**จำหน่ายเอกสาร แนวข้อสอบ สสจ. ทุกตำแหน่ง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด**

Lomaza profile image Lomaza
สำนัก งานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา รับสมัครพนักงานราชการ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุข,นักวิชาการคอมพิวเตอร์,นักวิชาการเงินและบัญชี,นัก จัดการงานทั่วไป,นักวิชาการพัสดุ,นักวิเคราะห์นโยบายและแผน,เจ้าพนักงาน ธุรการ ตั้งแต่วันที่ 29 มิถุนายน - 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2558




รายละเอียเพิ่มเติม http://job.ocsc.go.th/images/Job/635709198759846405.pdf


จำหน่ายเอกสาร แนวข้อสอบ สสจ. ทุกตำแหน่ง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ข่าวล่าสุด

รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ

- แนวข้อสอบวิชาความรู้ทั่วไป

- แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย

- แนวข้อสอบเกี่ยวกับกระทรวงสาธารณสุข

- แนวข้อสอบสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเหตุการณ์ปัจจุบัน

-แนวข้อสอบ กฎหมาย ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ.2547

- เทคนิคการสอบสัมภาษณ์
แนวข้อสอบความเหมาะสมกับตำแหน่ง (เลือกตามตำแหน่งที่สอบ)
- นักทรัพยากรบุคคล
- นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
- นิติกร
- นักจัดการงานทั่วไป
- พนัเจ้าหน้าที่ธุรการ
- นักวิชาการการเงินและบัญชี
- นักวิชาการคอมพิวเตอร์
- นักวิชาการสาธารณะสุข
- นักพัสดุ


จำหน่ายไฟล์เอกสารแนวข้อสอบเอกสารติวข้อสอบ สรุปเนื้อหา และแนวข้อสอบพร้อมเฉลย
ใหม่ล่าสุดที่กำลังเปิดสอบ สำหรับคนที่ไม่มีเวลาไปติวและเวลาไปหาซื้อหนังสือ
***เป็นไฟล์เอกสารส่งทาง e-mail ****สามารถนำไปปริ้นเพื่ออ่านได้เลยในราคาเพียง
*****ชุดละ399 บาท******
ส่งทันทีรวดเร็ว ได้อ่านสอบเร็วไม่ต้องรอ รวบรวมจากหนังสือมากกว่าสิบเล่ม
และรุ่นพี่ที่สอบได้จากสนามสอบจริง
รายละเอียดภายในไฟล์ประกอบด้วย แนวข้อสอบทุกวิชาที่ใช้สอบของแต่ละหน่วยงาน
รวมแนวข้อสอบเก่าเด็ดๆๆ และข้อสอบที่ออกบ่อยมาก พร้อมเฉลย


ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 081-0550-550 (whatsapp,LINE)
สามารถนำไปปริ้นเพื่ออ่านได้เลย ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ 399 บาท
ส่งเป็นชุดหนังสือ EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3 ราคา 999 บาท
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 871-2-093-677 ธ.กสิกรไทย
สาขาเซนทรัลพลาซ่า ขอนแก่น ชื่อบัญชี ณฤทัย นาเจริญ ออมทรัพย์
โอนเงินแล้วแจ้งที่ sheetthai1@hotmail.com

แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดนครพนม
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสกลนคร
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดมุกดาหาร
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดอุบลราชธานี
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดหนองคาย
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดอำนาจเจริญ
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดหนองบัวลำภู
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดศรีสะเกษ
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดอุดรธานี
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดยโสธร
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดเลย
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดกาฬสินธุ์
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดร้อยเอ็ด
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดมหาสารคาม
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสุรินทร์
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดขอนแก่น
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดเพชรบูรณ์
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดชัยภูมิ
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดนครราชสีมา
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัด-เชียงราย
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดแม่ฮ่องสอน
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดพะเยา
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดลำพูน
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดน่าน
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดลำปาง
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดแพร่
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดอุตรดิตถ์
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตาก
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดพิษณุโลก
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดกำแพงเพชร
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดพิจิตร
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดนครสวรรค์
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดอุทัยธานี
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดชัยนาท
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดลพบุรี
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสิงห์บุรี
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดปราจีนบุรี
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสระบุรี
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดนครนายก
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดอ่างทอง
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดราชบุรี
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสุพรรณบุรี
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดอยุธยา
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสมุทรสงคราม
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสมุทรสาคร
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสระแก้ว
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดจันทบุรี
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดระยอง
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดชลบุรี
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดฉะเชิงเทรา
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดเพชรบุรี
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดชุมพร
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดระนอง
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสุราษฎร์ธานี
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดนครศรีธรรมราช
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดพังงา
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดกระบี่
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตรัง
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดพัทลุง
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดภูเก็ต
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสงขลา

ตัวอย่างแนวข้อสอบบางส่วน

1. โรคติดต่ออุบัติใหม่ (Emerging infectious diseases) หมายถึง
ตอบ โรคติดต่อที่มีอุบัติการณ์ในมนุษย์เพิ่มสูงขึ้นมากในช่วงที่เพิ่งผ่านมา หรือมีแนวโน้มความเสี่ยงที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตอันใกล้

2. โรคติดต่ออุบัติใหม่ ได้แก่โรคติดต่อชนิดใด
ตอบ โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อใหม่ (new infectious diseases) โรคติดต่อที่พบในพื้นที่ใหม่ (new geographical areas) และโรคติดต่ออุบัติซ้ำ (Re-emerging infectious diseases) คือ โรคติดต่อที่เคยแพร่ระบาดในอดีตและสงบไปนานหลายปีแล้ว แต่กลับมาระบาดขึ้นอีก โรคจากเชื้อดื้อยา (Drug resistant pathogens) และโรคจากการก่อการร้ายด้วยเชื้อโรค(Bioterrorism)

3. โรคติดต่ออุบัติใหม่จากสัตว์ (Emerging zoonotic diseases) หมายถึง
ตอบ โรคติดต่อจากสัตว์ที่พบใหม่หรือเกิดจากเชื้อที่กลายพันธุ์ไป หรือโรคที่มีอยู่เดิมแล้ว แต่พบแนวโน้มของอุบัติการณ์ของโรค พื้นที่ โฮสต์ หรือพาหะนำโรคเพิ่มมากขึ้น

4. ปัจจัยสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคติดต่ออุบัติใหม่ มีอะไรบ้าง
ตอบ
1. ปัจจัยด้านชีวภาพ (Biological factors) เช่น เชื้อโรค มนุษย์ โครงสร้าง ประชากร พฤติกรรมของมนุษย์ (Demographic factors) ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ของมนุษย์และสัตว์ (Human and animal interface)
2. ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental factors) เช่น การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน์จากการกระทำของมนุษย์ (Man-made ecological changes) ภาวะโลกร้อน (Global warming)
3. ปัจจัยด้านสังคมและเศรษฐกิจ (Socioeconomic factors) เช่น การเดินทางและการค้าระหว่างประเทศ (International travel and trade factors) โครงสร้างสาธารณสุข (Public health infrastructure factors)

