เผยแพร่ SAR ปีการศึกษา 2553 บทที่ 1

KonteeQA profile image KonteeQA

บทที่ ๑ 

ข้อมูลพื้นฐาน

๑. ข้อมูลทั่วไป

๑.๑        ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนคณฑีพิทยาคม    ตั้งอยู่เลขที่   ๙๙๙   หมู่  ๙

ตำบลเทพนคร       อำเภอเมืองกำแพงเพชร      จังหวัดกำแพงเพชร

รหัสไปรษณีย์   ๖๒๐๐๐   โทรศัพท์ ๐-๕๕๗๒–๙๑๖๘    โทรสาร๐ – ๕๕๗๒–๙๓๗๕

                e-mail    khontee@gmail.com                   website    www.khontee.ac.th

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต  ๔๑

๑.๒       เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑  ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๖ 

๑.๓        มีเขตพื้นที่บริการ   ๒  ตำบล      ได้แก่   ตำบลคณฑี    และตำบลเทพนคร    อำเภอเมืองกำแพงเพชร

              จังหวัดกำแพงเพชร

๒. ข้อมูลด้านการบริหาร

๒.๑       ชื่อ-สกุลผู้บริหาร                นายประเสริฐ    ทิพย์พิมพ์วงศ์

วุฒิการศึกษาสูงสุด            กศ.ม.   สาขาการบริหารการศึกษา

ดำรงตำแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่   ปี ๒๕๕๓   จนถึงปัจจุบัน   เป็นเวลา   ๑   ปี   ๓  เดือน

๒.๒      รองผู้อำนวยการ  (ที่ได้รับแต่งตั้ง)  ๑  คน

ชื่อ-สกุล                                               นางอรพร    เพ็งศิริ

วุฒิการศึกษาสูงสุด            ประกาศนียบัตรบัณฑิต  สาขาการบริหารการศึกษา

๒.๓       ประวัติโดยย่อ คำขวัญ และวัตถุประสงค์เฉพาะของสถานศึกษา

ประวัติโรงเรียนคณฑีพิทยาคม

                ที่ตั้ง

                                โรงเรียนคณฑีพิทยาคม  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต  ๔๑ 

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน  กระทรวงศึกษาธิการ   ตั้งอยู่ที่เลขที่  ๙๙๙  หมู่ที่  ๙              ตำบลเทพนคร  อำเภอเมืองกำแพงเพชร  จังหวัดกำแพงเพชร  ช่วงหลักกิโลเมตรที่  ๑๘–๑๙  ถนนสายกำแพงเพชร-ขาณุวรลักษบุรี  ห่างจากตัวจังหวัดไปทางทิศใต้

                พื้นที่

                                โรงเรียนคณฑีพิทยาคม ได้รับบริจาคที่ดินจากกำนันประสิทธิ์  วัฒนศิริ  จำนวน  ๓๕  ไร่ 

๒  งาน  ๓๑  ตารางวา  เป็นสถานที่ตั้งโรงเรียน  โดยมีกำนันสมบูรณ์  รัตถา  เป็นแกนนำเสียสละแรงกาย แรงใจร่วมกับประชาชนในท้องถิ่น สร้างอาคารเรียนชั่วคราว  ๑  หลัง   จำนวน  ๓  ห้องเรียน ปัจจุบัน มีอาคารเรียน

 ๖ หลัง ได้แก่ อาคารคณฑี อาคารเทพนคร หอประชุมเทพพิมาน โรงฝึกงานคหกรรม – อุตสาหกรรม

 อาคารดนตรีสากล โรงอาหารและห้องน้ำ ๒ หลัง

               

ประวัติโรงเรียน

                                โรงเรียนคณฑีพิทยาคม  ได้รับอนุมัติให้จัดตั้งเมื่อวันที่  ๑๒  กุมภาพันธ์  พ.ศ.  ๒๕๒๒  และเริ่มเปิดทำการสอนครั้งแรก เมื่อวันที่  ๒๐  พฤษภาคม  พ.ศ.  ๒๕๒๒  โดยมีนักเรียนรุ่นแรก  จำนวน  ๓๐  คน  มีครู – อาจารย์  ๔  คน  ลูกจ้างประจำ  ๒  คน  และมีนายอนันต์  น่วมอินทร์  เป็นครูใหญ่

                                ปัจจุบันโรงเรียนคณฑีพิทยาคม  มีนักเรียนทั้งสิ้น  ๖๐๒  คน   ครู  ๗  คน  พนักงานราชการ  ๑  คน  ครูอัตราจ้าง  ๔  คน   ลูกจ้างประจำ  ๒  คน   ลูกจ้างชั่วคราว  ๔  คน  โดยมีนายประเสริฐ  ทิพย์พิมพ์วงศ์

ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

 

สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน

 


                                                               

 

 

 

 

 

สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน                ดาว  ๕  แฉกอยู่ในวงกลมมีรูปเพชรอยู่เหนือวงกลม ล้อมด้วยลายกนก

รูปดาว  ๕  แฉก                                   หมายถึง                                ความเฉียบแหลมทางปัญญา

รูปวงกลม                                             หมายถึง                                ความเป็นระเบียบวินัย

รูปเพชร                                                 หมายถึง                                จังหวัดกำแพงเพชร

รูปกนก                                                  หมายถึง                                ความเป็นไทย อนุรักษ์ศิลปะ วัฒนธรรมไทย               

ปรัชญาโรงเรียน                                  “ ปณฑิตา  นญจ  เสวนา   หมายถึง  คบบัณฑิต เป็นมงคลสูงสุด

คำขวัญโรงเรียน                                  นักเรียน  นักกีฬา  นักพัฒนา  นักธรรม

สีประจำโรงเรียน                 แสด – เทา

อักษรย่อ                                                ค.พ.

               

 

 

 

๒.๔  ระบบโครงสร้างการบริหาร

แผนภูมิโครงสร้างการบริหารการศึกษาโรงเรียนคณฑีพิทยาคม

 

ผู้อำนวยการโรงเรียน

รองผู้อำนวยการโรงเรียน

ชมรมศิษย์เก่าผู้ปกครองและครู

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

บริหารงานวิชาการ

บริหารงานแผนงานและงบประมาณ

บริหารงานบุคลากร

บริหารงานทั่วไป

) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

๒) การพัฒนากระบวนการเรียนรู้

๓) การวัดผล ประเมินผลและเทียบโอนผลการเรียน

๔) การวิจัยเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

๕) การพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

๖) การพัฒนาแหล่งเรียนรู้

๗) การนิเทศการศึกษา

๘) การแนะแนว

๙) การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

๑๐) การส่งเสริมด้านวิชาการแก่ชุมชน

๑๑) การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาอื่น

๑๒) การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคลครอบครัว องค์กรหน่วยงานและสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา

๑) การจัดทำและเสนอของบประมาณ

๒) การจัดสรรงบประมาณการใช้เงินและผลการดำเนินงาน

๓) การตรวจสอบ ติดตามประเมินผลและรายงานบุคคล

๔) การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา

๕) การบริหารการเงิน

๖) การบริหารบัญชี

๗) การบริหารพัสดุและสินทรัพย์

๑) การวางแผนอัตรากำลังและการกำหนดตำแหน่ง

๒) การสรรหาและการบรรจุแต่งตั้ง

๓) การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ

๔) วินัยและการรักษาวินัย

๕) การออกราชการ

๑) การดำเนินงานธุรการ

๒) งานธุรการคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

๓) งานพัฒนาระบบและเครือข่ายการศึกษา

๔) การประสานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา

๕) การจัดระบบการบริหารและพัฒนาองค์กร

๖) งานเทคโนโลยีสารสนเทศ

๗) การส่งเสริม สนับสนุนด้านการวิชาการ งบประมาณ บุคลากรและบริหารทั่วไป

๘) การดูแลอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม

๙) การจัดทำสำมะโนผู้เรียน

๑๐) การส่งเสริมและประสานงานการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย

๑๑) การส่งเสริมงานกิจกรรมนักเรียน

๑๒) การประชาสัมพันธ์สนับสนุนและประสานงานการศึกษาของบุคคลในชุมชนองค์กรหน่วยงานและสถาบัน

๑๓) การประสานงานราชการพื้นที่การศึกษาและหน่วยงานอื่น

๑๔) งานบริการสาธารณะ

๑๕) งานส่งเสริมระเบียบวินัยนักเรียน

๑๖) งานป้องยาเสพติดและโรคเอดส์

๑๗) งานที่ไม่ได้ระบุไว้ในงานอื่น

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 



๓.  ข้อมูลนักเรียน

ปัจจุบันโรงเรียนมีข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนนักเรียน  ( ข้อมูล  ณ  วันที่  ๑๕ พฤศจิกายน  ๒๕๕๓ )  ดังนี้

)  จำนวนนักเรียนในเขตพื้นที่บริการทั้งหมด     ๔๒๕   คน

)  จำนวนนักเรียนจำแนกตามระดับชั้นที่เปิดสอน

ระดับชั้น

เพศ

รวม

ชาย

หญิง

ม. ๑

๗๐

๕๖

๑๒๖

ม. ๒

๖๔

๕๕

๑๑๙

ม. ๓

๕๖

๘๒

๑๓๘

รวม

๑๙๐

๑๙๓

๓๘๓

ม. ๔

๓๘

๕๖

๙๔

ม. ๕

๓๘

๓๐

๖๘

ม. ๖

๒๓

๓๔

๕๗

รวม

๙๙

๑๒๐

๒๑๙

รวมทั้งสิ้น

๒๘๙

๓๑๓

๖๐๒

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


)  มีนักเรียนที่มีความบกพร่องเรียนร่วม                  ๑           คน

)  มีนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ                          -            คน

