนือ จาก ธนาคารกรุงไทย ให้สั่งจ่าย 
“สรรพากรอำเภอ..... (ระบุชื่ออำเภอ)” และขีดฆ่าคำว่า “ผู้ถือ” ออก 
4. ชำระด้วยธนาณัติ 
9. ภาษีเงินได้นิติบุคคล คือ 
ตอบ ภาษีอากรประเภทหนึ่งที่บัญญัติไว้ ในประมวลรัษฎากร จัดเก็บจากเงินได้ของบริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล 

แนวข้อสอบ กรมสรรพกร งานราชการ ทุกตำแหน่ง ใหม่ล่าสุด 
http://www.thaionline1.com/read.php?tid=13435 
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ 
- ความรู้เกี่ยวกับกรมสรรพกร 
- แนวข้อสอบ กฎหมาย ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ.2547 
- แนวข้อสอบเกี่ยวกับภาษีอากร 
- ความรู้เกี่ยวกับภาษีอากร 
เลือกตามตำแหน่งที่สอบ 
- เจ้าพนักงานภาษีสรรพากร 
- พนักงานภาษีสรรพากร 
- พนักงานสรรพากร 
- เจ้าพนักงานสรรพากรปฏิบัติงาน 
- เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน 
- เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร๋์ปฏิบัติงาน 
อื่นๆ 

จำหน่ายเอกสาร แนวข้อสอบ เจ้าพนักงานสรรพากรปฏิบัติงาน กรมสรรพากร งานราชการ ใหม่ล่าสุด 
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ 
- ความรู้เกี่ยวกับกรมสรรพกร 
- แนวข้อสอบเกี่ยวกับภาษีอากรและกรมสรรพกร 
- ความรู้เกี่ยวกับภาษีอากร 
- แนวข้อสอบเก่า กรมสรรพากร 
- การใช้อังกฤษที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 
- ถาม- ตอบ ความรู้เกี่ยวกับภาษีอากร 
- ความรู้เกี่ยวกับภาษีอากร 
- แแนวข้อสอบเกี่ยวกับภาษีอากร ชุดที่ 1 
- แนวข้อสอบเกี่ยวกับภาษีอากร ชุดที่ 2 
- แนวข้อสอบภาษาต่างประเทศ _ภาษาอังกฤษ 
- สรุปสาระสำคัญของประชาคมอาเซียน 
- แนวข้อสอบ ข่าว และเหตุการณ์ปัจจุบัน การเมืองเศรษฐกิจและ สังคม 

จำหน่ายเอกสาร แนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน กรมสรรพากร งานราชการ ใหม่ล่าสุด 
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ 
- ความรู้เกี่ยวกับกรมสรรพกร 
- แนวข้อสอบเกี่ยวกับภาษีอากรและกรมสรรพกร 
- ความรู้เกี่ยวกับภาษีอากร 
- แนวข้อสอบเก่า กรมสรรพากร 
- การใช้อังกฤษที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 
- ถาม- ตอบ ความรู้เกี่ยวกับภาษีอากร 
- ความรู้เกี่ยวกับภาษีอากร 
- แนวข้อสอบพนักงานธุรการ 
- ความรู้เกี่ยวกับระเบียบงานสารบรรณ 
- แนวข้อสอบภาษาต่างประเทศ _ภาษาอังกฤษ 
- สรุปสาระสำคัญของประชาคมอาเซียน 
- แนวข้อสอบ ข่าว และเหตุการณ์ปัจจุบัน การเมืองเศรษฐกิจและ สังคม 

ส่งเป็นไฟล์ PDF ทาง E-MAIL ราคา 399 บาท 
*ส่งด่วนภายใน 3 ชม.* 
*ส่งช้าไม่เกิน 24:00 น. วันที่โอนเงิน*( ควรดูที่ JUNK MAIL ) 
สั่งซื้อมาที่ 083-067-4168 หรือ ส่ง SMS / LINE : busthai01 
โอนเงินแล้วแจ้งที่ lek.pisi@hotmail.com **แจ้งรายละเอียดให้ชัดเจน** 
1. ธ. กรุงเทพ ออมทรัพย์ สาขา เซ็นทรัลพระราม 3 เลขที่บัญชี 048-0-17796-3 ชื่อบัญชี Sumalee Thongyot 
2. ธ. กรุงไทย ออมทรัพย์ สาขา บิ๊กซีสะพานควาย เลขที่บัญชี 980-6-40570-6 ชื่อบัญชี Sumalee Thongyot 
3. ธ. กสิกรไทย ออมทรัพย์ สาขา เซ็นทรัลพระราม 3 เลขที่บัญชี 748-2-66186-0 ชื่อบัญชี Pisitchai Kimchai 
4. ธ.ไทยพาณิชย์ ออมทรัพย์ สาขา บิ๊กซีรามอินทรา เลขที่บัญชี 402-398830-4 ชื่อบัญชี Pisitchai & Sumalee 
5. ธ. กรุงศรีอยุธยา ออมทรัพย์ สาขา อุรุพงษ์ เลขที่บัญชี 130-1-28490-7 ชื่อบัญชี Pisitchai Kimchai 
** เปิดบริการทุกวัน เวลา 8.00 - 24.00 น. **
ความคิดเห็น

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน

7 ปีที่ผ่านมา
7 ปีที่ผ่านมา
7 ปีที่ผ่านมา
7 ปีที่ผ่านมา
8 ปีที่ผ่านมา