5. การที่สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปจากเดิม ส่งผลให้เกิดโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ต่าง ๆ เป็นผลเนื่องมาจากสาเหตุใด
ตอบ
- การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน์จากการกระทำของมนุษย์ (Man-made ecological changes) การบุกรุกและทำลายป่าในประเทศที่กำลังพัฒนาเป็นเรื่องที่พบเห็นได้บ่อย ทำให้เกิดความไม่สมดุลที่เอื้อต่อการเกิดและแพร่เชื้อโรค โดยมนุษย์อาจติดเชื้อจากสัตว์ป่าโดยตรง แล้วนำกลับไปแพร่ในชุมชน นอกจากนั้นยังอาจเกิดการแพร่กระจายของแมลงและสัตว์นำโรค เช่น การทำลายป่าเพื่อสร้างสนามบินนานาชาติในมาเลเซีย ทำให้ค้างคาวต้องอพยพเข้าไปในพื้นที่เกษตรกรรมเปิดโอกาสให้เชื้อไวรัสนิปาห์ แพร่ไปยังสุกรอยู่ระยะหนึ่ง และในเวลาต่อมาเชื้อก็สามารถแพร่ติดต่อมายังคนได้ในที่สุด
- อุตสาหกรรมการผลิตอาหารโดยการเลี้ยงสัตว์ที่ขาดการจัดการที่ดี มีส่วนทำให้เกิดเชื้อโรคชนิดใหม่เช่น กรณีโรควัวบ้า (Mad Cow disease) หรือโรคสมองฝ่อในวัว (Bovine SpongiformEncephalopathy : BSE) เกิดจากการใช้เศษเนื้อเศษกระดูกของแกะ (ซึ่งติดเชื้อสมองฝ่อScrapie) มาเลี้ยงวัว เพื่อเพิ่มปริมาณการผลิตน้ำนม ทำให้เกิดโรคสมองฝ่อแบบใหม่ (Variant Creutzfeldt-Jacob Disease : vCJD) ในมนุษย์ ซึ่งมีสาเหตุมาจากพริออน (prion) หรือกรณีการเลี้ยงสัตว์ปีกอย่างหนาแน่น เพื่อการส่งออกในหลายประเทศของเอเชีย โดยขาดการจัดการป้องกันการแพร่เชื้อเข้ามาสู่ฟาร์ม (Biosecurity) ซึ่งเป็นต้นเหตุหนึ่งของการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนก
- ภาวะโลกร้อน (Global warming) ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ทั่วโลกเกิดความกังวลต่อปัญหาภาวะโลกร้อนเพิ่มขึ้น เนื่องจากพบว่าในศตวรรษที่ 21 นี้ อุณหภูมิของโลกได้เพิ่มสูงขึ้นอีก 1 - 4 องศาเซลเซียส ทำให้แมลงพาหะนำโรคต่างๆ สามารถแพร่ขยายพันธุ์ได้มากขึ้น และขยายพื้นที่อยู่อาศัยออกไปข้ามประเทศหรือทวีปได้ขณะเดียวกัน จุลชีพก่อโรคต่าง ๆ ที่ต้องอาศัยอยู่กับแมลงเหล่านี้ ก็พัฒนาเติบโตได้รวดเร็วขึ้นอีกด้วย
6. ปัจจัยด้านสังคมและเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคติดต่ออุบัติใหม่ มีอะไรบ้าง
ตอบ
- ปัญหาความยากจน โดยเฉพาะในประเทศที่ด้อยพัฒนาหรือประเทศกำลังพัฒนานั้น ได้นำมาซึ่งสุขภาพไม่ดี ประชากรยากจนในชนบทและสลัมในเขตเมือง รวมทั้งแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมายซึ่งอาจทำให้โรคติดต่อที่เคยควบคุมได้แล้ว กลับเข้ามาระบาดซ้ำในประเทศได้อีก และ ประชากรกลุ่มนี้จะเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการติดโรคต่าง ๆ ได้มากกว่าประชากรกลุ่มอื่น ๆ เนื่องมาจาก ความด้อยโอกาสในการเข้าถึงข่าวสาร ระบบบริการสาธารณูปโภคพื้นฐาน และระบบบริการทาง การแพทย์และการสาธารณสุข ทำให้ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดเชื้อ ไม่ทราบวิธีป้องกันตนเองจากโรคเหล่านั้น เป็นผลต่อเนื่องทำให้ขาดพฤติกรรมสุขอนามัยที่ช่วยป้องกันตนเองจากโรคติดต่อ