)  มีนักเรียนปัญญาเลิศ                                                  -            คน

)  มีนักเรียนต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ          -            คน

)  จำนวนนักเรียนต่อห้อง (เฉลี่ย)                               ๑  :  ๓๕

)  สัดส่วนครู : นักเรียน                                                                 ๑  : ๒๕

)  จำนวนนักเรียนที่ลาออกกลางคัน(ปีปัจจุบัน)        ๗            คน

๑๐)  สถิติการขาดเรียน/เดือน                                           ๕            วัน

. ข้อมูลบุคลากร

ประเภทบุคลากร

เพศ

ระดับการศึกษาสูงสุด

อายุเฉลี่ย

ประสบการณ์สอนเฉลี่ย

ชาย

หญิง

ต่ำกว่า ป.ตรี

.ตรี

สูงกว่า ป.ตรี

ผู้อำนวยการ

-

-

-

๕๕

 

รองผู้อำนวยการ

-

-

-

๕๔

 

ครูประจำการ

๑๗

-

๑๙

๔๕

๒๐

พนักงานราชการ

-

-

-

๓๐

ครูอัตราจ้าง

-

-

๒๘

นักการ/ภารโรง/พนักงานขับรถ

-

-

-

๕๔

๒๔

ลูกจ้างชั่วคราว

-

-

๓๓

รวม

๑๔

๒๕

๒๖

 

 

๓๙

v   มีครูที่สอนวิชาตรงตามวิชาเอก   ๓๐    คน  (๑๐๐ %)

 

๕. สภาพชุมชนโดยรวม

๕.๑ สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียน  มีลักษณะชุมชนชนบท  โรงเรียนตั้งอยู่ในเขตตำบลเทพนคร  

มีเนื้อที่ประมาณ  ๑๐๗,๕๐๐  ไร่  หรือประมาณ  ๑๗๒  ตารางกิโลเมตร  ซึ่งเป็นพื้นที่อยู่อาศัยประมาณ ๒,๔๘๕  ไร่ และพื้นที่สาธารณประโยชน์อื่นๆ ประมาณ  ๒,๓๑๐ ไร่  พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบซึ่งตั้งอยู่บริเวณทิศใต้ของอำเภอเมืองกำแพงเพชร  ตำบลเทพนครมีหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทั้งสิ้น ๒๐ หมู่บ้าน  โดยมีราษฎรอาศัยอยู่ประมาณ  ๔,๐๗๒ ครัวเรือน  

๕.๒ ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา  ประกอบอาชีพ (คิดเป็นร้อยละ)

ด้านการเกษตร  ร้อยละ ๗๐   อาชีพรับจ้าง  ร้อยละ ๒๕   และประกอบอาชีพอื่นๆ  ร้อยละ ๕   

นับถือศาสนา  (คิดเป็นร้อยละ)  ศาสนาพุทธ  ร้อยละ ๙๙.๘๓  ศาสนาคริสต์  ร้อยละ ๐.๑๗     

ฐานะทางเศรษฐกิจ /รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัวต่อปี   ๒๐,๐๐๐ – ๘๐,๐๐๐  บาท

๕.๓ โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน

โรงเรียนตั้งอยู่ในชุมชนที่มีแหล่งเรียนรู้หลากหลาย มีความเจริญทางด้านเทคโนโลยี ผู้นำชุมชนและท้องถิ่นให้ความร่วมมือในการจัดการศึกษาของโรงเรียนเป็นอย่างดี ชุมชนมีขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีโรงเรียนเป็นที่ยอมรับของชุมชนเป็นอย่างดี

๖. โครงสร้างหลักสูตร

        โรงเรียนคณฑีพิทยาคม  จัดสอนตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนคณฑีพิทยาคม   ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช ๒๕๕๑  ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑  และ  ๔  และหลักสูตรการศึกษา  ขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช ๒๕๔๔  ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๒, ๓, ๕  และ  ๖  โรงเรียนได้จัดสัดส่วน               สาระการเรียนรู้และเวลาเรียน  ดังแสดงในตารางต่อไปนี้

ช่วงชั้นที่ ๓  ( ม.๑ – ม.๓ )

ปีการศึกษา  ๒๕๕๓

ระดับ

ชั้น

เวลาเรียน  (คิดเป็นร้อยละต่อปี)

รวม

ภาษาไทย

คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์

สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

สุขศึกษาและพลศึกษา

ศิลปะ

การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ภาษาต่าง

ประเทศ

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

ม.๑

๑๒.๐๐

๑๒.๐๐

๑๒.๐๐

๑๖.๐๐

๘.๐๐

๘.๐๐

๘.๐๐

๑๒.๐๐

๑๒.๐๐

๑๐๐

ม.๒

๑๑.๑๑

๖.๖๗

๑๑.๑๑

๑๑.๑๑

๖.๖๗

๑๕.๕๖

๒๐.๐๐

๘.๘๙

๘๘๙

๑๐๐

ม.๓

๑๑.๑๑

๖.๖๗

๘.๘๙

๑๑.๑๑

๘.๘๙

๒๐.๐๐

๑๕.๕๖

๘.๘๙

๘.๘๙

๑๐๐

                *  จำนวนชั่วโมงที่จัดให้นักเรียน  เรียนทั้งปี  เท่ากับ    ๑,๒๐๐  -  ๑,๒๔๐  -  ๑,๒๔๐  ชั่วโมง

สาระเพิ่มเติมที่จัด  คือ

ม.๑  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  สังคมศึกษา ฯ  สุขศึกษาฯ  ศิลปะ    

การงานอาชีพฯ  ภาษาอังกฤษ    

ม.๒  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  สังคมศึกษา ฯ  สุขศึกษาฯ  ศิลปะ    

การงานอาชีพฯ  ภาษาอังกฤษ    

ม.๓  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  สังคมศึกษา ฯ  สุขศึกษาฯ  ศิลปะ    

การงานอาชีพฯ  ภาษาอังกฤษ    

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ช่วงชั้นที่ ๔ (ม.๔ – ม. ๖)    สายวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์

ปีการศึกษา  ๒๕๕๓

ระดับ

ชั้น

เวลาเรียน  (คิดเป็นร้อยละต่อปี)

รวม

ภาษาไทย

คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์

สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

สุขศึกษาและพลศึกษา

ศิลปะ

การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ภาษาต่าง

ประเทศ

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

ม.๔

๖.๔๕

๑๖.๑๓

๒๕.๘๑

๙.๖๘

๖.๔๕

๓.๒๓

๙.๖๘

๑๒.๙๐

๙.๖๗

๑๐๐

ม.๕

๖.๓๕

๙.๕๒

๓๐.๑๖

๖.๓๕

๖.๓๕

๓.๑๗

๑๒.๗๐

๑๒.๗๐

๑๒.๗๐

๑๐๐

ม.๖

๖.๓๕

๙.๕๒

๓๐.๑๖

๖.๓๕

๖.๓๕

๓.๑๗

๑๒.๗๐

๑๒.๗๐

๑๒.๗๐

๑๐๐

*  จำนวนชั่วโมงที่จัดให้นักเรียน  เรียนทั้งปี  เท่ากับ   ๑,๒๔๐  -  ๑,๒๖๐  -  ๑,๒๖๐  ชั่วโมง

สาระเพิ่มเติมที่จัด  คือ

ม.๔  กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  สุขศึกษาฯ  ศิลปะ การงานอาชีพฯ  ภาษาอังกฤษ    

ม.๕  กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  ศิลปะ การงานอาชีพฯ  ภาษาอังกฤษ    

ม.๖  กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  ศิลปะ การงานอาชีพฯ  ภาษาอังกฤษ    

ภาษาต่างประเทศที่จัดสอน   คือ   ภาษาอังกฤษ   

ช่วงชั้นที่ ๔  (ม.๔ – ม.๖)    สายทั่วไป

ปีการศึกษา  ๒๕๕๓

ระดับ

ชั้น

เวลาเรียน  (คิดเป็นร้อยละต่อปี)

รวม

ภาษาไทย

คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์

สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

สุขศึกษาและพลศึกษา

ศิลปะ

การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ภาษาต่าง

ประเทศ

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

ม.๔

๑๓.๓๓

๖.๖๗

๖.๖๗

๑๐.๐๐

๖.๖๗

๑๐.๐๐

๒๓.๓๓

๑๓.๓๓

๑๐.๐๐

๑๐๐

ม.๕

๑๑.๗๖

๘.๘๒

๕.๘๘

๕.๘๘

๕.๘๘

๑๔.๗๑

๒๓.๕๓

๑๑.๗๖

๑๑.๗๖

๑๐๐

ม.๖

๑๑.๗๖

๘.๘๒

๕.๘๘

๕.๘๘

๕.๘๘

๑๔.๗๑

๒๓.๕๓

๑๑.๗๖

๑๑.๗๖

๑๐๐

                *  จำนวนชั่วโมงที่จัดให้นักเรียน  เรียนทั้งปี  เท่ากับ  ๑,๒๐๐  -  ๑,๓๖๐  -  ๑,๓๖๐  ชั่วโมง

สาระเพิ่มเติมที่จัด  คือ

ม.๔  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  วิทยาศาสตร์  สุขศึกษาฯ  ศิลปะ  การงานอาชีพฯ  ภาษาอังกฤษ    

ม.๕  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  ศิลปะ การงานอาชีพฯ  ภาษาอังกฤษ    

ม.๖  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  คณิตศาสตร์  ศิลปะ การงานอาชีพฯ  ภาษาอังกฤษ    

ภาษาต่างประเทศที่จัดสอน  คือ  ภาษาอังกฤษ   

๗. ข้อมูลด้านอาคารสถานที่

๗.๑  อาคารเรียนและอาคารประกอบ   

                โรงเรียนคณฑีพิทยาคม  มีพื้นที่ทั้งหมด  ๓๕  ไร่  ๒  งาน  ๓๑  ตารางวา  มีจำนวนสิ่งก่อสร้าง  สรุปได้ดังนี้

                -  อาคารเรียน  ๒  หลัง

                -  อาคารหอประชุม – โรงอาหาร

                -  โรงฝึกงานคหกรรม – อุตสาหกรรม

                -  โรงฝึกงานเกษตรกรรม

๗.๒  จำนวนห้องเรียนทั้งหมด   ๑๙   ห้องเรียน  แบ่งเป็น

                ชั้น  ม.๑  -  ม.๖    =    ๔  ๔  ๔   ๓  ๒  :  ๒

 

. ข้อมูลด้านงบประมาณและทรัพยากร

๘.๑  งบประมาณ (รับ – จ่าย)

รายได้

บาท

รายจ่าย

บาท

เงินงบประมาณ(รายหัว)

เงินนอกงบประมาณ

เงินบริจาค

๒,๘๔๒,๐๐๐

๕๒,๐๐๐

งบดำเนินการ

งบพัฒนาคุณภาพวิชาการ

๑,๕๑๐,๔๐๘

๑,๓๘๓,๕๙๒

รวม

๒,๘๙๔,๐๐๐

รวม

๒,๘๙๔,๐๐๐

 

๘.๒  ข้อมูลทรัพยากรที่จำเป็น

๑) คอมพิวเตอร์   มีจำนวนทั้งหมด                                                ๗๖         เครื่อง

ใช้เพื่อการเรียนการสอน                                   ๕๘         เครื่อง

ใช้สืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตได้                    ๖         เครื่อง

ใช้ในงานบริหาร                                                 ๑๒         เครื่อง

๒) ปริมาณสื่อ   มีจำนวนประมาณ ๑๕๐ รายการ ต่อกลุ่มสาระการเรียนรู้                                                                         

๘.๓  ห้องที่จัดไว้ใช้ปฏิบัติกิจกรรมเฉพาะมีทั้งหมด  ๒๒  ห้อง   ได้แก่  ห้องวิทยาศาสตร์ , ห้องคอมพิวเตอร์, ห้องกลุ่มสาระการเรียนรู้ ,  ห้องโสตทัศนศึกษา,  ห้องคหกรรม,  ห้องเกษตรกรรม,  ห้องอุตสาหกรรม,         ห้องพยาบาล  และห้องจริยธรรม  ห้องดนตรีไทย – นาฏศิลป์ – ดนตรีสากล

๘.๔  พื้นที่ปฏิบัติกิจกรรม / นันทนาการ  ได้แก่  สนามกีฬา  (ฟุตบอล , เปตอง ,บาสเกตบอล ,วอลเลย์บอล), ห้องโสตทัศนศึกษา  ศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น  ลานอเนกประสงค์  และหอประชุม 

 

๙. แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการใช้

-   ห้องสมุดมีขนาด   ๑๖๘  ตารางเมตร จำนวนหนังสือในห้องสมุดทั้งหมด  ๖,๔๓๐  เล่ม

  การสืบค้นหนังสือและการยืม - คืนใช้ระบบ โปรแกรมฐานข้อมูล PLS๓

  จำนวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมุดในปีการศึกษานี้ คิดเป็น ๑๕๒  คน/วัน

-  แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน (นอกจากห้องสมุด) และแหล่งเรียนรู้ภายนอกห้องเรียนพร้อม

  ทั้งสถิติการใช้ ๙,๐๕๐ ครั้ง/ปี (เฉลี่ย) สูงสุด เดือนกรกฎาคม  ต่ำสุด  เดือนตุลาคม

แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน

สถิติการใช้

(จำนวนครั้ง/ปี)

แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน

สถิติการใช้

(จำนวนครั้ง/ปี)

