ช่างไฟฟ้า โทร 092-4857685 ช่างประปา

testthai1 profile image testthai1

ความสำคัญและประโยชน์ของงานช่างพื้นฐาน !!!!
-งานไฟฟ้า ชีวิตประจำวันของมนุษย์ จะเกี่ยวข้องกับของใช้ที่เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้า เพราะ เครื่องใช้ไฟฟ้าให้ความสะดวก ความสุขสบาย อย่างไรก็ตาม หากใช้ไม่เป็น ใช้ไม่ถูกต้อง ก็ย่อมมีโทษเช่นกัน การใช้จึงต้องคำนึงถึงเรื่องความปลอดภัย ความประหยัดและอายุการใช้งาน งานไฟฟ้าเป็นงานที่ต้องใช้ความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ของการนำเอาพลังงานไฟฟ้ามาใช้ ในลักษณะของการเปลี่ยนเป็นรูปอื่นๆ เช่น แสงสว่าง ความร้อน พลังงานกล งานไฟฟ้าในงานช่างพื้นฐาน สามารถปฏิบัติได้ทั้งชายและหญิง เพราะเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ซึ่งจะต้องรู้จักเครื่องมือเครื่องใช้ วิธีใช้ การเก็บบำรุงรักษา ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ สามารถจัดหาและนำมาใช้ได้อย่างประหยัดและปลอดภัย
- งานประปา ระบบประปาและระบบการระบายน้ำโสโครกในอาการบ้านเรือน เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับชีวิตประจำวัน ระบบประปาและระบบการระบายน้ำโสโครกที่มีประสิทธิภาพมีผลต่อสุขภาพและอนามัยของผู้อาศัยงานประปาจึงมีความสำคัญและเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการวัด การตัดต่อท่อ ข้อท่อ มีความสามารถในการซ่อมแซม แก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในระบบประปาและระบบการระบายน้ำต่างๆ

ระบบประปา !!!!
น้ำคือปัจจัยที่สำคัญใน การดำรงชีวิตของมนุษย์ เราสามารถใช้น้ำในการใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ทั้งการอุปโภคและบริโภค อาคารบ้าน พักอาศัยก็เช่นเดียวกัน จำเป็นจะต้องมีการวาง ระบบน้ำประปา มาใช้ในอาคารด้วย ในการนำน้ำมาใช้กับ อาคารบ้านเรือน ทั้งหลาย จะต้องมีการวางระบบที่ดี เพื่อให้เกิดความสะดวกใน การใช้งานอีกทั้งสะดวกในการบำรุงรักษาอีกด้วย ต้องคำนึงถึง การจัดวางตำแหน่ง ท่อต่างๆได่แก่ ระบบท่อน้ำดี ระบบท่อน้ำทิ้ง ระบบท่อน้ำเสีย และ ระบบท่อระบายอากาศ ให้เหมาะสมกับการใช้งาน เพื่อประสิทธิภาพ ในการใช้ ตลอดจนอายุการใช้งานที่ยาวนานและเนื่องจากระบบท่อต่าง ๆ จะถูกซ่อนไว้ตามที่ต่างๆเช่นในผนัง พื้น ฝ้าเพดาน ฉะนั้น ก่อนการ ดำเนินการก่อสร้างต้องมีการวางแผนให้ดี เพื่อประโยชน์ในการซ่อมบำรุงในภายหลัง และนอกจากนี้ ยังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่ต้อง คำนึงถึงอีกมากมาย ดังเช่น
1) จัดเตรียมพื้นที่การเดินท่อทั้งแนวนอน แนวดิ่ง รวมถึงระยะลาดเอียงต่าง ๆ
2) ติดตั้งฉนวนในระบบท่อที่จำเป็นเช่น ท่อน้ำเย็น เพื่อลดความเสียหายจากการรั่วซึม
3) ออกแบบระบบแขวน และรายละเอียดอื่น ๆ ตามมาตรฐานของอุปกรณ์ต่าง ๆ
4) จัดเตรียมพื้นที่สำหรับการบำรุงรักษา
ระบบน้ำประปา มีส่วนสำคัญคือ การจ่ายน้ำที่สะอาดไปยังจุดที่ใช้งานต่าง ๆ ในปริมาณ และแรงดันที่เหมาะสม กับการใช้งาน นอกเหนือ จากนั้น ยังจะต้องมีระบบ การสำรองน้ำในกรณีฉุกเฉิน หรือมีการปิดซ่อม ระบบภายนอก หรือช่วงขาดแคลนน้ำ และในอาคาร บาง ประเภท ยังต้องสำรองน้ำสำหรับ ระบบดับเพลิงแยก ต่างหากอีกด้วย

หลักการจ่ายน้ำภายในอาคารมี 2 ลักษณะคือ
1) ระบบจ่ายน้ำด้วยความดัน (Pressurized/Upfeed System)
เป็นการจ่ายน้ำโดยอาศัย การอัดแรงดันน้ำ ในระบบ ท่อประปาจากถังอัดความดัน (Air Pressure Tank) ระบบที่ใช้กับ ความสูงไม่จำกัด ทั้งยังไม่ต้องมี ถังเก็บน้ำ ไว้ดาดฟ้าอาคาร
2) ระบบจ่ายน้ำโดยแรงโน้มถ่วง (Gavity Feed/Downfeed System)
เป็นการสูบน้ำขึ้นไปเก็บไว้บนดาดฟ้าแล้ว ปล่อยลงมาตามธรรมชาติ ตามท่อต้องเป็นอาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 10 ชั้น ขึ้นไป ถือเป็น ระบบ ที่ไม่ซับซ้อนไม่ต้องใช้ไฟในการจ่าย แต่จะต้องเตรียมถังเก็บน้ำ ไว้บนดาดฟ้า จึงต้องคำนึงถึง เรื่องโครงสร้างในการ รับน้ำหนัก และความสวยงามด้วย

ในการสำรองน้ำสำหรับการใช้งานนั้นจะต้องมีการใช้ถังเก็บน้ำแบบต่าง ๆ มาประกอบการใช้งาน ถังเก็บน้ำที่มีใช้กันอยู่โดยทั่วไป ในปัจจุบันนั้นมีหลายแบบให้เลือกใช้ รวมทั้งอาจจะต้องมีเครื่องสูบน้ำติดตั้งอีกด้วย แต่เครื่องสูบน้ำนั้น ห้ามต่อระหว่าง ระบบสาธารณะ กับถังพักน้ำในบ้าน เพราะเป็นการกระทำที่ผิดกฏหมายเนื่องจาก เป็นการสูบน้ำจากระบบสาธารณะ โดยตรงซึ่งเป็นการเอาเปรียบผู้อื่น การสูบน้ำในบ้านจะต้องปล่อยให้น้ำจาก สาธารณะมาเก็บ ในถังพักตาม แรงดันปกติเสียก่อนแล้วค่อยสูบน้ำไปยังจุดที่ต้องการอื่น ๆได้
ตำแหน่งที่ตั้งถังเก็บน้ำที่ใช้งานทั่วไปมีที่ตั้ง 2 แบบคือ
- ถังเก็บน้ำบนดิน ใช้ในกรณีที่มีพื้นที่เพียงพอกับการติดตั้ง อาจติดตั้งบนพื้นดิน หรือบนอาคาร หรือติดตั้งบนหอสูง เพื่อใช้ประโยชน์ ในการใช้แรงดันน้ำ สำหรับแจกจ่ายให้ส่วนต่างๆของอาคาร การดูแลรักษาสามารถทำได้ง่ายแต่อาจดูไม่เรียบร้อยและไม่สวยงามนัก
- ถังเก็บน้ำใต้ดิน ใช้ในกรณีที่ไม่มีพื้นที่ในการติดตั้งเพียงพอและต้องการให้ดูเรียบร้อยสวยงามการบำรุงดูแลรักษาทำได้ยาก ดังนั้นการก่อสร้าง และการเลือก ชนิดของถังต้องมีความละเอียดรอบคอบ

ชนิดถังเก็บน้ำ !!!!
ถังเก็บน้ำ ค.ส.ล. เป็นถังที่มีความแข็งแรงทนทานสามารถสร้างได้ทั้งแบบอยู่บนดิน และใต้ดิน แต่ทีน้ำหนักมาก การก่อสร้าง ต้องระวังเรื่องการรั่วซึม ดังนั้นต้องทำระบบกันซึมและต้องเลือกชนิดที่ไม่เป็นพิษต่อร่างกาย
ถังเก็บน้ำสแตนเลส เป็นถังน้ำสำเร็จรูปโดยใช้โลหะสแตนเลสที่ไม่เป็นสนิม มีความทนทานต่อการใช้งาน นิยมติดตั้งเป็น ถังน้ำบนดิน
ถังเก็บน้ำไฟเบอร์กลาส เป็นถังเก็บน้ำสำเร็จรูป ใช้วัสดุไฟเบอร์กลาสที่มีความยืดหยุ่นสูง ไม่แตกหักง่าย มีน้ำหนักเบา รับแรงดันได้ดีและไม่เป็นพิษกับน้ำสามารถติดตั้งได้ทั้งบนดินและใต้ดิน
ถังเก็บน้ำ PE (Poly Ethelyn) เป็นถังเก็บน้ำที่ใช้วัสดุชนิดเดียวกับที่ใช้ทำท่อน้ำประปา สามารถรับแรงดัน ได้ดีมีน้ำหนักเบา ใช้ติดตั้ง ได้ทั้งบนดินและ ใต้ดิน
ถังเก็บน้ำสำเร็จรูปอื่นๆ ในสมัยก่อน นิยมถังเก็บน้ำที่เป็นเหล็กชุบสังกะสี รูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ แต่เมื่อใช้ไปนาน ๆ ถังจะผุกร่อนได้ ปัจจุบันไม่ค่อยนิยมใช้ แล้วนอกจากนั้น ยังมีถังเก็บน้ำแบบโบราณ ที่เคยนิยมใช้มานาน ได้แก่ โอ่งน้ำขนาดต่าง ๆ ทั้งที่เป็นแบบดินเผา และแบบหล่อคอนกรีต
การเลือกและออกแบบถังน้ำ จะต้องมีข้อคำนึงถึงคือ

ต้องคำนึงถึงอายุการใช้งานของถังเก็บน้ำ
ขนาดและจำนวนถังเก็บน้ำจะต้องมีปริมาณน้ำสำรองที่พอเพียงต่อการใช้งาน สำหรับบ้านพักอาศัยจะใช้น้ำที่ ประมาณ 200 ลิตร / คน / วัน
จะต้องจัดเตรียมพื้นที่สำหรับติดตั้งถังเก็บน้ำสำหรับอาคารด้วย
จะต้องมีความสะดวกสบายในการติดตั้ง การดูแลรักษาและทำความสะอาด
ระบบท่อที่เชื่อมต่อกับถังเก็บน้ำจะต้องดีมีคุณภาพ ไม่ก่อให้เกิดปัญหาในภายหลัง เช่น น้ำรั่ว หรือชำรุดเป็นต้น

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ++++
1.มาตรฐานการออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟ้า
มารตรฐานการออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟ้า มีความสำคัญยิ่ง ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัย คงทนถาวร และเพื่อยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ที่ใช้อยู่ในระบบให้ยาวนานยิ่งขึ้น การติดตั้งระบบไฟฟ้า มีมาตรฐานกำหนดที่แน่นอน และมีหลายหน่วยงาน เช่น กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และหน่วยงานจากต่างประเทศที่ประเทศไทยนำมายึดถือ เช่น National Electric Code (NEC) Amarican National Standard Institute (ANSI) International Electrotechical Commission (IEC) เป็นต้น และหน่วยงานที่รับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ คือ สำนักผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ที่รู้จักกันในชื่อ มอก.
2. ศัพท์เฉพาะ หรือคำจำกัดความ ด้านระบบไฟฟ้า ที่ควรรู้
2.1 ระบบไฟฟ้าแรงสูง คือ ระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้า เกิน 1,000 โวลท์
2.2 ระบบไฟฟ้าแรงต่ำ คือ ระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าไม่เกิน 1,000 โวลท์
2.3 โวลท์ (Volt.) คือ หน่วยวัดแรงดันไฟฟ้า
2.4 แอมแปร์ ( Amp.) คือ หน่วยวัดกระแสไฟฟ้า
2.5 วัตต์ (Watt.) คือ หน่วยของกำลังไฟฟ้าที่ใช้จริง
2.6 หน่วย (Unit) คือ หน่วยของกำลังไฟฟ้าที่ใช้ ต่อชั่วโมง มีอุปกรณ์ที่ใช้วัด คือ กิโลวัตต์ฮอร์มิเตอร์ (Kwh. )
3.ระบบ 1 เฟส หรือ 3 เฟส คือ ระบบไฟฟ้าที่นำมาใช้ โดยแยกออกดังนี้
3.1 ระบบ 1 เฟส จะมี 2 สายในระบบ ประกอบด้วย สาย LINE (มีไฟ) 1 เส้น และสาย Neutral (ไม่มีไฟ) 1 เส้น มีแรงดันไฟฟ้า 220 – 230 โวลท์
มีความถี่ 50 เฮิร์ซ (Hz)
3.2 ระบบ 3 เฟส จะมี 4 สายในระบบ ประกอบด้วย สาย LINE (มีไฟ) 3 เส้น และสายนิวตรอน (ไม่มีไฟ) 1 เส้น มีแรงดันไฟฟ้าระหว่าง สาย
LINE กับ LINE 380 – 400 โวลท์ และแรงดันไฟฟ้าระหว่างสาย LINE กับ Neutral 220 – 230 โวลท์ และมีความถี่ 50 เฮิร์ซ (Hz)
เช่นเดียวกัน
3.3 สายดิน หรือ GROUND มีทั้ง 2 ระบบ ติดตั้งเข้าไปในระบบเพื่อความปลอดภัยของระบบ สายดินจะต้องต่อเข้าไปกับพื้นโลก
ตามมาตรฐานกำหนด
4. Power Factor
คือ อัตราส่วน ระหว่างกำลังไฟฟ้าที่ใช้จริง (วัตต์) กับ กำลังไฟฟ้าปรากฏ หรือกำลังไฟฟ้าเสมือน (VA) ซึ่ง ค่าที่ดีที่สุด คือ มีอัตราส่วนที่เท่ากัน จะมีค่าเป็นหนึ่ง แต่ในทางเป็นจริงไม่สามารถทำได้ ซึ่งค่า Power Factor เปลี่ยนแปลงไปตามการใช้ LOAD ซึ่ง Load ทางไฟฟ้ามีอยู่ 3 ลักษณะ คือ
1. Load ประเภท Resistive หรือ ความต้าน จะมีค่า Power Factor เป็นหนึ่ง อันได้แก่ หลอดไฟฟ้าแบบใส้ เตารีดไฟฟ้า หม้อหุงข้าว
เครื่องทำน้ำอุ่น เป็นต้น ถ้าหน่วยงานหรือองค์กร มี Load ประเภทนี้เป็นจำนวนมาก ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องปรับปรุงค่า Power Factor
2. Load ประเภท Inductive หรือ ความเหนี่ยวนำ จะมีค่า Power Factor ไม่เป็นหนึ่ง อันได้แก่ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้ขดลวด เช่น มอเตอร์
บาลาสก์ของหลอดฟลูออเรสเซนต์ หลอดแกสดิสชาร์จ เครื่องปรับอากาศ เป็นต้น จะเห็นได้ว่าหน่วยงานหรือองค์กรส่วนใหญ่ จะหลีกเลี่ยง
Load ประเภทนี้ไม่ได้ และมีเป็นจำนวนมาก ซึ่งจะทำให้ ค่า Power Factor ไม่เป็นหนึ่ง และ Load ประเภทนี้จะทำให้ค่า Power Factor
ล้าหลัง ( Lagging ) จำเป็นที่จะต้องปรับปรุงค่า Power Factor โดยการนำ Load ประเภทให้ค่า Power Factor นำหน้า ( Leading )
มาต่อเข้าในวงจรไฟฟ้าของระบบ เช่น การต่อชุด Capacitor Bank เข้าไปในชุดควบคุมไฟฟ้า
3. Load ประเภท Capacitive หรือ Load ที่มีตัวเก็บประจุ (Capacitor) เป็นองค์ประกอบ Load ประเภทนี้จะมีใช้น้อยมาก จะมีค่า Power Factor
ไม่เป็นหนึ่ง Load ประเภทนี้จะทำให้ค่า Power Factor นำหน้า ( Leading ) คือกระแสจะนำหน้าแรงดัน จึงนิยมนำ Load ประเภทนี้
มาปรับปรุงค่า Power Factor ของระบบที่มีค่า Power Factor ล้าหลัง เพื่อให้ค่า Power Factor มีค่าใกล้เคียงหนึ่ง

 

ข้อดี ของการปรับปรุง ค่า Power Factor ++++
- กระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรไฟฟ้าลดลง
- หม้อแปลง และสายเมนไฟฟ้า สามารถรับ Load เพิ่มได้มากขึ้น
- ลดกำลังงานสูญเสียในสายไฟฟ้าลง
- ลดแรงดันไฟฟ้าตก
- เพิ่มประสิทธิภาพระบบไฟฟ้าทั้งระบบ
5. ระบบการส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า
หน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการผลิตและจำหน่ายไฟฟ้าในปัจจุบัน คือ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิต เป็นผู้ผลิตไฟฟ้าให้การไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคไปจำหน่าย การไฟฟ้านครหลวง จะจำหน่ายไฟฟ้าให้ กทม.และปริมณฑล ส่วนการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จะจำหน่ายไฟฟ้าให้กับต่างจังหวัดของทุกภาคในประเทศ
ระบบไฟฟ้าในภาคใต้ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตจะผลิตไฟฟ้าที่โรงไฟฟ้า แล้วแปลงแรงดันไฟฟ้าให้สูงถึง 230 กิโลโวลท์ (KV.) แล้วส่งไปตามเมืองต่างๆ เข้าที่สถานีไฟฟ้าย่อย ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค สถานีไฟฟ้าย่อยจะปรับลดแรงดันไฟฟ้าเหลือ 33 กิโลโวลท์ แล้วจ่ายเข้าในตัวเมือง และผู้ใช้ไฟฟ้าต้องติดตั้งหม้อแปลง เพื่อลดแรงดันไฟฟ้าให้เป็นแรงต่ำ เพื่อนำมาใช้งานต่อไป

กำลังไฟฟ้า ++++
กำลังไฟฟ้ามีด้วยกัน 3 อย่างคือ
- กำลังไฟฟ้าจริง มีหน่วยเป็น วัตต์ (Watt)
- กำลังไฟฟ้าแฝง มีหน่วยเป็น วาร์ (VAR)
- กำลังไฟฟ้าปรากฏ มีหน่วยเป็น โวลท์แอมป์ (VA)
6. หม้อแปลงไฟฟ้า
หม้อแปลงไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้า สำหรับแปลงแรงดันไฟฟ้าให้สูงขึ้น หรือต่ำลง เพื่อให้เหมาะสมกับงานที่จะใช้ งานบางอย่างต้องการใช้แรงดันสูง เช่น การส่งพลังงานไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้ามายังสถานีย่อย ต้องใช้หม้อแปลงแรงไฟฟ้าแรงสูง แต่ การใช้ในบ้านเรือน หรือ โรงงานต้องใช้หม้อแปลงไฟฟ้าแรงต่ำ ซึ่งหม้อแปลงมีหลายชนิด หลายขนาด เลือกใช้ตามความเหมาะสมของงาน
7. ตู้ควบคุมระบบไฟฟ้า
- MDB. (Main distribution board ) เป็นตู้ควบคุมระบบไฟฟ้าหลัก มี Main Circuit Breaker เพื่อตัดต่อวงจรไฟฟ้าทั้งหมดของอาคาร
- SDB. (Sub distribution board ) เป็นตู้ควบคุมย่อย จ่ายกระแสไฟฟ้าไปตามตู้ PB. หรือ Load Center หลายๆ ตู้ ขึ้นอยู่กับขนาดของอาคาร
- PB ( Panel board ) หรือ Load Center เป็นแผง Circuit breaker ที่ควบคุมการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ มีหลายขนาด
ขึ้นอยู่กับจำนวนของ Load
8. การต่อลงดิน
การต่อลงดิน คือการใช้ตัวนำทางไฟฟ้า ต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้า หรือ บริภัณฑ์ไฟฟ้า ต่อเข้ากับพื้นโลกอย่างมั่นคง ถาวร การต่อลงดินมี
วัตถุประสงค์ เพื่อลดอันตรายที่อาจจะเกิดกับบุคคล และลดความเสียหายที่อาจจะเกิดกับเครื่องใช้ไฟฟ้าและระบบไฟฟ้า
หน้าที่หลักของสายดิน มีอยู่ 2 ประการ คือ
1. เมื่อเกิดแรงดันเกิน จะจำกัดแรงดันไฟฟ้าของวงจร ไม่ให้สูงจนอาจทำให้เครื่องใช้ ไฟฟ้า เสียหาย และลดแรงดันไฟฟ้าที่อาจเกิดขึ้นที่เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้า หรือ ส่วนประกอบ เนื่องจากการรั่ว หรือการเหนี่ยวนำ เพื่อลดอันตรายจากบุคคลที่ไปสัมผัส
2. เมื่อเกิดกระแสไฟฟ้ารั่วลงดิน จะช่วยลดความเสียหายของเครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้า หรือระบบไฟฟ้า การต่อลงดินที่ถูกต้องจะช่วยให้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ป้องกันทำงานได้ตามที่ออกแบบไว้

 

ชนิดของการต่อลงดิน มีอยู่ด้วยกัน 3 แบบ คือ
1. การต่อลงดินของระบบไฟฟ้า ( System Grounding)
2. การต่อลงดินของเครื่องอุปกรณไฟฟ้า ( Equipment Grounding )
3. การต่อลงดินของระบบป้องกันฟ้าผ่า ( Lightning Grounding )
9. ระบบป้องกันฟ้าผ่า
เป็นระบบที่ต้องมีในระบบไฟฟ้า โดยมาตรฐานการติดตั้งเป็นตัวบังคับ ประเทศไทยใช้มาตรฐานของ IEC เป็นหลัก ระบบป้องกันฟ้าผ่าจะประกอบด้วย ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกอาคาร และระบบป้องกันฟ้าผ่าภายในอาคาร ระบบป้องกันฟ้าผ่า มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ป้องกันความเสียหายต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นกับระบบไฟฟ้า และบริภัณฑ์ต่างๆ อันเนื่องมาจากฟ้าผ่า
10. อุปกรณ์ตัดตอน หรืออุปกรณ์ปลดวงจร
อุปกรณ์ตัดตอน หรือ อุปกรณ์ปลดวงจร มีหน้าที่ ตัดตอนวงจรไฟฟ้าออกยามไม่ต้องการให้มีกระไฟฟ้าไหลในระบบ เช่น การซ่อมแซม และเพื่อ ป้องกันอันตรายต่อ ระบบ อันเนื่องมาจาก การใช้กระแสไฟฟ้าเกินพิกัด หรือ เกิดการลัดวงจร อุปกรณ์ตัดตอน ที่ใช้กันส่วนใหญ่ในปัจจุบัน คือ ฟิวส์ และ เซอร์กิต เบรกเกอร์ (CB.) แต่การใช้งานและ การออกแบบติดตั้ง ต้องใช้ขนาดและรูปแบบที่เหมาะสมกับงาน มิฉะนั้นอุปกรณ์ดังกล่าวจะไม่ทำงานตามที่ได้ออกแบบไว้ เช่น การเลือกขนาด CB สูงเกินไป เมื่อเกิดปัญหาหรือกระแสไหลเกินพิกัดของสาย จะทำให้ อุปกรณ์ จะไม่ตัดวงจร และเกิดความเสียหายเกิดขึ้นตามมา เช่น สายไหม้ หรือ อันตรายต่อหม้อแปลงไฟฟ้า เป็นต้น

ติดต่อช่างไฟฟ้าประปา

บริการของเรา ช่างไฟฟ้า/ช่างประปา-ประจำบ้าน ++++
- ช่างไฟฟ้า งานระบบไฟฟ้า แก้ไขงานไฟฟ้าขัดข้องประจำบ้าน เดินสายไฟ ติดตั้งปลั๊ก หลอดไฟ เดินไฟรั้ว ไฟสนาม ไฟรอบนอกตัวบ้าน
- ช่างซ่อมแซม/แก้ไข เบกเกอร์ทริป เซฟทีคัททริปบ่อย สายไฟชำรุด ไฟช็อต ไฟรั่ว ปลั๊กชำรุด โคมไฟชำรุด
- ช่างประปาติดตั้งท่อน้ำดี ท่อน้ำทิ้ง แก้ไขท่อชำรุด ท่อแตกใต้พื้น/ในผนัง ติดตั้งปั้มน้ำ ถังเก็บน้ำ แท็งน้ำ ติดตั้งลูกลอยไฟฟ้า ติดตั้งเครื่องทำน้ำอุ่น
- ช่างเดินสายเพิ่มจุด ย้ายจุด รับเดินสายทีวี ระบบอินเตอร์เน็ต เดินสายLAN กล้องวงจรปิด
- ช่างฝ้าเพดานรับเหมาทำฝ้าเพดาน ช่างทำฝ้า รับติดตั้งผ้า รับซ่อมฝ้า ช่างนิพล รับทำฝ้าทุกชนิด

ช่างไฟฟ้าในนครพนม ,
ช่างไฟฟ้าในบึงกาฬ,
ช่างไฟฟ้าในสกลนคร ,
ช่างไฟฟ้าในมุกดาหาร ,
ช่างไฟฟ้าในอุบลราชธานี ,
ช่างไฟฟ้าในหนองคาย ,
ช่างไฟฟ้าในอำนาจเจริญ ,
ช่างไฟฟ้าในหนองบัวลำภู ,
ช่างไฟฟ้าในศรีสะเกษ ,
ช่างไฟฟ้าในอุดรธานี ,
ช่างไฟฟ้าในยโสธร ,
ช่างไฟฟ้าในเลย ,
ช่างไฟฟ้าในกาฬสินธุ์ ,
ช่างไฟฟ้าในร้อยเอ็ด ,
ช่างไฟฟ้าในมหาสารคาม ,
ช่างไฟฟ้าในสุรินทร์,
ช่างไฟฟ้าในขอนแก่น,
ช่างไฟฟ้าในอำนาจเจริญ ,
ช่างไฟฟ้าในบุรีรัมย์ ,
ช่างไฟฟ้าในชัยภูมิ ,
ช่างไฟฟ้าในโคราช,
ช่างไฟฟ้าในเชียงใหม่ ,
ช่างไฟฟ้าในเพชรบูรณ์ ,
ช่างไฟฟ้าใน-เชียงราย ,
ช่างไฟฟ้าในแม่ฮ่องสอน,
ช่างไฟฟ้าในพะเยา ,
ช่างไฟฟ้าในลำพูน,
ช่างไฟฟ้าในน่าน ,
ช่างไฟฟ้าในลำปาง ,
ช่างไฟฟ้าในพิษณุโลก,
ช่างไฟฟ้าในแพร่ ,
ช่างไฟฟ้าในอุตรดิตถ์ ,
ช่างไฟฟ้าในตาก ,
ช่างไฟฟ้าในกำแพงเพชร,
ช่างไฟฟ้าในพิจิตร ,
ช่างไฟฟ้าในนครสวรรค์ ,
ช่างไฟฟ้าในอุทัยธานี ,
ช่างไฟฟ้าในชัยนาท ,
ช่างไฟฟ้าในลพบุรี ,
ช่างไฟฟ้าในสิงห์บุรี ,
ช่างไฟฟ้าในสุโขทัย,
ช่างไฟฟ้าในปราจีนบุรี ,
ช่างไฟฟ้าในสระบุรี ,
ช่างไฟฟ้าในนครนายก ,
ช่างไฟฟ้าในนครปฐม,
ช่างไฟฟ้าในอ่างทอง ,
ช่างไฟฟ้าในราชบุรี ,
ช่างไฟฟ้าในสุพรรณบุรี ,
ช่างไฟฟ้าในอยุธยา ,
ช่างไฟฟ้าในสมุทรสงคราม ,
ช่างไฟฟ้าในสมุทรปราการ,
ช่างไฟฟ้าในสมุทรสาคร ,
ช่างไฟฟ้าในสระแก้ว ,
ช่างไฟฟ้าในตราด ,
ช่างไฟฟ้าในจันทบุรี ,
ช่างไฟฟ้าในระยอง ,
ช่างไฟฟ้าในชลบุรี ,
ช่างไฟฟ้าในฉะเชิงเทรา ,
ช่างไฟฟ้าในเพชรบุรี ,
ช่างไฟฟ้าในชุมพร ,
ช่างไฟฟ้าในระนอง ,
ช่างไฟฟ้าในสุราษฎร์ธานี ,
ช่างไฟฟ้าในนครศรีธรรมราช,
ช่างไฟฟ้าในพังงา ,
ช่างไฟฟ้าในกระบี่ ,
ช่างไฟฟ้าในตรัง ,
ช่างไฟฟ้าในพัทลุง ,
ช่างไฟฟ้าในภูเก็ต ,
ช่างไฟฟ้าในสงขลา,
ช่างไฟฟ้าในคลองตัน ,
ช่างไฟฟ้าในจรัญสนิทวงศ์,
ช่างไฟฟ้าในดาวคะนอง,
ช่างไฟฟ้าในดินแดง ,
ช่างไฟฟ้าในธนบุรี ,
ช่างไฟฟ้าในนวนคร ,
ช่างไฟฟ้าในนวลจันทร์ ,
ช่างไฟฟ้าในบางนา ,
ช่างไฟฟ้าในปทุมวัน ,
ช่างไฟฟ้าในประชาชื่น ,
ช่างไฟฟ้าในประตูน้ำ,
ช่างไฟฟ้าในปิ่นเกล้า ,
ช่างไฟฟ้าในพระราม2 ,
ช่างไฟฟ้าในพระราม9 ,
ช่างไฟฟ้าในเพชรเกษม ,
ช่างไฟฟ้าในรัชดาภิเษก,
ช่างไฟฟ้าในรัชโยธิน,
ช่างไฟฟ้าในรามคำแหง ,
ช่างไฟฟ้าในวังหิน ,
ช่างไฟฟ้าในวัชพล ,
ช่างไฟฟ้าในสะพานควาย,
ช่างไฟฟ้าในสาธุประดิษฐ์ ,
ช่างไฟฟ้าในสามเสน ,
ช่างไฟฟ้าในสีลม,
ช่างไฟฟ้าในสุขาภิบาล ,
ช่างไฟฟ้าในสุขุมวิท ,
ช่างไฟฟ้าในสุทธิสาร ,
ช่างไฟฟ้าในอนุเสาวรีย์ชัย,
ช่างไฟฟ้าในอ่อนนุช ,
ช่างไฟฟ้าในปากเกร็ด,
ช่างไฟฟ้าในบางใหญ่,
ช่างไฟฟ้าในคลองหลวง,
ช่างไฟฟ้าในธัญบุรี,
ช่างไฟฟ้าในลาดหลุมแก้ว,
ช่างไฟฟ้าในลำลูกกา,
ช่างไฟฟ้าในสามโคก,
ช่างไฟฟ้าในหนองเสือ,
ช่างไฟฟ้าในกระทุ่มแบน,
ช่างไฟฟ้าในบางพลี,
ช่างไฟฟ้าในบางบ่อ,
ช่างไฟฟ้าในพระประแดง,
ช่างไฟฟ้าในพุทธมณฑล,
ช่างไฟฟ้าในสามพราน,
ช่างไฟฟ้าในเมืองหัวหิน,
ช่างไฟฟ้าในบางรัก ,
ช่างไฟฟ้าในสาธร ,
ช่างไฟฟ้าในเซนส์หลุยส์ ,
ช่างไฟฟ้าในสาธุประดิษฐ์ ,
ช่างไฟฟ้าในบางแค ,
ช่างไฟฟ้าในภาษีเจริญ ,
ช่างไฟฟ้าในปิ่นเกล้า ,
ช่างไฟฟ้าในจรัญ ,
ช่างไฟฟ้าในบรมราชชนนี ,
ช่างไฟฟ้าในบางพลัด ,
ช่างไฟฟ้าในบางอ้อ ,
ช่างไฟฟ้าในบางกอกน้อย ,
ช่างไฟฟ้าในบางกอกใหญ่ ,
ช่างไฟฟ้าในคลองสาน ,
ช่างไฟฟ้าในอิสรภาพ ,
ช่างไฟฟ้าในสาธร ,
ช่างไฟฟ้าในสวนผัก ,
ช่างไฟฟ้าในทุ่งมังกร ,
ช่างไฟฟ้าในราชพฤกษ์ ,
ช่างไฟฟ้าในชัยพฤกษ์ ,
ช่างไฟฟ้าในกัลปพฤกษ์ ,
ช่างไฟฟ้าในพุทธมลฑล ,
ช่างไฟฟ้าในพระราม2 ,
ช่างไฟฟ้าในท่าพระ ,
ช่างไฟฟ้าในรัชดาภิเษก ,
ช่างไฟฟ้าในพระราม3 ,
ช่างไฟฟ้าในแม้นศรี ,
ช่างไฟฟ้าในราษฎร์บูรณะ ,
ช่างไฟฟ้าในดาวคะนอง ,
ช่างไฟฟ้าในตลาดพลู ,
ช่างไฟฟ้าในพญาไท,
ช่างไฟฟ้าในเจริญ ,
ช่างไฟฟ้าในปทุมวัน,
ช่างไฟฟ้าในมาบุญครอง ,
ช่างไฟฟ้าในสยาม ,
ช่างไฟฟ้าในศรีย่าน ,
ช่างไฟฟ้าในเทเวศน์ ,
ช่างไฟฟ้าในขนทวีวัฒนา ,
ช่างไฟฟ้าในบางนา ,
ช่างไฟฟ้าในสี่แยกทศกันต์ ,
ช่างไฟฟ้าในตลิ่งชัน ,
ช่างไฟฟ้าในสุขุมวิท ,
ช่างไฟฟ้าในประตูน้ำ,
ช่างไฟฟ้าในวุฒากาศ ,
ช่างไฟฟ้าในจอมทอง ,
ช่างไฟฟ้าในท่าเกษตร,
ช่างไฟฟ้าในบางแวก ,
ช่างไฟฟ้าในบางหว้า ,
ช่างไฟฟ้าในวงเวียนใหญ่,
ช่างไฟฟ้าในลาดหญ้า ,
ช่างไฟฟ้าในสำราญราษฎร์ ,
ช่างไฟฟ้าในเสาชิงช้า ,
ช่างไฟฟ้าในสาธุประดิษฐ์ ,
ช่างไฟฟ้าในซ.วัดลาดปลาดุก,
ช่างไฟฟ้าในซ.วัดศรีประวัติ ,
ช่างไฟฟ้าในสมเด็จเจ้าพระยา ,
ช่างไฟฟ้าในเจริญนคร ,
ช่างไฟฟ้าในเพชรเกษม ,
ช่างไฟฟ้าในบางรัก ,
ช่างไฟฟ้าในยานนาวา,
ช่างไฟฟ้าในเอกชัย ,
ช่างไฟฟ้าในกำนันแม้น,
ช่างไฟฟ้าในเทเวศน์ ,
ช่างไฟฟ้าในเทอดไท,
ช่างไฟฟ้าในบางขุนเทียน ,
ช่างไฟฟ้าในท่าข้าม ,
ช่างไฟฟ้าในบางบอน ,
ช่างไฟฟ้าในสุขสวัสดิ์ ,
ช่างไฟฟ้าในทุ่งครุ ,
ช่างไฟฟ้าในประชาอุทิศ ,
ช่างไฟฟ้าในลาพร้าว ,
ช่างไฟฟ้าในอนุสาวรีย์ชัย,
ช่างไฟฟ้าในซ.อารีย์สัมพันธุ์ ,
ช่างไฟฟ้าในอ้อมน้อย,
ช่างไฟฟ้าในอ้อมใหญ่ ,
ช่างไฟฟ้าในมหาชัย,
ช่างไฟฟ้าในคลองขวาง ,
ช่างไฟฟ้าในบางมด ,
ช่างไฟฟ้าในหนองเเขม


ช่างไฟฟ้า โทร 092-4857685 ช่างประปา

ความคิดเห็น

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน

testthai1 Icon ไม้ล้อมจัดสวนเขตยะลา อ่าน 142 3 ปีที่ผ่านมา
3 ปีที่ผ่านมา
3 ปีที่ผ่านมา
testthai1 Icon ต้นไม้จัดสวนเขตสงขลา  อ่าน 132 3 ปีที่ผ่านมา
3 ปีที่ผ่านมา
testthai1 Icon ขายไม้ล้อมเขตสตูล อ่าน 119 3 ปีที่ผ่านมา
3 ปีที่ผ่านมา
testthai1 Icon ร้านต้นไม้เขตระนอง  อ่าน 130 3 ปีที่ผ่านมา
3 ปีที่ผ่านมา
testthai1 Icon ไม้ล้อมจัดสวนเขตภูเก็ต  อ่าน 135 3 ปีที่ผ่านมา
3 ปีที่ผ่านมา
testthai1 Icon ไม้ล้อมจัดสวนเขตพัทลุง อ่าน 129 3 ปีที่ผ่านมา
3 ปีที่ผ่านมา
testthai1 Icon ไม้ล้อมจัดสวนเขตพังงา  อ่าน 132 3 ปีที่ผ่านมา
3 ปีที่ผ่านมา
testthai1 Icon ขายไม้ล้อมเขตปัตตานี  อ่าน 132 3 ปีที่ผ่านมา
3 ปีที่ผ่านมา
testthai1 Icon ไม้ล้อมจัดสวนเขตนราธิวาส อ่าน 122 3 ปีที่ผ่านมา
3 ปีที่ผ่านมา
3 ปีที่ผ่านมา
testthai1 Icon ไม้ล้อมจัดสวนเขตตรัง อ่าน 115 3 ปีที่ผ่านมา
3 ปีที่ผ่านมา
testthai1 Icon ไม้ล้อมจัดสวนเขตชุมพร อ่าน 142 3 ปีที่ผ่านมา
3 ปีที่ผ่านมา
testthai1 Icon ไม้ล้อมจัดสวนเขตกระบี่ อ่าน 126 3 ปีที่ผ่านมา
3 ปีที่ผ่านมา
testthai1 Icon ขายไม้ล้อมเขตปราจีนบุรี  อ่าน 179 3 ปีที่ผ่านมา
3 ปีที่ผ่านมา