- การเพิ่มขึ้นของการเดินทางและการค้าระหว่างประเทศ (International travel and trade factors) ปัจจุบันการเดินทางระหว่างประเทศมีจำนวนเพิ่มและสะดวกรวดเร็วขึ้นมาก รวมทั้งมีการเคลื่อนย้ายของประชากรข้ามพรมแดน ตลอดจนการขนส่งสินค้าและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ระหว่างประเทศเพิ่มขึ้นด้วย ปัจจัยเหล่านี้ทำให้โรคติดต่ออุบัติใหม่ สามารถแพร่กระจายจากพื้นที่หนึ่งไปสู่พื้นที่อื่นได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งมักก่อให้เกิดการระบาดอย่างรุนแรงอย่างกว้างมาก ดังเช่นการแพร่ระบาดของโรคซาร์สไปยังประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ รวม 29 ประเทศภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว การแพร่ระบาดทั่วโลกของไข้หวัดใหญ่ในศตวรรษที่ 20 รวม 3 ครั้งนั้นพบว่า ใช้เวลาลดลงเมื่อการคมนาคมสะดวกสบายรวดเร็วขึ้น และล่าสุดการแพร่ระบาดของเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่(H1N1) 2009 ที่แพร่ไปพร้อมกับผู้เดินทางทางอากาศ โดยใช้เวลาเพียงสองเดือนเศษก็แพร่ไปทั่วโลก
- การค้าสัตว์ระหว่างประเทศ อาจนำเชื้อใหม่แพร่ติดเข้าไปด้วย เช่น การระบาดของไข้หวัดนกในฮ่องกง เกิดจากการนำเข้าไก่จากจีน การระบาดของโรควัวบ้าในฝรั่งเศสและประเทศอื่น ๆ ที่เกิดจากการนำเข้าเศษเนื้อเศษกระดูกวัวเพื่อเป็นอาหารสัตว์จากอังกฤษ นอกจากนั้น ในกระบวนการขนส่งสินค้า หากละเลยมาตรการสุขาภิบาลที่ด่านเข้าเมือง ก็จะเป็นโอกาสเอื้อให้สัตว์ ยุง และแมลงพาหะอื่น ๆ แพร่ขยายพันธุ์ออกไปจากแหล่งพักพิงดั้งเดิม และอาจนำเอาเชื้อก่อโรคอันตรายติดไปด้วย
- การลักลอบการนำเข้าสัตว์ป่าจากต่างประเทศเพื่อมาเป็นสัตว์เลี้ยง อาจนำโรคใหม่ ๆ เข้ามาในพื้นที่ซึ่งไม่เคยพบเชื้อและคนไม่มีภูมิต้านทานต่อเชื้อนั้นมาก่อน เช่น หนูแกมเบียนจากอาฟริกานำโรคฝีดาษลิง (Monkey pox) เข้าไปในสหรัฐอเมริกา ไทยพบเชื้อซาลโมเนลลาสายพันธุ์ใหม่ในอิกัวนาจากอาฟริกามากถึง 11 ชนิด และแมลงสาบยักษ์จากเกาะมาดากัสการ์ก็อาจก่อปัญหาในทำนองเดียวกัน หมูจิ๋วกับปัญหาไข้สมองอักเสบ เจ อี สัตว์ปีกกลุ่มนกแก้วกับโรคสิตตาโคซิส(Psittacosis) นอกจากนั้น ในประเทศไทย พบมีการนำนากหญ้าและหอยเชอรี่จากไต้หวันเข้ามาเลี้ยงเป็นอาหาร ซึ่งอาจทำให้สภาพสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่เอื้อต่อการเกิดโรค ระบาดของโรคเลปโตสไปโรสิสหรือโรคฉี่หนูเพิ่มขึ้น รวมถึงการนำพ่อแม่พันธุ์สัตว์เข้ามาขยายพันธุ์ในเชิงพาณิชย์ เช่น ไก่ เป็ด โค สุกร ม้า สุนัข ก็อาจเป็นการนำเชื้อเข้าแพร่กระจายได้ในทำนองเดียวกัน
- ปัจจัยด้านโครงสร้างสาธารณสุข (Public health infrastructure factors) การขาดแคลนทรัพยากรและงบประมาณในระบบสาธารณสุข การไม่ให้ความสำคัญกับปัญหาโรคติดต่อ รวมทั้งการละเลยมาตรการป้องกันควบคุมโรคของประเทศต่าง ๆ อาจนำไปสู่ปัญหาการระบาดใหญ่ตรงกันข้าม การมีระบบและโครงสร้างสาธารณสุขที่เข้มแข็ง จะช่วยให้สามารถค้นหาการระบาดของโรคและสกัดกั้นการระบาดได้อย่างรวดเร็ว เท่ากับเป็นการลงทุนด้านงบประมาณและกำลังบุคลากรอย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อเทียบกับทรัพยากรที่จะต้องสูญเสียไปกับการรักษาและการแก้ไขปัญหาที่ ปลายทางเมื่อเกิดการระบาดขึ้นแล้ว
- ปัญหาการก่อการร้ายโดยการใช้เชื้อโรคมาผลิตเป็นอาวุธ (Bioterrorism) เช่น เหตุการณ์ในสหรัฐอเมริกา ปี พ.ศ.2545 ผู้ก่อการร้ายใช้สปอร์ของเชื้อแอนแทรกซ์ผสมผงแป้ง บรรจุลงในจดหมายและไปรษณียภัณฑ์ นอกจากนั้นยังมีความเสี่ยงที่ผู้ก่อการร้ายอาจใช้เชื้อโรคอื่น ๆ กลับมาสร้างปัญหาสาธารณสุขสำคัญอีกครั้งหนึ่ง เช่น เชื้อไวรัสไข้ทรพิษ ซึ่งถูกกวาดล้างไปจากโลกแล้ว
7. โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 เป็นโรคระบาดจากเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิดใด
ตอบ ชนิด A (H1N1)

**จำหน่ายเอกสาร แนวข้อสอบ สสจ. ทุกตำแหน่ง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด**

ความคิดเห็น

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน