ลูกจ้างควรรู้! นายจ้างห้ามหักเงิน “คนมาสาย” ฝ่าฝืนโดนโทษ หนัก จำ 6 เดือน ปรับ 1 แสนบาท

guest profile image guest

ถามว่าเคยไปทำงานสายกันไหม หลายคนก็คงจะต้องบอกว่าเคยแน่นอน แต่รับรองได้เลยว่าเรื่องราวคงไม่จบอยู่แค่ว่าเราไปทำงานสายแค่นั้น ในบางหน่วยงานหรือกับนายจ้างบางคน ก็ถือเอาโอกาสนี้หักเงินค่าจ้างของลูกจ้างหรือพนักงานเลย แต่ตามกฎหมายแล้วระบุไว้ว่าห้ามมิให้นายจ้างหั ก ค่ า จ้างลูกจ้าง

ซึ่งจริงๆแล้วจะทำได้หรือเปล่านั้นในทางกฎหมายบอกว่าอย่างไรบ้างไปหาคำตอบกันเลย เพจ ก ฎ ห ม า ย แ ร ง ง า น ให้ความรู้เรื่องนี้ไว้ว่า หลักกฎหมายในมาตรา ๗๖ ห้ามมิให้หักค่าจ้าง แล้วมาสายเข้าข้อยกเว้น หรือหักได้หรือไม่

๑) หักไม่ได้ เพราะเมื่อเงินกลายเป็นค่าจ้างไปแล้ว (ก ฎ ห ม า ย ห้ า ม หั ก ค่ า จ้ า ง) อีกทั้งไม่เข้าข้อยกเว้นที่ก ฎ ห ม า ย ให้ หั ก ค่ า จ้างได้กรณีมาทำงานสาย

๒) แต่ถ้าทำข้อตกลงว่าถ้ามาสายจะไม่จ่าย ค่ า จ้าง หรือคิด ค่ า จ้างกันเป็นนาที การมาทำงานสายนายจ้างก็ไม่ต้องจ่ายเงินค่าจ้าง

ดังนั้นสรุปเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายๆ ว่า
1.นายจ้างไม่สามารถหักเงินลูกจ้างด้วยสาเหตุมาสายได้ ผิ ด ก ฎ ห ม า ย แรงงาน
2.มาสายกี่นาทีต้องลงตามจริง มาสาย 5 นาที จะลงว่าสาย 30 นาทีไม่ได้

3.มาสาย 3 วัน จะมาหักวันทำงาน 1 วันไม่ได้
4.ใช้เหตุผลมาสายเพื่อไ ล่ ออกเลยก็ไม่ได้ ต้องมีหนังสือเตือนตามระเบียบของบริษัทประกาศไว้

5.บังคับให้ลูกจ้างทำโอทีเพราะมาสายไม่ได้ เนื่องจากการทำงานล่วงเวลาต้องได้รับความสมัครใจจากลูกจ้าง
6.จะเห็นได้ว่าในบางหน่วยงานตอนทำสัญญาจ้าง จะทำข้อตกลงกันไว้ใน สั ญ ญ า จ้างว่าถ้าหากลูกจ้างมาทำงานสายนายจ้างก็จะหักเงินกันเป็นนาทีละเท่านั้นนี้กันยังไงหละ

ดังนั้นเมื่อเงินยังไม่ได้เป็น ค่ า จ้ า ง เพราะการทำข้อตกลงแบบนี้เท่ากับว่า “จะจ่ายค่าจ้าง” ต่อเมื่อ “ทำงาน” แลกกัน เมื่อไม่ทำงานก็ไม่จ่าย เมื่อไม่จ่ายก็ยังไม่เป็นค่าจ้าง (จึงไม่มีกรณีหักค่าจ้าง แต่เป็นเรื่องไม่จ่ายตอบแทน ไม่ใช่หักค่าจ้าง)เป็นสิทธิ์ที่นายจ้างทำได้ ยกตัวอย่าง เช่น นายจ้างสามารถบันทึกเวลาในการทำงานรวมที่หายไปจากการมาสายของลูกจ้างในแต่ละเดือนว่า ห า ย ไปกี่นาทีกี่ชั่วโมง และนำมาคำนวณต่ออัตราค่าจ้างเฉลี่ยในแต่ละชั่วโมงของลูกจ้างได้

พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 มาตรา 76 ห้ามมิให้นาย จ้ า ง หั ก ค่ า จ้ า ง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุด เว้นแต่เป็นการหักเพื่อ มาตรา 144 นายจ้างผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติดังต่อไปนี้ ต้อง ร ะ ว า ง โ n ษ จำไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้ง จำ ทั้ ง ป รับ

ฉะนั้น เวลาทำงานห า ย ไปเท่าไหร่ ก็ไม่จ่ายเท่านั้น ไม่สามารถหักไปมากกว่านั้นได้ จึงไม่ได้เรียกว่าการ หั ก เงิน เรียกว่าไม่จ่ายเงินแทน เราๆ เหล่ามนุษย์ออฟฟิศจงจำไว้ว่าอย่าให้พวกแม่ HR ตัวดี มา หั ก เงินเราได้

โพสท์โดย: NIXA
อ้างอิงจาก: http://flowersbeauties.com/
ความคิดเห็น

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน

2 ปีที่ผ่านมา
3 ปีที่ผ่านมา