๑.   ห้องสมุดโรงเรียน

๒.  ห้องกลุ่มสาระฯ ภาษาไทย

๓.  ห้องกลุ่มสาระฯคณิตศาสตร์

๔.  ห้องกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์

๕.  ห้องกลุ่มสาระฯสังคมศึกษา 

     ศาสนาและวัฒนธรรม

๖.  ห้องกลุ่มสาระฯ ศิลปะ

๗.  ห้องกลุ่มสาระฯ ภาษา

     ต่างประเทศ

๘.  ห้องดนตรีไทย-นาฏศิลป์

๙.  ห้องดนตรีสากล

๑๐.  ห้องอุตสาหกรรม

๑๑.  ห้องคหกรรม

๑๒. ห้องพิมพ์ดีด

๑๓.  ห้องคอมพิวเตอร์

๑๔.  ห้องโสตทัศนศึกษา

๑๕.  ห้องแนะแนว

๑๖.  สนามกีฬา

ตลอดปีการศึกษาตลอดปีการศึกษาตลอดปีการศึกษาตลอดปีการศึกษาตลอดปีการศึกษาตลอดปีการศึกษาตลอดปีการศึกษาตลอดปีการศึกษาตลอดปีการศึกษาตลอดปีการศึกษาตลอดปีการศึกษาตลอดปีการศึกษาตลอดปีการศึกษาตลอดปีการศึกษาตลอดปีการศึกษาตลอดปีการศึกษาตลอดปีการศึกษาตลอดปีการศึกษา

๑. อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย

๒. วัดคณฑีศรีวชิราราม

๓. องค์การบริหารส่วนตำบลคณฑี

๔. บริษัทอายิโนะโมะโตะ

๕. สวนนกชัยนาท

๖. ตลาดน้ำสี่ภาค พัทยา

๗. บ้านสุขาวดี จ.ชลบุรี

๘. ทะเลบางแสน

๙. พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำบางแสน

๑๐. สถานตากอากาศบางปู

๑๑. ตลาดน้ำอโยธยา

๑๒. วัดพระพุทธบาทน้ำพุ

๑๓. เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

๑๔. ค่ายลูกเสือป่าสักแคมป์

๑๕. วัดพระธรรมกาย

๑๖. มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

๑๗.  มหาวิทยาลัยนเรศวร

๑๘. อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร

๑ 

 

 

                 

          

  ๑๐. ผลการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา

      ๑)  งาน / โครงการ / กิจกรรมที่ประสบผลสำเร็จ

ชื่องาน / โครงการ / กิจกรรม

หลักฐานยืนยันความสำเร็จ

โครงการส่งเสริมความสามารถทางวิชาการของนักเรียน

  • กิจกรรมแข่งขันความสามารถทางวิชาการ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รางวัลเหรียญทอง ระดับเขตพื้นที่ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ ๖๐ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ รายการแข่งขัน ดังนี้ ทักษะภาษาไทย     ม. ปลาย, เพลงกล่อมเด็ก ม. ต้น, เพลงกล่อมเด็ก ม. ปลาย,  อ่านทำนองเสนาะ ม. ปลาย,  การแข่งขันเรียงความ ม. ปลาย,  โครงงานคณิตศาสตร์ ม. ปลาย,  เพลงคุณธรรม ม. ปลาย,นิทานคุณธรรม ม. ปลาย,  การแข่งขันประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น ม. ต้น,    การประดิษฐ์ของเล่นจากวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น ม. ต้น,  วงดนตรีลูกทุ่ง, วาดภาพไทยเอกรงค์ ม. ต้น,  การแข่งขันอัจฉริยะภาพทางวิทยาศาสตร์ ม. ปลาย  การแข่งขันการแสดงทางวิทยาศาสตร์ ม. ปลาย

  • กิจกรรมส่งเสริมนักเรียนแข่งขันคณิตศาสตร์

รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันเอแม็ท ( A – Math )ระดับช่วงชั้นที่ ๔ งานลูกพระยานิทรรศ์ ปี ๒๕๕๓

รางวัลเหรียญทองเกียรติยศ โครงงานคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับกลุ่มโรงเรียน  ปี ๒๕๕๓

  • กิจกรรมส่งเสริมนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันกีฬา

รางวัลเหรียญทองแดง  มวยไทยสมัครเล่น  กีฬาแห่งชาติ  ภาค  ๕  จังหวัดเชียงราย

  • กิจกรรมส่งเสริมความสามารถทางด้านภาษาอังกฤษ

รางวัลเหรียญเงินการแข่งขัน CROSSWORDระดับเขต

    

 

 

 

๒) งาน / โครงการ / กิจกรรมที่ควรปรับปรุง

 

ชื่องาน / โครงการ / กิจกรรม

สาเหตุที่ไม่บรรลุเป้าหมาย

โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

  • กิจกรรมประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน

 

โครงการพัฒนาการเรียนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

  • กิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอน ๘กลุ่มสาระการเรียนรู้

 

โครงการส่งเสริมการจัดแหล่งเรียนรู้และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้

  • กิจกรรมพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

 

 

ผู้ปกครองนักเรียนในรายที่มีปัญหามาร่วมประชุมน้อยเนื่องจากมีภาระในการประกอบอาชีพ

 

 

นักเรียนบางส่วนยังขาดทักษะกระบวนการด้านการคิดวิเคราะห์ และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง

 

 

 

งบประมาณในการพัฒนาแหล่ลงเรียนรู้ภายในโรงเรียนยังมีงบประมาณจำกัด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 ๑๑. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง

โรงเรียนคณฑีพิทยาคม  ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสมศ. รอบสอง เมื่อวันที่ ๑๖  ถึง ๑๘

เดือน  กรกฎาคม  พ.ศ.  ๒๕๕๐  ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา มีการประเมิน ๓ ด้าน คือ ผู้บริหาร ด้านครู และด้านผู้เรียน  ซึ่งสรุปผลการประเมินโดยภาพรวมตามมาตรฐานเป็นตารางดังต่อไปนี้

การศึกษาขั้นพื้นฐาน : มัธยมศึกษา

ผลประเมินอิงเกณฑ์

ผลประเมินอิงสถานศึกษา

ค่า

เฉลี่ย

ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ

ค่าเฉลี่ย

ระดับ

คุณภาพ

ค่าเฉลี่ย

ระดับ

คุณภาพ

ด้านผู้เรียน

มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์

๓.๔๖

ดี

๔.๐๐

ดีมาก

๓.๗๓

ได้มาตรฐาน

มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี

๓.๔๙

ดี

๔.๐๐

ดีมาก

๓.๗๕

ได้มาตรฐาน

มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา

๓.๔๑

ดี

๓.๐๐

ดี

๓.๒๑

ได้มาตรฐาน

มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณมีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์

๓.๐๗

ดี

๓.๐๐

ดี

๓.๐๔

ได้มาตรฐาน

มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร

๑.๕๗

ปรับปรุง

๒.๐๐

พอใช้

๑.๗๙

ไม่ได้มาตรฐาน

มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

๓.๑๒

ดี

๓.๐๐

ดี

๓.๐๖

ได้มาตรฐาน

มาตรฐานที่ ๗ ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต

๓.๒๕

ดี

๓.๐๐

ดี

๓.๑๓

ได้มาตรฐาน

ด้านครู

มาตรฐานที่ ๘ ครูมีคุณวุฒิ / ความรู้ ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบและมีครูเพียงพอ

๓.๔๐

ดี

๔.๐๐

ดีมาก

๓.๗๐

ได้มาตรฐาน

มาตรฐานที่ ๙ ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

๓.๐๑

ดี

๓.๐๐

ดี

๓.๐๑

ได้มาตรฐาน

การศึกษาขั้นพื้นฐาน : มัธยมศึกษา

ผลประเมินอิงเกณฑ์

ผลประเมินอิงสถานศึกษา

ค่า

เฉลี่ย

ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ

ค่าเฉลี่ย

ระดับ

คุณภาพ

ค่าเฉลี่ย

ระดับ

คุณภาพ

ด้านผู้บริหาร

มาตรฐานที่ ๑๐ ผู้บริหารมีภาวะผู้นำและมีความสามารถในการบริหารจัดการ

๓.๕๓

ดีมาก

๔.๐๐

ดีมาก

๓.๗๗

ได้มาตรฐาน

มาตรฐานที่ ๑๑ สถานศึกษามีการจัดองค์กร / โครงสร้างและการบริหารงานอย่างเป็นระบบครบวงจร ให้บรรลุเป้าหมายการศึกษา

๓.๔๑

ดี

๔.๐๐

ดีมาก

๓.๗๑

ได้มาตรฐาน

มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมและการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

๓.๓๒

ดี

๓.๐๐

ดี

๓.๑๖

ได้มาตรฐาน

มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมและการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ

๓.๑๐

ดี

๓.๐๐

ดี

๓.๐๕

ได้มาตรฐาน

มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษาส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา

๓.๒๗

ดี

๔.๐๐

ดีมาก

๓.๖๔

ได้มาตรฐาน

ในภาพรวมสถานศึกษาจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 

                        m สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา                              m  ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา

๑๑.๑  ข้อเสนอแนะจากการประเมินภายนอกรอบสอง

ด้านผู้เรียน

ควรพัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด  การแสวงหาความรู้  รักการทำงาน  พัฒนาสุขภาพกาย  สุขภาพจิต  ให้เป็นไปตามมาตรฐานของราชการ  พัฒนาผลสัมฤทธิ์ให้สูงขึ้น

 

ด้านครู

ควรพัฒนาให้ครูมีความสามารถในการสอนด้วยวิธีการที่หลากหลาย  เช่นวิชาโครงงาน กระบวนการสืบค้น  การใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น  กระบวนการคิด  กระบวนการแก้ปัญหา  การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน  และการวัดผลตามสภาพจริง

 

ด้านผู้บริหาร

สถานศึกษาส่งเสริมการทำงานเป็นคณะบุคคล  มีการวางแผนที่สอดคล้องกันทั้งระบบทั้งแผน

และบริหารจัดการให้ครบวงจร PDCA  ส่งเสริมให้ผู้บริหารมีความเป็นเลิศในสาขาต่าง ๆ เช่น กีฬา  ดนตรี

การทำงาน

๑๑.๒ การนำผลการประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้

ด้านผู้เรียน

จากผลการประเมินตามมาตรฐานที่ ๕ ที่พบว่า ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร

มีคุณภาพอยู่ในระดับพอใช้    โรงเรียนมีความพยายามในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์

ของนักเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ให้ดีขึ้น  ดังกิจกรรมต่อไปนี้

๑.      กิจกรรมสอนพิเศษ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ O – NET ม. ๓ ม. ๖

๒.    กิจกรรมแข่งขันความสามารถทางวิชาการ

๓.     กิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

๔.     กิจกรรมพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

๕.     กิจกรรมทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน

๖.      กิจกรรมพัฒนางานห้องสมุด

ด้านครู

จากผลการประเมินตามมาตรฐานที่ ๙ พบว่าควรพัฒนาให้ครูมีความสามารถในการจัดการเรียน

การสอนด้วยวิธีการที่หลากหลาย  เช่น การจัดกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้โครงงาน  กระบวนการสืบค้น  การใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น  การสอนโดยใช้กระบวนการคิด  กระบวนการแก้ปัญหา  การจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต  และใช้กระบวนการวัดผลประเมินผลโดยใช้หลัก KAP ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้   กิจกรรมที่พัฒนาการเรียนการสอนของครู  ดังกิจกรรมต่อไปนี้

๑.       โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

๑.๑  กิจกรรมอบรม/สัมมนาบุคลากรทางการศึกษา

๑.๒ กิจกรรมทัศนศึกษาดูงาน

                ๒. โครงการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

                       ๒.๑  กิจกรรมคลังข้อสอบ

                       ๒.๒ กิจกรรมพัฒนางานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา

                       ๒.๓ กิจกรรมส่งเสริมการใช้คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตเพื่อการศึกษา

                       ๒.๔ กิจกรรมพัฒนางานเทคโนโลยีการศึกษา

                       ๒.๕ กิจกรรมพัฒนาและส่งเสริมการผลิตสื่อและสิ่งพิมพ์

                       ๒.๕  กิจกรรมจัดหาสื่อเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน

ด้านผู้บริหาร

จากผลการประเมินมาตรฐานที่ ๑๑ และ ๑๒ สถานศึกษาได้ส่งเสริมการทำงานเป็นคณะบุคคล 

มีการวางแผนที่สอดคล้องกันทั้งระบบทั้งแผนงานและระบบการบริหารจัดการโดยใช้วงจร PDCA  ในการ

กำกับควบคุมดูแลการบริหารงานภายในโรงเรียน  มีการจัดจัดทำสารสนเทศของโรงเรียน   คู่มือการปฏิบัติงาน

ของฝ่ายบริหารงานทุกฝ่าย  มีการวางระบบการประกันคุณภาพของโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง  เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการตัดสินใจในการดำเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม  จนเป็นผลทำให้โรงเรียนเป็นที่ยอมรับและให้ความร่วมมือสนับสนุนกิจการต่างๆของโรงเรียนด้วยดี

                    

               

 

 

 

ความคิดเห็น

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน

12 ปีที่ผ่านมา
guest Icon เผยแพร่ SAR ปีการศึกษา 2553 บทที่ 4 อ่าน 2,999 12 ปีที่ผ่านมา
12 ปีที่ผ่านมา
KonteeQA Icon เผยแพร่ SAR ปีการศึกษา 2553 บทที่ 3 อ่าน 2,968 12 ปีที่ผ่านมา
12 ปีที่ผ่านมา
KonteeQA Icon เผยแพร่ SAR ปีการศึกษา 2553 บทที่ 2 อ่าน 1,904 12 ปีที่ผ่านมา
12 ปีที่ผ่านมา
KonteeQA Icon เผยแพร่ SAR ปีการศึกษา 2553 บทที่ 1 อ่าน 2,449 12 ปีที่ผ่านมา
12 ปีที่ผ่านมา